TH14908B - วิธีการและเครื่องสำหรับการลับวัสดุที่เปราะ - Google Patents

วิธีการและเครื่องสำหรับการลับวัสดุที่เปราะ

Info

Publication number
TH14908B
TH14908B TH9401001450A TH9401001450A TH14908B TH 14908 B TH14908 B TH 14908B TH 9401001450 A TH9401001450 A TH 9401001450A TH 9401001450 A TH9401001450 A TH 9401001450A TH 14908 B TH14908 B TH 14908B
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
cut
workpiece
sharpening
depth
working surface
Prior art date
Application number
TH9401001450A
Other languages
English (en)
Other versions
TH21285A (th
TH21285EX (th
Inventor
โคซาคาอิ นายทาคาชิ
ยามาโมโตะ นายฮิโรโนริ
นาคามูระ นายโนบูโอะ
ทาคาชิตะ นายจุนจิ
อิมานาริ นายโตรุ
Original Assignee
นายดำเนิน การเด่น
นายต่อพงศ์ โทณะวณิก
นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์
นายวิรัช ศรีเอนกราธา
Filing date
Publication date
Application filed by นายดำเนิน การเด่น, นายต่อพงศ์ โทณะวณิก, นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์, นายวิรัช ศรีเอนกราธา filed Critical นายดำเนิน การเด่น
Publication of TH21285A publication Critical patent/TH21285A/th
Publication of TH21285EX publication Critical patent/TH21285EX/th
Publication of TH14908B publication Critical patent/TH14908B/th

Links

Abstract

สิ่งที่จัดเตรียมขึ้นมาจะเป็นเครื่องมือและวิธีการกระทำด้วยเครื่องจักรสำหรับวัสดุที่เปราะ สำหรับการทำให้การลับในเขตบริเวณโมดเหนียวแน่นเป็นจริงขึ้นมาด้วยการใข้เครื่องเพื่อการลับแบบ สามัญธรรมดา การลับหรือการขัดของพื้นผิวใช้งานของชิ้นงานที่ประกอบด้วยวัสดุที่เปราะจะได้รับ การดำเนินการโดยเคลื่อนไหวสัมพัทธ์ระหว่างชิ้นงานและล้อเพื่อการลับซึ่งประกอบด้วยเมล็ดสารขัด ถูจำนวนมากมายที่จัดเตรียมไว้บนฐานรองรับ ในขณะที่ จะนำล้อเพื่อการลับดังกล่าวเข้ามาสัมผัสด้วย ความดันกับพื้นผิวใช้งาน ณ ความดันที่วางเงื่อนไขไว้ จะดำเนินการลับหรือการขัดด้วยการกำหนดตั้ง ความดันที่วางเงื่อนไขไว้ในลักษณะที่ว่า ความลึกของการตัด d เข้าในพื้นผิวใช้งานของเมล็ดสารขัดถู ท่ามกลางจำนวนที่มากมายดังกล่าวของเมล็ดสารขัดถูซึ่งมีส่วนร่วมในการลับหรือการขัดดังกล่าวจะ ได้รับการทำให้น้อยกว่าความลึกวิกฤตของการตัด de ซึ่งเป็นความลีกที่น้อยที่สุดของการตัด ซึ่ง ณ ความลึกนี้ จะก่อให้เกิดการแตกร้าวแบบเปราะในชิ้นงานดังกล่าว

Claims (6)

1. วิธีการกระทำด้วยเครื่องจักรกลสำหรับวัสดุที่เปราะสำหรับการลับหรือการขัดพื้นผิว ใช้งานของชิ้นงานที่มีวัสดุที่เปราะ ซึ่งประกอบรวมด้วยขั้นตอนของ : การทำให้การเคลื่อนไหวสัมพัทธ์เป็นผลขึ้นมาระหว่างชิ้นงานและเครื่องมือเพื่อการลับ ที่ประกอบรวมด้วยเมล็ดสารขัดถูจำนวนมากมายที่จัดเตรียมไว้บนฐานรองรับ; และ การนำเครื่องมือเพื่อการลับนี้เข้ามาสัมผัสด้วยความดันกับพื้นผิวใช้งาน ณ โหลดรวม ทั้งหมด P ในระหว่างการเคลื่อนไหวสัมพัทธ์นี้เพื่อดำเนินการลับหรือการขัด ที่ซึ่งจะดำเนินการลับ หรือการขัดในขณะที่เป็นไปตามเงื่อนไข P < N MAX.Pe ซึ่ง NMAX แสดงแทนจำนวนสูงสุดของเมล็ดสารขัดถูแอกทีฟที่มีอยู่ในพื้นที่ของการสัมผัส ระหว่างเครื่องมือเพื่อการลับและชิ้นงาน เมื่อเครื่องมือเพื่อการลับนี้ได้ได้ตัดเข้าในพื้นผิวใช้งาน ในลักษณะที่ว่า ความลึกของการตัด d เข้าในพื้นผิวใช้งานของเมล็ดสารขัดถูแอกทีฟท่ามกลางจำนวน มากมายของเมล็ดสารขัดถูที่มีส่วนร่วมในการลับหรือการขัดนี้บรรลุถึงความลึกวิกฤตของการตัด de ซึ่งเป็นความลึกที่น้อยที่สุดของการตัด ณ ความลึกที่ก่อใก้เกิดการแตกร้าวแบบเปราะในชิ้นงานนี้, และ Pe แสดงแทนโหลดวิกฤตต่อเมล็ดสารขัดถูหนึ่งเมล็ดเมื่อเมล็ดสารขัดถูหนึ่งเมล็ดนี้ได้ ตัดเข้าในพื้นผิวใช้งาน ณ ความลึกวิกฤตของการตัด de นี้ 2. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ที่ซึ่งชิ้นงานนี้จะมีค่าการแตกร้าวและความเหนียว Ktc ที่ น้อยกว่า 10 เมกะนิวตัน/(ม.)3/2 และจะนำพื้นผิวใช้งานนี้ไปผ่านการลับหรือการขัด เมื่อเคลื่อน เครื่องมือเพื่อการลับและชิ้นงานนี้ให้สัมพันธ์ซึ่งกันและกัน 3. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ที่ซึ่งเครื่องมือเพื่อการลับนี้เป็นเครื่องมือหนึ่งซึ่งจะทำให้ ความสูงของส่วนปลายสุดของเมล็ดสารขัดถูจำนวนมากมายที่จัดเตรียมไว้บนฐานรองรับนี้สม่ำเสมอ ด้วยระดับชั้นที่สูงของความแม่นตรง ณ ระดับที่ต่ำกว่าความลึกวิกฤตของการตัด de นี้ 4. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ที่ซึ่งเครื่องมือเพื่อการลับนี้เป็นเครื่องมือหนึ่งซึ่ง เส้นผ่าศูนย์กลางเฉลี่ยของอนุภาคของเมล็ดสารขัดถูนี้จะมากกว่า 20 ไมโครเมตรและความแข็งของ วัสดุเพื่อการยึดจะมากกว่าความแข็งวิคเกอร์ที่เท่ากับ 300 5. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ที่ซึ่งชิ้นงานนี้จะได้รับการขึ้นมาจากวัสดุชนิดใด ๆ ชนิดหนึ่งของแก้ว วัสดุชนิดผลึก และวัสดุชนิดเซรามิก 6. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อ 5 ที่ซึ่งชิ้นงานจะเป็นสิ่งใดๆ สิ่งหนึ่งของเลนส์ทางแสง กระจกเงาทางแสง และปริซึมทางแสง 7. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อ 5 ที่ซึ่งพื้นผิวใช้งานของชิ้นงานนี้จะเป็นพื้นผิวแบนราบหรือ พื้นผิวทรงกลมที่มีความโค้งตามที่วางเงื่อนไขไว้ 8. วิธีการกระทำด้วยเครื่องจักรกลสำหรับวัสดุที่เปราะสำหรับการลับหรือการขัดพื้นผิว ใช้งานของชิ้นงานที่มีวัสดุที่เปราะโดยการเคลื่อนไหวสัมพัทธ์ระหว่างชิ้นงานและเครื่องมือเพื่อการ ลับที่ประกอบรวมด้วยเมล็ดสารขัดถูจำนวนมากมายที่จัดเตรียมไว้บนฐานรองรับ ในขณะที่ จะนำ เครื่องมือเพื่อการลับนี้เข้ามาสัมผัสด้วยความดันกับพื้นผิวใช้งาน ณ โหลดรวมทั้งหมด P ซึ่งวิธีการ ดังกล่าวจะประกอบรวมด้วยขั้นตอนของ : การวัดความลึกวิกฤตของการตัด de ซึ่งเป็นความลึกที่น้อยที่สุดของการตัด ณ ความลึก ที่ก่อให้เกิดการแตกร้าวแบบเปราะในชิ้นงานนี้ ; การนับจำนวนสูงสุด N MAX ของเมล็ดสารขัดถูแอกทีฟที่มีอยู่ในพื้นที่ของการสัมผัส ระหว่างเครื่องมือเพื่อการลับและชิ้นงาน เมื่อพื้นผิวใช้งานนี้ได้รับการตัดเข้ามาถึงความลึกวิกฤตของ การตัด de นี้ ; การวัดโหลดวิกฤต pe ต่อเมล็ดสารขัดถูหนึ่งเมล็ดเมื่อเมล็ดสารขัดถูหนึ่งเมล็ดนี้ได้ตัด เข้าในพื้นผิวใช้งาน ณ ความลึกวิกฤตของการตัด de นี้ ; และ การดำเนินการลับหรือการขัดในขณะที่เป็นไปตามเงื่อนไข P < N MAX.Pe 9. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อ 8 ที่ซึ่งเครื่องมือเพื่อการลับนี้เป็นเครื่องมือหนึ่งซึ่งจะทำให้ ความสูงของส่วนปลายสุดของเมล็ดสารขัดถูจำนวนมากมายที่จัดเตรียมไว้บนฐานรองรับนี้สม่ำเสมอ ด้วยระดับชั้นที่สูงของความแม่นตรง ณ ระดับที่ต่ำกว่าความลึกวิกฤตของการตัด de นี้ 1 0. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อ 8 ที่ซึ่งเครื่องมือเพื่อการลับนี้เป็นเครื่องมือหนึ่งซึ่ง เส้นผ่าศูนย์กลางเฉลี่ยของอนุภาคของเมล็ดสารขัดถูนี้จะมากกว่า 20 ไมโครเมตรและความแข็งของ วัสดุเพื่อการยึดจะมากกว่าความแข็งวิคเกอร์ที่เท่ากับ 300 1 1. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อ 8 ที่ซึ่งชิ้นงานนี้จะได้รับการขึ้นมาจากวัสดุชนิดใด ๆ ชนิดหนึ่งของแก้ว วัสดุชนิดผลึก และวัสดุชนิดเซรามิก 1 2. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อ 11 ที่ซึ่งชิ้นงานจะเป็นสิ่งใดๆ สิ่งหนึ่งของเลนส์ทางแสง กระจกเงาทางแสง และปริซึมทางแสง 1 3. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อ 11 ที่ซึ่งพื้นผิวใช้งานของชิ้นงานนี้จะเป็นพื้นผิวแบนราบ หรือพื้นผิวทรงกลมที่มีความโค้งตามที่วางเงื่อนไขไว้ 1 4. วิธีการกระทำด้วยเครื่องจักรกลสำหรับวัสดุที่เปราะสำหรับการลับหรือการขัดพื้นผิว ใช้งานของชิ้นงานที่มีวัสดุที่เปราะ โดยการเคลื่อนไหวสัมพัทธ์ระหว่างชิ้นงานและเครื่องมือเพื่อการ ลับที่ประกอบรวมด้วยเมล็ดสารขัดถูจำนวนมากมายที่จัดเตรียมไว้บนฐานรองรับ ในขณะที่ จะนำ เครื่องมือเพื่อการลับนี้เข้ามาสัมผัสด้วยความดันกับพื้นผิวใช้งาน ณ โหลดรวมทั้งหมด P ซึ่งดำเนินการเพื่อที่จะ : วัดความลึกวิกฤตของการตัด de ซึ่งเป็นความลึกที่น้อยที่สุดของการตัด ณ ความลึก ที่ก่อให้เกิดการแตกร้าวแบบเปราะในชิ้นงานนี้ ; นับจำนวนสูงสุด N MAX ของเมล็ดสารขัดถูแอกทีฟที่มีอยู่ในพื้นที่ของการสัมผัส ระหว่างเครื่องมือเพื่อการลับและชิ้นงาน เมื่อพื้นผิวใช้งานนี้ได้รับการตัดเข้ามาถึงความลึกวิกฤตของ การตัด de นี้ ; วัดโหลดวิกฤต pe ต่อเมล็ดสารขัดถูหนึ่งเมล็ดเมื่อเมล็ดสารขัดถูหนึ่งเมล็ดนี้ได้ตัดเข้าใน พื้นผิวใช้งาน ณ ความลึกวิกฤตของการตัด de นี้; และ การดำเนินการลับหรือการขัดในขณะที่เป็นไปตามเงื่อนไข P < N MAX.Pe ซึ่งวิธีการดังกล่าวจะประกอบรวมด้วยขั้นตอนของ: การยึดตรึงเมล็ดสารขัดถูหนึ่งเมล็ดนี้เข้ากับส่วนเก็บรักษา, การตัดอย่างค่อยๆ ตัด ทีละน้อยเข้าในชิ้นงานนี้จนถึงความลึกวิกฤตของการตัด de นี้ และการวัดโหลดวิกฤต pe ต่อเมล็ด สารขัดถูแอกทีฟหนึ่งเมล็ด ณ เวลานั้น ซึ่งขั้นตอนเช่นนี้ได้รับการดำเนินการโดยเครื่องที่หนึ่ง; การก่อขึ้นรูปรอยขูดในชิ้นงานหุ่นโดยการหมุนหุ่นนี้ผ่านมุมที่วางเงื่อนไขไว้เพื่อก่อขึ้น รูปรอยขูดภายหลังเครื่องมือเพื่อการลับที่ประกอบรวมดวยเมล็ดสารขัดถูนำนวนมากมายได้รับการทำ ขึ้นมาเพื่อตัดเข้าในหุ่นนี้ถึงความลึกวิกฤตของการตัด de นี้และการทำให้ได้มาซึ่งจำนวนสูงสุด N MAX ของเมล็ดสารขัดถูแอกทีฟที่มีอยู่ในพื้นที่ของการสัมผัสระหว่างเครื่องเพื่อการลับและชิ้นงานนี้โดย การนับจำนวนของรอยขูด ซึ่งขั้นตอนเช่นนี้ได้รับการดำเนินการโดยเครื่องที่สอง; และ การทำให้ได้มาซึ่งเงื่อนไข P< N MAX.Pe 1 5. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อ 14 ที่ซึ่งเครื่องมือเพื่อการลับนี้เป็นเครื่องมือหนึ่งซึ่งจะทำให้ ความสูงของส่วนปลายสุดของเมล็ดสารขัดถูจำนวนมากมายที่จัดเตรียมไว้บนฐานรองรับนี้สม่ำเสมอ ด้วยระดับชั้นที่สูงของความแม่นตรง ณ ระดับที่ต่ำกว่าความลึกวิกฤตของการตัด de นี้ 1 6. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อ 14 ที่ซึ่งเครื่องมือเพื่อการลับนี้เป็นเครื่องมือหนึ่งซึ่งเส้นผ่า ศูนย์กลางเฉลี่ยของอนุภาคของเมล็ดสารขัดถูนี้จะมากกว่า 20 ไมโครเมตรและความแข็งของวัสดุเพื่อ การยึดจะมากกว่าความแข็งวิคเกอร์ที่เท่ากับ 300 1 7. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อ 14 ที่ซึ่งชิ้นงานนี้จะได้รับการขึ้นมาจากวัสดุชนิดใดๆ ชนิดหนึ่งของแก้ว วัสดุชนิดผลึก และวัสดุชนิดเซรามิก 1 8. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อ 17 ที่ซึ่งชิ้นงานจะเป็นสิ่งใดๆ สิ่งหนึ่งของเลนส์ทางแสง กระจกเงาทางแสง และปริซึมทางแสง 1 9. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อ 17 ที่ซึ่งพื้นผิวใช้งานของชิ้นงานนี้จะเป็นพื้นผิวแบนราบ หรือพื้นผิวทรงกลมที่มีความโค้งตามที่วางเงื่อนไขไว้ 2 0. วิธีการกระทำด้วยเครื่องจักรกลสำหรับวัสดุที่เปราะซึ่งประกอบด้วยขั้นตอนของ : การจัดเตรียมเครื่องมือเพื่อการลับแบบเค้าโครงขึ้นมาซึ่งประกอบรวมด้วย เมล็ดสารขัดถูจำนวนมากมายที่จัดเตรียมไว้บนฐานรองรับซึ่งบนเพลาของเครื่องมือเพื่อการลับนั้น ได้รับการจัดวางไว้ในกลไกการโยก ที่ซึ่งส่วนปลายสุดของเมล็ดสารขัดถูจำนวนมากมายจะกำหนด เอ็นวีโลปที่มีรูปร่างรูปทรงกลมซึ่งมีรัศมีของความโค้งที่ได้รับการทำให้ได้มาโดยการถอดแบบค่า เป้าหมายของรัศมีของความโค้งตามแนวพื้นผิวใช้งานของชิ้นงาน; การรองรับชิ้นงานนี้บนส่วนรองรับที่จัดเตรียมไว้บนกลไกการทำให้เกิดความดันบน ชิ้นงาน; และ การดำเนินการลับหรือการขัดโดยการหมุนชิ้นงานและเครื่องมือเพื่อการลับเทียบกับ กันและกันและการโยกสิ่งนี้ในขณะที่เป็นไปตามเงื่อนไข P < N MAX.Pe ซึ่ง: N MAX แสดงแทนจำนวนสูงสุดของเมล็ดสารขัดถูแอกทีฟที่มีอยู่ในพื้นที่ของการ สัมผัสระหว่างเครื่องมือเพื่อการลับและชิ้นงาน เมื่อเครื่องมือเพื่อการลับนี้ได้ตัดเข้าในพื้นผิวใช้งาน ถึงความลึกวิกฤตของการตัด de ซึ่งเป็นความลึกที่น้อยที่สุดของการตัด ณ ความลึกที่ก่อให้เกิดการ แตกร้าวแบบเปราะในชิ้นงานนี้, และ Pe แสดงแทนโหลดวิกฤตต่อเมล็ดสารขัดถูหนึ่งเมล็ดเมื่อเมล็ดสารขัดถูหนึ่งเมล็ดนี้ ได้ตัดเข้าในพื้นผิวใช้งาน ณ ความลึกวิกฤตของการตัด de นี้ 2
1. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อ 20 ที่ซึ่งรูปร่างของชิ้นงานนี้จะเป็นสิ่งที่เป็นเลนส์ รูปทรงกลมที่มีเส้นผ่าศูนย์กลาง D และมีรัศมีของความโค้ง R เช่นเดียวกันกับพื้นที่ผิว M ที่ได้รับการ กำหนดตั้งขึ้นมาโดย M = 2พายR [R- {R2-(D/2)2}1/2] ที่ซึ่ง จำนวนสูงสุด NMAX ของเมล็ดสารขัดถูแอกทีฟได้รับการทำให้น้อยกว่า 3000 ต่อพื้นที่ผิว M, และ จะดำเนินการลับหรือขัด ณ ความลึกที่น้อยกว่าความลึกวิกฤตของการตัด de ของชิ้นงานนี้ โดยการหมุนชิ้นงานและเครื่องมือเพื่อการลับให้สัมพันธ์ซึ่งกันและกันและการโยกสิ่งนี้ 2
2. วิธีการกระทำด้วยเครื่องจักรกลสำหรับวัสดุที่เปราะซึ่งประกอบรวมด้วยขั้นตอนของ : การกระทำด้วยเครื่องมือจักรกลให้กับพื้นผิวใช้งานของแบลงก์ที่ประกอบรวมด้วย วัสดุที่เปราะซึ่งจะทำหน้าที่เป็นชิ้นงานที่จะนำไปทำรูปร่างที่เสร็จสมบูรณ์ขั้นสุดท้าย โดยที่เป็นรูปร่าง เป้าหมายโดยประมาณโดยการปฏิบัติการลับจำนวนหนึ่งครั้งหรือสองครั้ง ; การดำเนินการลับหรือการขัดในขณะที่เป็นไปตามเงื่อนไข P < N MAX.Pe เพื่อที่จะ ลับหรือขัดพื้นผิวใช้งาน โดยการเคลื่อนไหวสัมพัทธ์ระหว่างชิ้นงานและเครื่องมือเพื่อการลับที่ ประกอบรวมด้วยเมล็ดสารขัดถูจำนวนมากมายที่จัดเตรียมไว้บนฐานรองรับ ในขณะที่ จะนำ เครื่องมือเพื่อการลับนี้เข้ามาสัมผัสด้วยความดันกับพื้นผิวใช้งานของชิ้นงาน ณ โหลดรวมทั้งหมด P ซึ่ง : N MAX แสดงแทนจำนวนสูงสุดของเมล็ดสารขัดถูแอกทีฟที่มีอยู่ในพื้นที่ของการสัมผัส ระหว่างเครื่องมือเพื่อการลับและชิ้นงาน เมื่อเครื่องมือเพื่อการลับนี้ได้ตัดเข้าในพื้นผิวใช้งาน ในลักษณะที่ว่า ความลึกของการตัด d เข้าในพื้นผิวใช้งานของเมล็ดสารขัดถูแอกทีฟท่ามกลางจำนวน มากมายของเมล็ดสารขัดถูที่มีส่วนร่วมในการลับหรือการขัดนี้บรรลุถึงความลึกวิกฤตของการตัด de ซึ่งเป็นความลึกที่น้อยที่สุดของการตัด ณ ความลึกที่ก่อให้เกิดการแตกร้าวแบบเปราะในชิ้นงานนี้ , และ Pe แสดงแทนโหลดวิกฤตต่อเมล็ดสารขัดถูหนึ่งเมล็ดเมื่อเมล็ดสารขัดถูหนึ่งเมล็ดนี้ได้ ตัดเข้าในพื้นผิวใช้งาน ณ ความลึกวิกฤตของการตัด de นี้ ; และ การดำเนินการขัดขั้นสุดท้ายโดยเมล็ดที่ปราศจากการขัดถู 2
3. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อ 22 ที่ซึ่งชิ้นงานนี้จะเป็นชิ้นส่วนทางแสง 2
4. เครื่องกระทำด้วยเครื่องจักรกลสำหรับวัสดุที่เปราะสำหรับการลับหรือการขัดพื้นผิว ใช้งานของชิ้นงานที่มีวัสดุเปราะซึ่งประกอบรวมด้วย : เครื่องมือเพื่อการลับที่ประกอบรวมด้วยเมล็ดสารขัดถูจำนวนมากที่จัดเตรียมไว้บน ฐานรองรับ; วิถีทางสำหรับการนำเครื่องมือเพื่อการลับดังกล่าวเข้ามาสัมผัสด้วยความดันกับพื้นผิว ใช้งาน ณ ความดันที่วางเงื่อนไขไว้และการทำให้การเคลื่อนไหวสัมพัทธ์เป็นผลขึ้นมาระหว่าง เครื่องมือเพื่อการลับดังกล่าวและพื้นผิวใช้งานนี้ ที่ซึ่งจะดำเนินการขัดหรือการลับด้วยการกำหนดตั้ง ความดันที่วางเงื่อนไขไว้ในลักษณะที่ว่า ความลึกของการตัด d เข้าในพื้นผิวใช้งานของเมล็ดสารขัดถู ท่ามกลางจำนวนมากมายดังกล่าวของเมล็ดสารขัดถูซึ่งมีส่วนร่วมในการลับหรือการขัดได้รับการทำ ให้น้อยกว่าความลึกวิกฤต de ซึ่งเป็นความลีกที่น้อยที่สุดของการตัดซึ่งจะก่อให้เกิดการแตกร้าวแบบ เปราะในชิ้นงานนี้ 2
5. เครื่องกระทำด้วยเครื่องจักรกลสำหรับวัสดุที่เปราะสำหรับการลับหรือการขัดพื้นผิว ใช้งานของชิ้นงานที่มีวัสดุเปราะซึ่งประกอบรวมด้วย : เครื่องมือเพื่อการลับที่ประกอบรวมด้วยเมล็ดสารขัดถูจำนวนมากมายที่จัดเตรียมไว้บน ฐานรองรับ; วิถีทางสำหรับการนำเครื่องมือเพื่อการลับดังกล่าวเข้ามาสัมผัสด้วยความดันกับพื้นผิว ใช้งาน ณ โหลดรวมทั้งหมด P และการทำให้เคลื่อนไหวสัมพัทธ์เป็นผลขึ้นมาระหว่าง เครื่องมือเพื่อการลับดังกล่าวและพื้นผิวใช้งานนี้ ที่ซึ่งจะดำเนินการลับหรือการขัด ในขณะที่ เป็นไปตามเงื่อนไข P < N MAX.Pe ซึ่ง : N MAX แสดงแทนจำนวนสูงสุดของเมล็ดสารขัดถูแอกทีฟที่มีอยู่ในพื้นที่ของการสัมผัส ระหว่างเครื่องมือเพื่อการลับดังกล่าวและชิ้นงานนี้ เมื่อเครื่องมือเพื่อการลับดังกล่าวได้ตัดเข้าใน พื้นผิวใช้งานนี้ ในลักษณะที่ว่า ความลึกของการตัด d เข้าในพื้นผิวใช้งานของเมล็ดสารขัดถูแอกทีฟ ท่ามกลางจำนวนมากมายดังกล่าวของเมล็ดสารขัดถูที่มีส่วนร่วมในการลับหรือการขัดนี้บรรลุถึง ความลึกวิกฤตของการตัด de ซึ่งเป็นความลึกที่น้อยที่สุดของการตัด ณ ความลึกที่ก่อให้เกิดการ แตกร้าวแบบเปราะในชิ้นงานนี้, และ Pe แสดงแทนโหลดวิกฤตต่อเมล็ดสารขัดถูหนึ่งเมล็ดเมื่อเมล็ดสารขัดถูหนึ่งเมล็ดนี้ได้ ตัดเข้าในพื้นผิวใช้งาน ณ ความลึกวิกฤตของการตัด de นี้ 2
6. เครื่องกระทำด้วยเครื่องจักรกลสำหรับวัสดุที่เปราะซึ่งประกอบรวมด้วย: เครื่องมือเพื่อการลับแบบเค้าโครงที่ประกอบรวมด้วยเมล็ดสารขัดถูจำนวนมากมาย ที่จัดเตรียมไว้บนฐานรองรับซึ่งบนเพลาของเครื่องมือเพื่อการลับนั้นได้รับการจัดวางไว้ในกลไก การโยก ที่ซึ่งส่วนปลายสุดของเมล็ดสารขัดถูจำนวนมากมายดังกล่าวจะกำหนดตั้งเอ็นวีโลปที่มี รูปร่างรูปทรงกลมซึ่งมีรัศมีของความโค้งที่ได้รับการทำให้ได้มาโดยการถอดแบบค่าเป้าหมายของ รัศมีของความโค้งตามแนวพื้นผิวใช้งานของชิ้นงาน; กลไกการทำให้เกิดความดันบนชิ้นงานที่มีส่วนรองรับสำหรับการรองรับชิ้นงานนี้; และ วิถีทางสำหรับการลับหรือการขัดโดยการหมุนชิ้นงานนี้และเครื่องมือเพื่อการลับ ดังกล่าวให้สัมพันธ์ซึ่งกันและกันและการโยกสิ่งนี้ในขณะที่เป็นไปตามเงื่อนไข P < N MAX.Pe ซึ่ง: N MAX แสดงแทนจำนวนสูงสุดของเมล็ดสารขัดถูแอกทีฟที่มีอยู่ในพื้นที่ของการสัมผัส ระหว่างเครื่องมือเพื่อการลับดังกล่าวและชิ้นงานนี้ เมื่อเครื่องมือเพื่อการลับดังกล่าวได้ตัดเข้าใน พื้นผิวใช้งานนี้ถึงความลึกของการตัด de ซึ่งเป็นความลึกที่น้อยที่สุดของการตัด ณ ความลึกที่ ก่อให้เกิดการแตกร้าวแบบเปราะในชิ้นงานนี้, และ Pe แสดงแทนโหลดวิกฤตต่อเมล็ดสารขัดถูหนึ่งเมล็ดเมื่อเมล็ดสารขัดถูหนึ่งเมล็ด ดังกล่าวได้ตัดเข้าในพื้นผิวใช้งาน ณ ความลึกวิกฤตของการตัด de ดังกล่าว
TH9401001450A 1994-07-12 วิธีการและเครื่องสำหรับการลับวัสดุที่เปราะ TH14908B (th)

Publications (3)

Publication Number Publication Date
TH21285A TH21285A (th) 1996-10-24
TH21285EX TH21285EX (th) 1996-10-24
TH14908B true TH14908B (th) 2003-07-01

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
US5005319A (en) Knife sharpener
KR101584265B1 (ko) 접시형 숫돌을 이용한 렌즈 구면의 연삭 가공 방법
RU2368486C2 (ru) Автоматический способ полировки для механических деталей из титана или титанового сплава
US5720649A (en) Optical lens or lap blank surfacing machine, related method and cutting tool for use therewith
JP3363587B2 (ja) 脆性材料の加工方法及びその装置
KR100401244B1 (ko) 절삭날을 라운딩하는 방법
JP2020504682A (ja) 加工物成形装置および方法
JP2002263995A (ja) 球面の研削加工方法及び装置
CN108237442A (zh) 一种超薄陶瓷指纹识别片的加工工艺
US2329713A (en) Lens edging device
TH14908B (th) วิธีการและเครื่องสำหรับการลับวัสดุที่เปราะ
TH21285A (th) วิธีการและเครื่องสำหรับการลับวัสดุที่เปราะ
US2277696A (en) Abrading tool
Wills-Moren et al. Ductile regime grinding of glass and other brittle materials by the use of ultrastiff machine tools
US6866560B1 (en) Method for thinning specimen
JPH08257923A (ja) 軸付き砥石および工具保持具
JPS6341706B2 (th)
WO2006123353A1 (en) A metal punch used in the manufacture of artificial stones, the method and apparatus for making such punch
JPH0435868A (ja) 岩石試片の研摩方法
Khanov et al. Abrasive finishing of brittle materials.
JP6952362B2 (ja) 光学部品又は光学部品成型用金型の研磨方法
Dow et al. Ductile/brittle transition and development of ductile mode grinding technology.
US2351095A (en) Polishing machine for v jewels
SITEK et al. TURNING OF MATERIALS WITH HIGH-SPEED ABRASIVE WATER JET.
JPH09285950A (ja) 研磨装置及び研磨方法