TH139988A - กระบวนการตรวจวัดปริมาณเชื้อแบคทีเรียด้วยการตรวจการเปลี่ยนแปลงสี (colorimetric detection) - Google Patents

กระบวนการตรวจวัดปริมาณเชื้อแบคทีเรียด้วยการตรวจการเปลี่ยนแปลงสี (colorimetric detection)

Info

Publication number
TH139988A
TH139988A TH1301003420A TH1301003420A TH139988A TH 139988 A TH139988 A TH 139988A TH 1301003420 A TH1301003420 A TH 1301003420A TH 1301003420 A TH1301003420 A TH 1301003420A TH 139988 A TH139988 A TH 139988A
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
bacteria
bind
enzyme
analysis
charge
Prior art date
Application number
TH1301003420A
Other languages
English (en)
Inventor
เหล่าเจริญสุข นางสาวรวิวรรณ
ถิรมนัส นางสาวรวีวรรณ
Original Assignee
นางสาวอรุณศรี ศรีธนะอิทธิพล
นางทิพวรรณ รัตนกิจ
Filing date
Publication date
Application filed by นางสาวอรุณศรี ศรีธนะอิทธิพล, นางทิพวรรณ รัตนกิจ filed Critical นางสาวอรุณศรี ศรีธนะอิทธิพล
Publication of TH139988A publication Critical patent/TH139988A/th

Links

Abstract

DC60 (20/06/56) การประดิษฐ์นี้ได้พัฒนากระบวนการตรวจหาเชื้อเเบคทีเรียโดยเทคนิคการจับกันเเบบเเข่งขัน (competitive assay) ของเเบคทีเรียเเละเอนไซม์ที่มีประจุเป็นลบ กับ อนุภาคที่มีประจุบนผิวเป็นบวก โดยที่ ประจุบนผิวอนุภาคมีค่าความเป็นบวกสูงทำให้มีเเนวโน้มที่จะเลือกจับกับผนังเซลล์ของเเบคทีเรียที่มีประจุเป็น ลบมากกว่าการจับกับเอนไซม์ซึ่งมีค่าประจุเป็นลบน้อยกว่าเเบคทีเรีย ดังนั้น เมื่อในตัวอย่างมีปริมาณเชื้อ เเบคทีเรียที่เเตกต่างกัน จึงส่งผลให้ปริมาณของอนุภาคที่ใช้ในการจับกับเชื้อเเบคทีเรียมีปริมาณต่างกันเเละ อนุภาคที่เหลืออยู่มีปริมาณที่แตกต่างกันตามลำดับ การตรวจวัดสัญญาณจึงอาศัยการตรวจวัดปริมาณ เอนไซม์อิสระที่ไม่ได้จับกับอนุภาคที่มีประจุบนผิวเป็นบวก โดยการใช้โมเลกุลสารซับสเตรทที่สามารถ เกิดปฏิกิริยาได้โดยมีเอนไซม์ดังกล่าวเป็นตัวเร่งการเกิดปฏิกิริยา เเละตรวจวัดการเปลี่ยนเเปลงของปฏิกิริยา โดยการติดตามสีที่เปลี่ยนเเปลงไปด้วยตาเปล่าหรือการวัดค่าการดูดกลืนแสงด้วยเครื่องวัดค่าการดูดกลืนแสง การประดิษฐ์นี้มีข้อดีในแง่ (1) มีขีดจำกัดในการตรวจวัดที่ความเข้มข้นต่ำ (low detection limit) โดยสามารถ เเยกความเเตกต่างระหว่างตัวอย่างที่มีเเละไม่มีการปนเปื้อนของเชื้อเเบคทีเรียเดี่ยวหรือเเบคทีเรียผสม ได้ใน ระดับต่ำที่สุดที่ 1 ซีเอฟยูต่อมิลลิลิตร (2) สามารถใช้ในการตรวจวัดปริมาณเชื้อเเบคทีเรียทั้งหมด (total bacteria) ที่ปนเปื้อนในตัวอย่างได้อย่างถูกต้อง (3) การตรวจวิเคราะห์สามารถทำได้โดยง่าย ไม่ต้องการ เครื่องมือที่มีราคาสูงในการวิเคราะห์ โดยเป็นการอ่านค่าการเปลี่ยนเเปลงสีด้วยตาเปล่า หรือ การวัดค่าการ ดูดกลืนเเสงด้วยอุปกรณ์ที่มีในห้องปฏิบัติการทั่วไป เเละ (4) ระยะเวลาที่ใช้ในการวิเคราะห์น้อยกว่าวิธี มาตรฐานด้วยการเพาะเลี้ยงเชื้อที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน นอกจากนี้ ยังมีผลการทดสอบในตัวอย่างน้ำดื่มที่เเสดงให้ เห็นถึงความเป็นไปได้ในการนำกระบวนการตามการประดิษฐ์นี้ไปปรับใช้จริงในทางอุตสาหกรรมได้ การประดิษฐ์นี้ได้พัฒนากระบวนการตรวจเชื้อเเบคทีเรียโดยเทคนิคการจับเเบบเเข่งขัน (Commpertiive asssey)ของเเบคทีเรียเเละเอนไซม์ที่มีปีระจุเป็นลบ กับ อนุภาคที่มีประจุบนผิวเป็นบวก โดยที่ ประจุผิวอนุภาคมีค่าความเป็นบวกสูงทำให้เเนวโน้มที่จะเลือกจับกับผนังเซลล์ของเเบคทีเรียที่มีประจุเป็น ลบมากกว่าการจับ รับเอนไซม์ซึ่งมีค่าประจุเป็นลบน้อยกว่าเเบบคทีเรีย ดังนั้น เมื่อในตัวอย่างมีปริมาณเชื้อ เเบคทีเรียที่เเตกต่างกัน จึงส่งผลให้ปริมาณของอนุภาคที่ใช้ในการจับกับเชื้อ เเบคทีเรียมีปริมาณต่างกันเเละ เอนไซม์อิสระที่ไม่ได้จับกับอนุภาคที่มีประจุบนผิวเป็นมาก โดยการใช้โมเลกุลสารซับสเตรตที่สามารถ เกิดปฏิกิริยาได้โดยมีเอนไซม์ดังกล่าวเป็นตัวเร่งการเกิดปฏิกิริยา เเละตรวจวัดการเปลี่ยนเเปลงของปฏิกิริยา โดยการติดตามสิ่งที่เปลี่ยนเเปลงไปด้วยตาเปล่าหรือการวัดค่าความเข้มข้นต่ำ(Low detection linel)โดยสามารถ เเยกความเเตกต่างระหว่างตัวอย่างที่มีเเละไม่มีการปนเปื้อนของเเบคทีเรียเดี่ยวหรือเเบคทีเรียผสม ได้ใน ระดับต่ำที่สุด 1 ซีเอฟยูต่อมิลลิลิตร(2)สามารถใชข้ในการตรวจวัดปริมาณเชื้อเเบคทีเรียทั้งหมด(total bacteria) ที่ปนเปื้อนมในตัวอย่างได้อย่างถูกต้อง(3)การตรวจวิเคราะห์สามารถทำได้โดยง่าย ไม่ต้องการ เครื่องมือที่มีราคาสูงในการวิเคราะห์ โดยเป็นการอ่านค่าการเปลี่ยนเเปลงสีด้วยตาเปล่า หรือ การวัดค่าการ ดูดกลืนเเสงด้วยอุปกรณ์ที่มีในห้องปฏิบัติการทั่วไป เเละ(4)ระยะเวลาที่ใช้ในการวิเคราะห์น้อยกว่าวิธี มาตรฐานด้วยการเพาะเลี้ยงเชื้อที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน นอกจากนี้ ยังมีผลการทดสอบในตัวอย่างน้ำดื่มที่เเสดงให้ เห็นถึงความเป็นไปได้ในการนำกระบวนการตามการประดิษฐ์นี้ไปปรับใช้จริงในทางอุตสาหกรรมได้

Claims (1)

  1. : DC60 (20/06/56) การประดิษฐ์นี้ได้พัฒนากระบวนการตรวจหาเชื้อเเบคทีเรียโดยเทคนิคการจับกันเเบบเเข่งขัน (competitive assay) ของเเบคทีเรียเเละเอนไซม์ที่มีประจุเป็นลบ กับ อนุภาคที่มีประจุบนผิวเป็นบวก โดยที่ ประจุบนผิวอนุภาคมีค่าความเป็นบวกสูงทำให้มีเเนวโน้มที่จะเลือกจับกับผนังเซลล์ของเเบคทีเรียที่มีประจุเป็น ลบมากกว่าการจับกับเอนไซม์ซึ่งมีค่าประจุเป็นลบน้อยกว่าเเบคทีเรีย ดังนั้น เมื่อในตัวอย่างมีปริมาณเชื้อ เเบคทีเรียที่เเตกต่างกัน จึงส่งผลให้ปริมาณของอนุภาคที่ใช้ในการจับกับเชื้อเเบคทีเรียมีปริมาณต่างกันเเละ อนุภาคที่เหลืออยู่มีปริมาณที่แตกต่างกันตามลำดับ การตรวจวัดสัญญาณจึงอาศัยการตรวจวัดปริมาณ เอนไซม์อิสระที่ไม่ได้จับกับอนุภาคที่มีประจุบนผิวเป็นบวก โดยการใช้โมเลกุลสารซับสเตรทที่สามารถ เกิดปฏิกิริยาได้โดยมีเอนไซม์ดังกล่าวเป็นตัวเร่งการเกิดปฏิกิริยา เเละตรวจวัดการเปลี่ยนเเปลงของปฏิกิริยา โดยการติดตามสีที่เปลี่ยนเเปลงไปด้วยตาเปล่าหรือการวัดค่าการดูดกลืนแสงด้วยเครื่องวัดค่าการดูดกลืนแสง การประดิษฐ์นี้มีข้อดีในแง่ (1) มีขีดจำกัดในการตรวจวัดที่ความเข้มข้นต่ำ (low detection limit) โดยสามารถ เเยกความเเตกต่างระหว่างตัวอย่างที่มีเเละไม่มีการปนเปื้อนของเชื้อเเบคทีเรียเดี่ยวหรือเเบคทีเรียผสม ได้ใน ระดับต่ำที่สุดที่ 1 ซีเอฟยูต่อมิลลิลิตร (2) สามารถใช้ในการตรวจวัดปริมาณเชื้อเเบคทีเรียทั้งหมด (total bacteria) ที่ปนเปื้อนในตัวอย่างได้อย่างถูกต้อง (3) การตรวจวิเคราะห์สามารถทำได้โดยง่าย ไม่ต้องการ เครื่องมือที่มีราคาสูงในการวิเคราะห์ โดยเป็นการอ่านค่าการเปลี่ยนเเปลงสีด้วยตาเปล่า หรือ การวัดค่าการ ดูดกลืนเเสงด้วยอุปกรณ์ที่มีในห้องปฏิบัติการทั่วไป เเละ (4) ระยะเวลาที่ใช้ในการวิเคราะห์น้อยกว่าวิธี มาตรฐานด้วยการเพาะเลี้ยงเชื้อที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน นอกจากนี้ ยังมีผลการทดสอบในตัวอย่างน้ำดื่มที่เเสดงให้ เห็นถึงความเป็นไปได้ในการนำกระบวนการตามการประดิษฐ์นี้ไปปรับใช้จริงในทางอุตสาหกรรมได้ การประดิษฐ์นี้ได้พัฒนากระบวนการตรวจเชื้อเเบคทีเรียโดยเทคนิคการจับเเบบเเข่งขัน (Commpertiive asssey)ของเเบคทีเรียเเละเอนไซม์ที่มีปีระจุเป็นลบ กับ อนุภาคที่มีประจุบนผิวเป็นบวก โดยที่ ประจุผิวอนุภาคมีค่าความเป็นบวกสูงทำให้เเนวโน้มที่จะเลือกจับกับผนังเซลล์ของเเบคทีเรียที่มีประจุเป็น ลบมากกว่าการจับ รับเอนไซม์ซึ่งมีค่าประจุเป็นลบน้อยกว่าเเบบคทีเรีย ดังนั้น เมื่อในตัวอย่างมีปริมาณเชื้อ เเบคทีเรียที่เเตกต่างกัน จึงส่งผลให้ปริมาณของอนุภาคที่ใช้ในการจับกับเชื้อ เเบคทีเรียมีปริมาณต่างกันเเละ เอนไซม์อิสระที่ไม่ได้จับกับอนุภาคที่มีประจุบนผิวเป็นมาก โดยการใช้โมเลกุลสารซับสเตรตที่สามารถ เกิดปฏิกิริยาได้โดยมีเอนไซม์ดังกล่าวเป็นตัวเร่งการเกิดปฏิกิริยา เเละตรวจวัดการเปลี่ยนเเปลงของปฏิกิริยา โดยการติดตามสิ่งที่เปลี่ยนเเปลงไปด้วยตาเปล่าหรือการวัดค่าความเข้มข้นต่ำ(Low detection linel)โดยสามารถ เเยกความเเตกต่างระหว่างตัวอย่างที่มีเเละไม่มีการปนเปื้อนของเเบคทีเรียเดี่ยวหรือเเบคทีเรียผสม ได้ใน ระดับต่ำที่สุด 1 ซีเอฟยูต่อมิลลิลิตร(2)สามารถใชข้ในการตรวจวัดปริมาณเชื้อเเบคทีเรียทั้งหมด(total bacteria) ที่ปนเปื้อนมในตัวอย่างได้อย่างถูกต้อง(3)การตรวจวิเคราะห์สามารถทำได้โดยง่าย ไม่ต้องการ เครื่องมือที่มีราคาสูงในการวิเคราะห์ โดยเป็นการอ่านค่าการเปลี่ยนเเปลงสีด้วยตาเปล่า หรือ การวัดค่าการ ดูดกลืนเเสงด้วยอุปกรณ์ที่มีในห้องปฏิบัติการทั่วไป เเละ(4)ระยะเวลาที่ใช้ในการวิเคราะห์น้อยกว่าวิธี มาตรฐานด้วยการเพาะเลี้ยงเชื้อที่ใช้อยู่ในปัจจุบัน นอกจากนี้ ยังมีผลการทดสอบในตัวอย่างน้ำดื่มที่เเสดงให้ เห็นถึงความเป็นไปได้ในการนำกระบวนการตามการประดิษฐ์นี้ไปปรับใช้จริงในทางอุตสาหกรรมได้ข้อถือสิทธิ์ (ข้อที่หนึ่ง) ซึ่งจะปรากฏบนหน้าประกาศโฆษณา : 1.กระบวนการตรวจวัดปริมาณเชื้อแเบคทีเรียด้วยการจากการเปลี่ยนแปลงสี ที่มีลักษณะเฉพาะคือ กระบวนการดังกล่าวอาศัยการจับการแบบแข่งขัน (Commpertiive binding)ระหว่างเอนไซม์และเชื้อ แบคทีเรียที่มีประจุเป็นลบ กับ อนุภาคที่มีประจุลบเป็นบวก โดยที่ประจุผิวอนุภาคมีค่า ความเป็นบวกสูง ทำให้มีแนวโน้มที่จะเลือกจับผนังเซลล์ของแบคทีเรียที่มีประจุลบมากกว่าการจับกับแอนไซม์ซึ่งมีค่า ประจุเป็นลบน้อยกว่าแบคทีเรีย ดังนั้น เมื่อใดตัวอย่างมีปริมแท็ก :
TH1301003420A 2013-06-20 กระบวนการตรวจวัดปริมาณเชื้อแบคทีเรียด้วยการตรวจการเปลี่ยนแปลงสี (colorimetric detection) TH139988A (th)

Publications (1)

Publication Number Publication Date
TH139988A true TH139988A (th) 2015-02-27

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
RU2015135359A (ru) Быстрый способ детекции патогенов
CN102296111B (zh) 基于rt-pcr测定混合肉制品中特定肉类成分含量的方法
CN101813632B (zh) 水质磷酸盐比色检测卡制备及其应用方法
GB201305262D0 (en) Determining the quantity of a taggant in a liquid sample
RU2014146286A (ru) Способ осуществления цифровой пцр
EP3640627A3 (en) Method for reducing corrosion in an oil refinery installation
WO2012149076A8 (en) Method and apparatus for determination of system parameters for reducing crude unit corrosion
CN104483280A (zh) 一种快速检测氨氮脱除率的方法
ATE488598T1 (de) Nachweis von bakterien in flüssigkeiten
CN102465167A (zh) 一种发光细菌的快速、高通量急性毒性测试方法
CN105277535B (zh) 一种可消除试剂空白影响的水中氨氮现场快速检测方法
Padisák et al. Laboratory analyses of cyanobacteria and water chemistry
Yu et al. Rapid detection and enumeration of total bacteria in drinking water and tea beverages using a laboratory-built high-sensitivity flow cytometer
CN102879241A (zh) 一种磷酸盐快速检测片
Baehr et al. The measurement of phosphorus and its spatial and temporal variability in the western arm of Lake Superior
Koreivienė et al. Methods for cyanotoxins detection
TH139988A (th) กระบวนการตรวจวัดปริมาณเชื้อแบคทีเรียด้วยการตรวจการเปลี่ยนแปลงสี (colorimetric detection)
CN103789397A (zh) 检测细菌总数的试剂盒和检测方法
CN204203105U (zh) 水体氨氮含量速检试剂盒
CN104764694B (zh) 一种可变光程的氨氮在线监测仪金属恒温测量室
CN102507542A (zh) 一种快速定量测定尿碘的方法
CN103033501A (zh) 一种水质中硫酸根比色快速测定方法
CN104374771B (zh) 一种快速检测水体氨氮含量的试剂盒及其检测方法
CN105181690B (zh) 一种12通道微流快速比色水质检测装置
EP3447472B1 (en) Method for estimating number of microparticles in sample