TH17941A - แหล่งจ่ายกำลังแบบสวิทซ์ ที่ลดความเพี้ยนของกระแสอินพุท - Google Patents
แหล่งจ่ายกำลังแบบสวิทซ์ ที่ลดความเพี้ยนของกระแสอินพุทInfo
- Publication number
- TH17941A TH17941A TH9201000436A TH9201000436A TH17941A TH 17941 A TH17941 A TH 17941A TH 9201000436 A TH9201000436 A TH 9201000436A TH 9201000436 A TH9201000436 A TH 9201000436A TH 17941 A TH17941 A TH 17941A
- Authority
- TH
- Thailand
- Prior art keywords
- current
- pulse
- group
- voltage
- source
- Prior art date
Links
Abstract
แรงดันแหล่งจ่ายหลักเรียงกระแสเต็มลูกคลื่นแบบสลัม ถูกผลิตจากแรงดันแหล่งจ่ายหลักแบบสลับ โดยปราศจากการกรองความถี่ต่ำผ่าน แรงดันเรียงกระแสถูกพัฒนาในขดลวดของหม้อแปลงแบบป้อนกลับ ขดลวดของหม้อแปลงป้อนกลับถูกเชื่อมต่อกับ ทรานซิสเตอร์สวิทซ์ชิ่งที่ให้กำเนิด กลุ่มพัลส์กระแสที่หนึ่งในขดลวดที่ความถี่ที่สูงกว่าความถี่ของแรงดันแหล่งจ่ายหลัก พัลส์กระแสจะจ่ายพลังงานให้แก่วงจรโหลด แรงดันตัวเก็บประจุจะเชื่อมต่อผ่านทรานซิสเตอร์สวิทซ์ชิ่งตัวที่สองไปที่ขดลวดที่ผลิต กลุ่มพัลส์กระแสที่สองในขดลวดที่ถ่ายพลังงานแก่วงจรโหลด ขณะส่วนช่วงเวลาของแรงดันแหล่งจ่ายหลักไม่ได้อยู่ใกล้พีคของแรงดันแหล่งจ่ายหลัก เมื่อกลุ่มพัลส์กระแสที่สองถูกผลิต แรงดันแหล่งจ่ายหลักจะถูกตัดออกจากขดลวดที่หนึ่ง
Claims (9)
1. แหล่งจ่ายกำลังแบบสวิทซ์ ประกอบด้วย ต้นกำเนิดไฟกระแสสลับ แรงดันแหล่งจ่ายหลัก การเหนียวนำ วิถีทางสวิทซ์ชิ่งตัวที่หนึ่งหมายถึง การเชื่อมต่อต้นกำเนิดหลักและการตอบสนองต่อสัญญาณสวิทซ์สำหรับการกำเนิด กลุ่มพัลส์กระแสที่ 1 การเหนียวนำที่ความถี่ที่สูงกว่าที่อ้างถึง แรงค้นแหล่งจ่ายหลัก เช่น ขณะที่ส่วนแรกของช่วงแรกของช่วงเวลาที่ให้ไกลจากพีคของแรงดันแหล่งจ่ายหลักเมื่อแรงดันจ่ายหลักลดลง การลดลงเป็นสาเหตุการลดลงในขนาดของกลุ่มพัลส์กระแสที่1 และในระดับของกระแสแรงดันหลักที่ผ่านจากต้นกำเนิดหลัก วิถีสวิทซ์ชิ่งตัวที่สองมีความคล้ายคลึงกับสวิทซ์ที่หนึ่งและการเชื่อมต่อ การเหนี่ยวนำ สำหรับการกำเนิดกลุ่มพัลส์กระแสที่สอง ในตัวเหนี่ยวนำที่ความถี่ที่มากกว่าแรงดันแหล่งจ่ายหลัก กลุ่มพัลส์กระแสที่สองที่ถูกกำเนิดที่น้อยที่สุดส่วนที่หนึ่งอ้างถึงช่วงเวลาที่ให้แรงดันแหล่งจ่ายหลัก วงจรโหลด และ วิถีทาง การตอบสนองต่อกลุ่มที่หนึ่งและสองของกลุ่มพัลส์กระแส สำหรับการพัฒนาแรงดันแหล่งจ่ายเอาต์พุต และกระแสแหล่งจ่ายเอาค์พุตในอ้างถึงวงจรโหลด
2. แหล่งจ่ายกำลังตามข้อถือสิทธิ 1 ประกอบด้วยตัวเรียงกระแสสำหรับการเรียงกระแสกลุ่มพัลส์ที่หนึ่งและสอง ที่พัฒนาแรงดันแหล่งจ่ายเอาต์พุต กระแสแหล่งจ่ายเอาต์พุต เช่นกลุ่มพัลส์กระแสที่สองที่ชดเชยสำหรับการลดในขนาดของกลุ่มพัลส์กระแสที่หนึ่ง ในแบบที่ลดส่วนกระเพื่อมที่ความถี่ที่เกี่ยวข้องแรงดันแหล่งจ่ายหลัก
3. แหล่งจ่ายกำลังตามข้อถือสิทธิ 1 อ้างถึงกลุ่มพัลส์กระแสที่ 2 ที่ถูกำเนิดในการเหนี่ยวนำและในที่ซึ่งแรงดันแหล่งจ่ายเอาต์พุตที่ถูกผลิตในแบบป้อนกลับจาก กลุ่มพัลส์กระแส ที่หนึ่งและสอง
4. แหล่งจ่ายกำลังตามข้อถือสิทธิ 1 อ้างถึงพัลส์กระแสหนึ่งและสอง กลุ่มพัลส์กระแสที่เกิดขึ้นในช่วงเวลาที่แยกกันแน่นอนในช่วงเวลาสัญญาณสวิทซ์ชิ่ง
5. แหล่งจ่ายกำลังตามข้อถือสิทธิ 1 อ้างถึงกลุ่มพัลส์กระแสที่สองที่ถูกกำเนิดในการเหนี่ยวนำและในที่ซึ่ง พัลส์กระแสที่ให้ของอันหนึ่งของกลุ่มพัลส์กระแสที่หนึ่ง เกิดขึ้นติดด้านกับพัลส์กระแสที่ให้ของกลุ่มพัลส์กระแสที่สองของพัลส์กระแส เพื่อไม่มีช่องว่างระหว่างพัลส์ที่ติดกัน
6. แหล่งจ่ายกำลังตามข้อถือสิทธิ 1 ประกอบด้วยการหยุดการกำเนิดของกลุ่มพัลส์กระแสที่สองตลอดส่วนที่สองของช่วงเวลาแรงดันแหล่งจ่ายหลัก ใกล้พีคของแรงดันของแรกงดันแหล่งจ่าย
7. แหล่งจ่ายกำลังตามข้อถือสิทธิ 1 ประกอบด้วย การมอดูเลตความกว้างพัลส์สำหรับการมอดูเลตความกว้างพัลส์ของพัลส์กระแสของอย่างน้อยหนึ่งอันของทั้สองกลุ่ม กลุ่มพัลส์กระแสที่อ้างถึง แรงดันแหล่งจ่ายเอาต์พุตและกระแสในแบบการเรียง กระแส
8. แหล่งจ่ายกำลังตามข้อถือสิทธิ 7 อ้างถึงมอดูเลตความกว้างพัลส์ มอดูเลตแต่ละอย่างที่หนึ่งและที่สอง กลุ่มพัลส์กระแสในแบบการเรียงกระแส
9. แหล่งจ่ายกำลังตามข้อถือสิทธิ 1 อ้างถึงกลุ่มพัลส์กระแสที่สองถูกกำเนิดในการเหนี่ยวนำ กลุ่มพัลส์กระแสที่สองประกอบด้วยพัลส์กระแสไหลวนโดยเฉพาะการเหนี่ยวนำ 1
0. แหล่งจ่ายกำลังตามข้อถือสิทธิ 1 อ้างถึงกลุ่มพัลส์กระแสที่สองถูกกำเนิดในการเหนี่ยวนำที่เกี่ยวข้องในขดลวดหม้อแปลงที่หนึ่ง 1
1. แหล่งจ่ายกำลังตามข้อถือสิทธิ 10 ประกอบด้วยตัวเรียงกระแสและตัวเก็บประจุสำหรับการเรียงกระแสของพัลส์กระแสในขดลวดที่สอง อ้างถึงหม้อแปลงที่ผลิตจากกลุ่มพัลส์กระแสที่หนึ่งที่พัฒนาแรงดันแหล่งจ่ายที่สอง ตัวเก็บประจุ แรงดันแหล่งจ่ายที่สองที่ถูกเชื่อมต่อกับสวิทซ์ชิ่งที่สองหมายถึงการกำเนิด กลุ่มพัลส์กระแสที่สองจากแรงดันแหล่งจ่ายที่สอง 1
2. แหล่งจ่ายกำลังตามข้อถือสิทธิ 10 อ้างถึงสวิทซ์ที่สองหมายถึง การเชื่อมแรงดันแหล่งจ่ายที่สองเข้ากับขดลวดที่หนึ่งของหม้อแปลง ที่ให้กำเนิดพัลส์ที่ให้ของกลุ่มพัลส์ กระแสที่สองในที่ซึ่งอ้างถึง ต้นกำเนิดของแรงดันแหล่งจ่ายหลักที่ถูกตัดจากขดลวดที่หนึ่งทันที ขณะที่ส่วนของช่วงเวลาอ้างถึงสัญญาณสวิทซ์ชิ่ง 1
3. แหล่งจ่ายกำลังตามข้อถือสิทธิ 10 อ้างถึงกลุ่มพัลส์กระแสที่ถูกผลิตในแบบการแทรกกระแสโดยเฉพาะกลุ่มพัลส์กระแสที่หนึ่ง 1
4. แหล่งจ่ายกำลังตามข้อถือสิทธิ 10 อ้างถึงกลุ่มพัลส์กระแสที่ถูกผลิตในแบบการจัดตำแหน่งกระแสโดยเฉพาะกลุ่มพัลส์กระแสที่หนึ่ง 1
5. แหล่งจ่ายกำลังตามข้อถือสิทธิ 10 ในการกำเนิด ประกอบด้วยแรงดันต้นแหล่งจ่ายที่สองจากแรงดันแหล่งจ่ายหลักผ่านเส้นทางของกระแสที่ไม่เกี่ยวข้อง หม้อแปลง แรงดันแหล่งจ่ายที่สอง การเชื่อมต่อผ่านสวิทซ์ชิ่งที่สอง หม้อแปลงสำหรับกำเนิดกลุ่มพัลส์กระแสที่สอง 1
6. แหล่งจ่ายกำลังตามข้อถือสิทธิ 10 ประกอบด้วยตัวเรียงกระแสที่สองที่เชื่อมต่อกับ ต้นกำเนิดหลักสำหรับการเรียงกระแส แรงดันแหล่งจ่ายหลักที่กำเนิดแรงดันแหล่งจ่ายเรียงกระแสที่ถูกเชื่อมต่อกับ หม้อแปลง แรงดันแหล่งจ่ายเรียงกระแสที่ถูกพัฒนาจากแรงดันแหล่งจ่ายหลักที่ปราศจากการกรองความถี่ค่ำผ่าน โดยเฉพาะความถี่ของแหล่งจ่ายหลัก 1
7. แหล่งจ่ายกำลังตามข้อถือสิทธิ 10 อ้างถึงช่วงเวลาของแรงดันส่วนจ่ายหลักอัตราส่วนระหว่างขนาดของพัลส์กระแสของกลุ่มพัลส์กระแสที่หนึ่ง และระดับของแรงดันแหล่งจ่ายหลักซึ่งทำให้พัลส์กระแสที่ให้ของกลุ่มพัลส์กระแสที่หนึ่งคงที่สำหรับแต่ละพัลส์กระแสในขณะนั้น 1
8. แหล่งจ่ายกำลังแบบสวิทซ์ ประกอบด้วย ต้นกำเนิดแรงดันแหล่งจ่ายพลักแบบสลับ หม้อแปลงป้อนกลับ ตัวเรียงกระแสที่เชื่อมต่อ ต้นกำเนิดหลักสำหรับเรียงกระแส แรงดันแหล่งจ่ายหลักที่พัฒนาในขดลวดที่หนึ่งของ หม้อแปลง แรงดันแหล่งจ่ายเรียงกระแสตัวที่หนึ่ง อ้างถึงแรงดันแหล่งจ่ายเรียงกระแสถูกพัฒนาโดยปราศจากการกรองความถี่ต่ำผ่าน โดยเฉพาะความถี่และฮาร์โมนิคอันดับต่ำของแรงดันแหล่งจ่ายหลัก วิถีสวิทซ์ชิ่งตัวที่หนึ่งรตอบสนองต่อสัญญาณสวิทซ์ชิ่งที่ความถี่ที่มากกว่าความถี่ของแรงดันแหล่งจ่ายหลัก สำหรับการกำเนิดกลุ่มพัลส์กระแสที่หนึ่ง วิถีทางกำเนิดแรงดันแหล่งจ่ายที่สอง วิถีทางสวิทช์ซิ่งตัวที่สอง เชื่อไปยังหม้อแปลงดังกล่าว ที่สอดคล้องกับสวิทช์ชิ่งตัวที่หนึ่ง เพื่อการเชื่อมต่อแรงดันแหล่งจ่ายเรียงกระแสที่สองไปที่หม้อแปลง และสำหรับกตัดการเชื่อมต่อแรงดันแหล่งจ่ายเรียงแระแสที่หนึ่ง จากหม้อแปลงเพื่อกำเนิดในหม้อแปลงจากแรงดันแหล้งจ่ายแรยงกระแสที่สอง กลุ่มพัลส์กระแสที่สองพัลส์กระแสที่ให้ของกลุ่มพัลสส์กระแสที่หนึ่งและพัลลส์กระแสที่ให้กลุมพัลส์กระแสที่สองที่เกิดขึ้นขณะช่วงแวลาที่ให้ของสัญญาณสวิทช์ ซึ่งกลุ่มพัลส์กระแสที่หนึ่งและสองที่กำลังถูกเชื่อมต่อผ่านหม้อแปลงไปที่วงจรโหลด เพื่อพัฒนาในวงจรโหลดของแรงดันแหล้งจ่ายเอาต์พุต และกรแสแหลงจายเอาต์พุต 1
9. แหล่งจ่ายกำลังตามข้อถือสิทธิ 18 ประกอบด้วย วิถีทางสำหรับการหยุดกำเนิดของกลุมพัลส์กระแสที่สอง ตลอดช่วงเวลาที่ให้แรงดันแหล่งจ่ายหลัก ในส่วนที่ใกล้กับพีคแรงดันของแรงดันแหล่งจ่ายหลัก 2
0. แหล่งจ่ายกำลังตามข้อถือสิทธิ 18 อ้างถึงกลุ่มพัลส์กระแสที่หนึ่งถูกกำเนิดขณะช่วงเวลาของแรงดันแหล่งจ่ายหลักเมื่อขนาดของกลุ่มพัลส์กระแสที่หนึ่งลดลง 2
1. แหล่งจ่ายกำลังตามข้อถือสิทธิ 18 อ้างถึงกลุ่มพัลส์กระแสที่สอง ถูกกำเนิดในแบบแทรกกระแส โดยเฉพาะกลุ่มพัลส์กระแสที่หนึ่ง 2
2. แหล่งจ่ายกำลังตามข้อถือสิทธิ 18 อ้างถึงกลุ่มพัลส์กระแสที่สอง ถูกกำเนิดในแบบจัดตำแหน่งที่เหมาะสม โดยเฉพาะกลุ่มพัลส์กระแสที่หนึ่ง 2
3. แหล่วจ่ายกำลังแบบสวิทช์ ประกอบด้วย ต้นกำเนิดแรงดันแหล่งจ่ายหลักแบบสลับ และกระแสแหล่งจ่ายหลักแบบสลับ ส่วนสวิทช์ซึ่งตัวที่หนึ่งสำหรับให้กำเนิดกลุ่มพัลส์กระแสชุดที่หนึ่งที่ความถี่ที่สูงกว่าความถี่ของแรงดันแหล้งจ่ายหลักดังกล่าว ในตัวเหนี่ยวนำที่เชื่อมต่ออยู่กับต้นกับเนิดหลักดังกล่าว พัลส์กระแสดังกล่าวเชื่อมต่อผ่านตัวเรียงกระแสเข้ากับเอาต์พัตของแหล่งจ่ายกำลังเพื่อผลิตส่วนแรกของกระแสแหล่งจ่ายเอาต์พุตที่ถูกจัดเรียงกระแสแล้ว กลุ่มพัลส์กระแสชุดที่หนึ่งจะมีแมกนิจุดที่เปลี่ยนแปลงไปในระหว่างคาบของแรงดันแหล่งจ่ายหลัก โดยสอดคล้องกับแรงดันแหลีงจ่ายหลักดังกล่าว และในลักษณะที่จะเพิ่มแฟคเตอร์ของกำลังที่เกี่ยวข้องกับต้นกำเนิดหลัก ตัวเก็บประจุกรองความถี่ ตัวเรียงแระแสที่เชื่อมต่ออยู่กับต้นกำเนิดหลัก และกับตัวเก็บประจุดังกล่าวสำหรับจัดเรียงแรงดันแหล่งจ่ายหลัก เพื่อพัฒนาเป็นกลุ่มพัลส์กระแสชุดที่สองในตัวเก็บประจุที่ความถี่ต่ำที่สัมพันธ์กับความถี่ของแรงดันแหล่งจ่ายหลักดังกล่าว และที่ความถี่ที่ต่ำกว่าของกลุ่มพัลส์กระแสชุดที่หนึ่ง เพื่อผลิตแรงดันแหล่งจ่ายที่สองที่ถูกจัดเรียงแล้วที่เทอร์มินัลของตัวเก็บประจุ และ ส่วนสวิทช์ชิ่งตัวที่สองสำหรับให้กำเนิดกลุ่มพัลส์กระแสชุดที่สามที่ความถี่ที่สูงกว่าความถี่ของแรงดันแหล่งจ่ายหลักดังกล่าว ในตัวเหนี่ยวนำที่เชื่อมต่ออยู่กับเทอร์มินัลของตัวเก็บประจุดังลก่าว กลุ่มพัลส์กระแสชุดที่สามจะถูกเชื่อมต่อผ่านตัวเรียงกระแสเข้ากับเอาต์พุตของแหล่งจ่ายกำลังเพื่อผลิตส่วนที่สองของกระแสแหล่งจ่ายเอาต์พุตที่ถูกจัดเรียงกะรแสแล้ว ในลักษณะที่จะลดองค์ประกอบของการกระเพื่อที่เอาต์พุตของแหล่งจ่ายกำลังดังกล่าว 2
4. แหล่งจ่ายกำลังตามข้อถือสิทธิที่ 23 ซึ่งพัสืกระแสที่ได้ของกลุ่มพัลส์กระแสชุดที่สามจะเกิดขึ้นในเวลาที่ใกล้เตียงกับพัลส์กระแสที่สอดคล้องกันของกลุ่มพัลส์กระแสชุดที่หนึ่งดังกล่าว 2
5. แหล่งจ่ายกำลังแบบสวิทช์ประกอบด้วย ต้นกำเนิดแรงดันแหล้งจ่ายหลักแบบสลับ และกระแสแหล่งจ่ายหลักแบบสลับ ตัวเรียงกระแสที่เชื่อมต่ออยู่กับต้นกำเนิดหลักสำรหับพัฒนาแรงดันแหล่งจ่ายที่สองที่เทอร์มินัล ส่วนสวิทช์ชิ่งตัวที่หนึ่งสำหรับให้กำเนิดกลุ่มพัลส์กระแสชุดที่หนึ่งที่ความถี่ที่สูงกว่าความถี่ของแรงดันแหล่งจ่ายหลักดังกล่าวในตัวเหนี่ยวนำที่เชื่อมต่ออยู่กับต้นกำเนิดหลักดังกล่าว พัลส์กระแสดังกล่าวเชื่อมต่อผ่านตัวเรียงกระแสเข้ากับเอาต์พุตของแหล่งจ่ายกำลังเพื่อผลิตส่วนแรกของกระแสแหล่งจ่ายเอาต์พุตที่ถูกจัดเรียงกระแสแล้ว กลุ่มพัลส์กระแสชุดที่หนึ่งจะมีแมกนิจูดที่เปลี่ยนแปลงไปในระหว่างคาบของแรงดันแหล่งจ่ายหลักโดยสอดคล้องกับแรงดันแหล่งจ่ายหลักดังกล่าว และในลักษณะที่จะเพ่มแฟคเตอร์ของกำลังที่เกี่ยวข้องกับต้นกำเนิดหลัก และ ส่วนสวิทช์ชิ่งตัวที่สองสำหรับให้กำเนิดกลุมพัลส์กระแสชุดที่สองที่ความถี่ที่สูงกว่าความถี่ของแรงดันแหล่งจ่ายหลักดังกล่าวตัวเหนียวนำที่เชื่อมต่ออยู่กับเทอร์มินัลของแรงดันแหล่ง จ่ายที่สอง ในลักษณะที่พัลส์กระแสที่ได้ของกลุ่มพัลส์กระแสชุดที่สองจะเกิดขึ้นในเวลาที่ใกล้เคียงกับพัลส์กระแสที่สอดคล้องกันของกลุ่มพัลส์กระแสชุดที่หนึ่งดังกล่าว กลุ่มพัลส์กระแสชุดที่สองถูกเชื่อม ต่อผ่านตัวเรียงกระแสเข้ากับเอาท์พุตของแหล่งจ่ายกำลังเพื่อผลิตส่วนที่สองของกระแสแหล่งจ่ายเอาต์พุตที่ถูกจัดเรียงกระแสแล้วในลักษณะที่จะลดองค์ประกอบของการกระเพื่อมที่เอาต์พุตของหล่งจ่ายกำลังดังกล่าว 2
6. แหล่งจ่ายกำลังตามข้อถือสิทธิที่ 25 ที่ซึ่งอัตราส่วนระหว่างแมกนิจูดของพัลส์กระแสของกลุ่มพัลส์กระแสชุดที่หนึ่งดังกล่าว และแมกนิจูดของพัลส์กระแสที่เกิดขึ้นในเวลาที่ใกล้เคียงกับของกลุ่มพัลส์กระแสชุดที่สองจะเปลี่ยนแปลงไปในระหว่างคาบดังกล่าว 2 7.แหล่งจ่ายกำลังตามข้อถือสิทธิที่ 26 ที่ซึ่งอัตราส่วนดังกล่าวจะลดลงเมื่อแมกนิจูดของพัลส์กระแสของกลุ่มพัลส์กระแสชุดที่หนึ่งลดลง 2
8. แหล่งจ่ายกำลังแบบสวิทช์ประกอบด้วย ต้นกำเนิดแรงดันแหล่งจ่ายหลักแบบสลับ ตัวเรียงกระแสที่เชื่อมต่ออยู่กับต้นกพเนิดหลักสำรหับพัฒนาแรงดันแหล่งจ่ายที่สองที่เทอร์มินัล ส่วนสวิทช์ซึ่งตัวที่หนึ่งสำหรับให้กำเนิดกลุ่มพัลส์กระแสชุดที่หนึ่งที่ความถี่ที่สูงกว่าความถี่ของแรงดันแหล่งจ่ายหลักดังกล่าวในตัวเหนี่ยวนำที่เชื่อมต่ออยู่กับต้นกำเนิดหลักดังกล่าว พัลส์กระแสดังกล่าวเชื่อมต่อผ่านตัวเรียงกระแสเข้ากับเอาต์พุตของแหล่งจ่านกำลังเพื่อผลิตส่วนแรกของกระแสแหล่งจ่ายเอาต์พุตที่ถูกจัดเรียงกระแสแล้ว กลุ่มพัลส์กระแสชุดที่หนึ่งจะมีแรกนิจูดที่เปลี่ยนแปลงไปในระหว่างคาบของแรงดันแหล่งจ่ายหลัก โดยสอดคล้องกับแรงดันแหล่งจ่ายหลักดังกล่าวและในลักษณะที่จะเพิ่มแฟคเตอร์ของกำลังที่เกี่ยวข้องกับต้นกำเนิดหลัก และ ส่วนสวิทช์ชิ่งตัวที่สองสำหรับให้กำเนิดกลุ่มพัลส์แระแสชุดที่สองที่ความถี่ที่สูงกว่าความถี่แรงดัน แหล่งจ่ายหลักดังกล่าวในตัวเหนี่ยวนำที่เชื่อมต่ออยู่กับเทอร์มินัลของแรงดันแหล่งจ่ายที่สอง กลุ่มพัลส์กระแสชุดที่สองถูกเชื่อมต่อผ่านตัวเรียงกระแสเข้ากับเอาต์พุตของแหล่งจ่ายกำลัง เพื่อผลิตส่วนที่สองของกระแสแหล่งจ่ายเอต์พุตที่ถูกจัดเรียงกระแล้วในลักษณะที่อัตราส่วนระหว่างแมกนิจูดของพัลส์กระสที่ได้ของกลุ่มพัลส์กระแสชุดที่หนึ่งดังกล่าว และพัลส์กระแสของกลุ่มพัลส์กระแสชุดที่สองที่อยู๋ประชิดกัลพัลส์กระแสที่ได้จะเปลี่ยนแปลงในลักษณะะที่ละลดองค์ประกอบของการกระเพื่อมที่เอาต์พุตของแหล่งจ่ายกำลังดักงล่าวในระหว่างคาบของแรงดันแหล่งจ่ายหลักดังกล่าว 2
9. แหล่งจ่ายกำลังตามข้อถือสิทธิที่ 28 ที่ซึ่งรอบการทำงานของกลุ่มพัลส์กระแสชุดที่หนึ่งจะยังคงที่ และรอบการทำงานของกลุ่มพัลสส์กระแสชุดที่สองจะเปลี่ยนแปลงในระหว่างคาบของแรงดันแหล่งจ่ายหลักดังกล่าว 3
0. แหล่งจ่ายกำลังตามข้อถือสิทธิที่ 28 ที่ซึ่งทั้งกลุ่มพัลส์กระแสชุดที่หนึ่ง และชุดที่สองจะเป็นหม้อแปลงที่เชื่อมต่อกับโหลดผ่านขดลวดเดียวกันของหม้อแปลง
Publications (3)
Publication Number | Publication Date |
---|---|
TH17941A true TH17941A (th) | 1996-03-05 |
TH17941EX TH17941EX (th) | 1996-03-05 |
TH21179B TH21179B (th) | 2006-12-29 |
Family
ID=
Similar Documents
Publication | Publication Date | Title |
---|---|---|
US9124183B2 (en) | Power inverter for feeding electric energy from a DC power generator into an AC grid with two power lines | |
Manjrekar et al. | Power electronic transformers for utility applications | |
JP2597951B2 (ja) | 高周波電源 | |
US6031737A (en) | AC-DC power supply | |
RU2558945C2 (ru) | Сверхвысокоэффективный переключающий инвертор мощности и усилитель мощности | |
US5019954A (en) | AC/DC conversion with reduced supply waveform distortion | |
JP2013528351A5 (th) | ||
CN102239632A (zh) | Ac感应电机中的电压控制和功率因子校正 | |
DK1598924T3 (en) | Inverters without oscillations | |
Pejovic et al. | Optimal current programming in three-phase high-power-factor rectifier based on two boost converters | |
JP2860255B2 (ja) | トリム型共振タイプコンバータ | |
US7158389B2 (en) | Switching power supply circuit | |
US20230109575A1 (en) | Power supply apparatus | |
US9343996B2 (en) | Method and system for transmitting voltage and current between a source and a load | |
US5327334A (en) | Zero current switching DC-DC converter incorporating a tapped resonant inductor | |
EP2638627B1 (en) | Power inverter for feeding electric energy from a dc power generator into an ac grid with two power lines | |
TH17941A (th) | แหล่งจ่ายกำลังแบบสวิทซ์ ที่ลดความเพี้ยนของกระแสอินพุท | |
TH21179B (th) | แหล่งจ่ายกำลังแบบสวิทซ์ ที่ลดความเพี้ยนของกระแสอินพุท | |
US3519915A (en) | High-frequency sine-wave static inverter | |
US12088195B2 (en) | Resonant converter with multiple resonant tank circuits | |
RU208118U1 (ru) | Устройство защиты электрической сети от воздействия гормонических составляющих тока | |
Julian et al. | Double bridge resonant DC link converter with variable input and output frequency | |
US11114932B1 (en) | Method and apparatus for reduction of ripple current | |
CN100413195C (zh) | 具有高频弯折型变压器的直流对直流转换器 | |
SU1142877A1 (ru) | Преобразователь переменного напр жени в посто нное |