TH131174A - Vehicle seats and how to set stiffness for vehicle seats - Google Patents

Vehicle seats and how to set stiffness for vehicle seats

Info

Publication number
TH131174A
TH131174A TH1301001727A TH1301001727A TH131174A TH 131174 A TH131174 A TH 131174A TH 1301001727 A TH1301001727 A TH 1301001727A TH 1301001727 A TH1301001727 A TH 1301001727A TH 131174 A TH131174 A TH 131174A
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
seat
stiffness
cushion
area
occupant
Prior art date
Application number
TH1301001727A
Other languages
Thai (th)
Other versions
TH131174B (en
TH67709B (en
Inventor
เอกามิ
โอชิมะ
ชิเกคิ
ทาคาโยชิ
ทาคามัตสึ
นากาโนะ
มาซาฮิโระ
มิตสึฮิโตะ
รูมิโกะ
อัตสึชิ
อาคินาริ
อิโตะ
อิชิวาตะ
ฮิราโอะ
Original Assignee
นางสาวปรับโยชน์ ศรีกิจจาภรณ์
นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์
นายบุญมา เตชะวณิช
นิสสัน มอเตอร์ โก แอลทีดี
Filing date
Publication date
Application filed by นางสาวปรับโยชน์ ศรีกิจจาภรณ์, นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์, นายบุญมา เตชะวณิช, นิสสัน มอเตอร์ โก แอลทีดี filed Critical นางสาวปรับโยชน์ ศรีกิจจาภรณ์
Publication of TH131174B publication Critical patent/TH131174B/en
Publication of TH67709B publication Critical patent/TH67709B/en
Publication of TH131174A publication Critical patent/TH131174A/en

Links

Abstract

DC60(22/02/61) ที่นั่งยานพาหนะ(1)รวมถึงเบาะรองนั่ง(2)และส่วนหลังที่นั่ง(3)ซึ่งในนั้นเบาะรองนั่ง(2) ได้รับการกำหนดให้มีการกระจายความแข็งตึงในทิศทางแนวหน้าหลังในลักษณะที่ส่วนด้านหน้าของ เบาะรองนั่งได้รับการจัดให้มีบริเวณความแข็งตึงตํ่า(PSc)ซึ่งยืดหยุ่นตัวได้มากกว่าส่วนด้านหลังของ เบาะรองนั่งที่เป็นบริเวณความแข็งตึงสูง(PHc) 22/02/2561(OCR) หน้า1ของจำนวน1หน้า บทสรุปการประดิษฐ์ ที่นั่งยานพาหนะ(1)รวมถึงเบาะรองนั่ง(2)และส่วนหลังที่นั่ง(3)ซึ่งในนันเบาะรองนั่ง(2) ได้รับการกำหนดให้มีการกระจายความแข็งตึงในทิศทางแนวหน้าหลังในลักษณะที่ส่วนด้านหน้าของ เบาะรองนั่งได้รับการจัดให้มีบริเวณความแข็งตึงตํ่า(PSc)ซึ่งยืดหยุ่นตัวได้มากกว่าส่วนด้านหลังของ เบาะรองนั่งที่เป็นบริเวณความแข็งตึงสูง(PHc) เบาะนั่งยานพาหนะ(1)รวมถึงเบาะรองนั่ง(2)และพนักพิงหลัง(3)ซึ่งเบาะรองนั่ง(2) ได้รับการกำหนดให้มีการกระจายความแข็งตึงในทิศทางแนวหน้าหลังในลักษณะที่ส่วนด้านหน้าของ เบาะรองนั่งได้รับการจัดให้มีบริวเณความแข็งตึงต่ำ(PSc)ซึ่งยืดหยุ่นตัวได้มากกว่าส่วนด้านหลังของ เบาะรองนั่งที่เป็นบริเวณความแข็งตึงสูง(PHc) DC60(22/02/61) Vehicle seat (1) including seat cushion (2) and seat back (3), wherein the seat cushion (2) is specified to have distributed stiffness in front-back direction in such a way that the front part of The cushion is provided with a low stiffness zone (PSc) which is more flexible than the back of the seat. Seat cushion that has a high stiffness area (PHc) 22/02/2018 (OCR) Page 1 of 1 page Summary of the invention The vehicle seat (1) includes a seat cushion (2) and a seat back (3), wherein the seat cushion (2) is arranged to distribute stiffness in the front-back direction in such a way that the front of The cushion is provided with a low stiffness zone (PSc) which is more flexible than the back of the seat. Seat cushions with high stiffness zones (PHc), vehicle seats (1), including seat cushions (2) and backrests (3), where the cushion (2) is specified Distribute stiffness in the front-back direction in such a way that the front of The seat cushion is equipped with a low stiffness (PSc) material which is more flexible than the back of the seat. Seat cushion that has a high stiffness area (PHc)

Claims (1)

ข้อถือสิทธฺ์ (ทั้งหมด) ซึ่งจะไม่ปรากฏบนหน้าประกาศโฆษณา :------22/02/2561------(OCR) หน้า 1 ของจำนวน 6 หน้า ข้อถือสิทธิ 1. ที่นั่งยานพาหนะที่ประกอบรวมด้วยเบาะรองนั่งและส่วนหลังที่นั่ง (seat back) ที่ซึ่ง เบาะรองนั่งได้รับการกำหนดให้มีการกระจายความแข็งตึงในทิศทางแนวหน้าหลังใน ลักษณะที่ส่วนด้านหน้าของเบาะรองนั่งได้รับการจัดให้มีบริเวณความแข็งตึงตํ่าซึ่งยืดหยุ่นตัวได้ มากกว่าส่วนด้านหลังของเบาะรองนั่งที่เป็นบริเวณความแข็งตึงสูง ส่วนหลังที่นั่งได้รับการกำหนดให้มีการกระจายความแข็งตึงที่มีลักษณะเฉพาะแรงปฏิกิริยาที่ ต่างกันในทิศทางแนวตังของส่วนหลังที่นั่งในลักษณะที่ว่าบริเวณความแข็งตึงตํ่าที่มีแรงปฏิกิริยา รองรับน้อยสำหรับผู้นง (occupant) ได้รับการกำหนดตังไว้ในส่วนกึงกลางในแนวตังของส่วนหลังที นั่ง ในขณะที่บริเวณความแข็งตึงสูงซึ่งแด,ละบริเวณมีแรงปฏิกิริยารองรับมากสำหรับผู้นั่งได้รับการ กำหนดตังไว้ ใกล้กับบริเวณความแข็งตึงตํ่า ในส่วนด้านบนและด้านล่างของส่วนหลังที่นั่ง พืนผิวพิงหลังของส่วนหลังที่นั่งนันสามารถงอได้ในกึ่งกลาง ณ บริเวณความแข็งตึงตํ่า ณ มุม งอที่กึ่งกลางต่างๆ ใดๆ โดยสอดคล้องตามโหลดบนที่พิงหลัง (backrest load) ของผู้นั่ง และ บริเวณความแข็งตึงตํ่าของเบาะรองนั่งได้รับการกำหนดให้มีลักษณะเฉพาะแรงปฏิกิริยาของ การมีแรงปฏิกิริยารองรับมากสำหรับโหลดการนั่งที่กระทำจากข้างบน และแรงปฏิกิริยารองรับน้อย สำหรับโหลดการนั่งที่กระทำจากด้านหน้า 2. ที่นั่งยานพาหนะที่ประกอบรวมด้วยเบาะรองนั่งและส่วนหลังที่นั่ง ที่ซึ่ง เบาะรองนั่งได้รับการกำหนดให้มีการกระจายความแข็งตึงในทิศทางแนวหน้าหลังใน ลักษณะที่ส่วนด้านหน้าของเบาะรองนั่งได้รับการจัดให้มีบริเวณความแข็งตึงตํ่าซึ่งยืดหยุ่นตัวได้ มากกว่าส่วนด้านหลังของเบาะรองนั่งที่เป็นบริเวณความแข็งตึงสูง ส่วนหลังที่นั่งได้รับการกำหนดให้มีการกระจายความแข็งตึงที่มีลักษณะเฉพาะแรงปฏิกิริยาที่ ต่างกันในทิศทางแนวตังของส่วนหลังที่นั่งในลักษณะที่ว่าบริเวณความแข็งตึงตํ่าที่มีแรงปฏิกิริยา รองรับน้อยสำหรับผู้นั่งได้รับการกำหนดตั้งไว้ในส่วนกึ่งกลางในแนวตั้งของส่วนหลังที่นั่ง ในขณะที่ บริเวณความแข็งตึงสูงซึ่งแต่ละบริเวณมีแรงปฏิกิริยารองรับมากสำหรับผู้นั่งได้รับการกำหนดตังไว้ ใกล้กับบริเวณความแข็งตึงตํ่าในส่วนด้านบนและด้านล่างของส่วนหลังที่นั่ง พื้นผิวพิงหลังของส่วนหลังที่นั่งนันสามารถงอได้ในกึ่งกลาง ณ บริเวณความแข็งตึงตํ่า ณ มุม งอที่กึ่งกลางต่างๆ ใดๆ โดยสอดคล้องตามโหลดบนที่พิงหลังของผู้นั่ง หน้า 2 ของจำนวน 6 หน้า บริเวณความแข็งตึงตํ่าของเบาะรองนั่งได้รับการกำหนดตั้งไว้ในส่วนสัมผัสหลังต้นขา ส่วนล่างที่จะสัมผัสกับหลังด้นขาส่วนล่างของผู้นั่ง ส่วนสัมผัสหลังเข่าที่จะสัมผัสกับหลังเข่าของผู้นั่ง และส่วนสัมผัสหลังขาส่วนล่างที่จะสัมผัสกับหลังขาส่วนล่างของผู้นั่ง และ ลักษณะเฉพาะแรงปฏิกิริยาของบริเวณความแข็งตึงตํ่าของเบาะรองนั่งได้รับการกำหนดตังใน ลักษณะที่แรงปฏิกิริยารองรับของส่วนสัมผัสหลังด้นขาส่วนล่าง ส่วนสัมผัสหลังเข่า และส่วนสัมผัส หลังขาส่วนล่างแต่ละส่วนสอดคล้องเป็นจริงตามความสัมพันธ์ของ ส่วนสัมผัสหลังด้นขาส่วนล่าง > ส่วนสัมผัสหลังเข่า > ส่วนสัมผัสหลังขาส่วนล่าง 3. ที่นั่งยานพาหนะตามข้อถือสิทธิข้อ 2 ที่ซึ่ง บริเวณความแข็งตึงตํ่าของเบาะรองนั่งได้รับการกำหนดให้มีลักษณะเฉพาะแรงปฏิกิริยาของ การมีแรงปฏิกิริยารองรับมากสำหรับโหลดการนั่งที่กระทำจากข้างบน และแรงปฏิกิริยารองรับน้อย สำหรับโหลดการนั่งที่กระทำจากด้านหน้า 4. ที่นั่งยานพาหนะตามข้อถือสิทธิข้อ 1 หรือ 2 ที่ซึ่ง เบาะรองนั่งได้รับการก่อรูปขึ้นมาจากส่วนอย่างน้อยที่สุดสองส่วนซึ่งเป็นส่วนด้านหลังและ ส่วนด้านหน้าที่รวมถึงส่วนปลายด้านหน้าของส่วนนัน และ ส่วนด้านหน้าได้รับการก่อรูปขึนมาจากวัสดุแผ่นรองที่นุ่ม (pad material) ซึ่งมีลักษณะเฉพาะ แรงปฏิกิริยานัน 5. ที่นั่งยานพาหนะตามข้อถือสิทธิข้อ 2 ที่ซึ่ง ส่วนด้านหน้าของเบาะรองนั่งได้รับการทำขึ้นมาจากวัสดุแผ่นรองที่นุ่มซึ่งในนั้นส่วนที่ ตรงกันกับส่วนสัมผัสหลังด้นขาส่วนล่าง ส่วนสัมผัสหลังเข่า และส่วนสัมผัสหลังขาส่วนล่างมี ค่าคงที่สปริงที่ต่างกัน 6. ที่นั่งยานพาหนะตามข้อถือสิทธิข้อ 5 ที่ซึ่ง วัสดุแผ่นรองที่นุ่มที่ใช้ในส่วนที่ตรงกันกับส่วนสัมผัสหลังด้นขาส่วนล่างรวมถึงวัสดุแผ่น รองที่นุ่มจำนวนหนึ่งที่ได้รับการแบ่งในทิศทางแนวหน้าหลัง และ ค่าคงที่สปริงของวัสดุแผ่นรองที่นุ่มที่ได้จัดไว้บนด้านหลังได้รับการกำหนดตังให้น้อยกว่า ค่าคงที่สปริงของวัสดุแผ่นรองที่นุ่มที่ได้จัดไว้บนด้านหน้า 7. ที่นั่งยานพาหนะตามข้อถือสิทธิข้อ 2 ที่ซึ่ง ลักษณะเฉพาะแรงปฏิกิริยาได้รับการทำให้มีขึนในลักษณะที่ว่า หน้า 3 ของจำนวน 6 หน้า ส่วนด้านหน้าของเบาะรองนั่งได้รับการทำขึ้นมาจากวัสดุแผ่นรองที่นุ่มที่มีค่าคงที่สปริงน้อย กว่าวัสดุแผ่นรองที่นุ่มที่ใช้ในส่วนด้านหลังของเบาะรองนั่ง และ แนวแบ่งส่วนซึ่งวัสดุแผ่นรองที่นุ่มของส่วนด้านหน้าและด้านหลังของเบาะรองนั่งเผชิญหน้า กันและสัมผัสกันตามแนวนันได้รับการทำให้ยื่นจากที่ประมาณขอบเขตระหว่างส่วนสัมผัสหลังต้นขา ส่วนล่างและส่วนสัมผัสหลังเข่าและได้รับการทำให้เอียงลงล่างไปสู่ด้านหลัง 8. ที่นั่งยานพาหนะตามข้อถือสิทธิข้อ 2 ที่ซึ่ง ลักษณะเฉพาะแรงปฏิกิริยาได้รับการทำให้มีขึนในลักษณะที่ว่า ส่วนด้านหน้าของเบาะรองนั่งได้รับการทำขึนมาจากวัสดุแผ่นรองที่นุ่มที่มีค่าคงที่สปริงน้อย กว่าวัสดุแผ่นรองที่นุ่มที่ใข้ในส่วนด้านหลังของเบาะรองนั่ง ชิ้นประกอบรับโหลดได้รับการจัดให้มีไว้กับส่วนด้านหน้าของชิ้นประกอบโครงเบาะรองนั่ง ซึ่งชินประกอบรับโหลดยื่นขึนบนในบริเวณความแข็งตึงตํ่า และ ความหนาของวัสดุแผ่นรองที่นุ่มในส่วนด้านหน้าของเบาะรองนั่งได้รับการปรับโดยการใช้ ด้านข้างบนและด้านหน้าของชิ้นประกอบรับโหลด 9. ที่นั่งยานพาหนะตามข้อถือสิทธิข้อ 2 ที่ซึ่ง ลักษณะเฉพาะแรงปฏิกิริยาได้รับการทำให้มีขึ้นในลักษณะที่ว่า ส่วนด้านหน้าของเบาะรองนั่งได้รับการทำขึนมาจากวัสดุแผ่นรองที่นุ่มที่มีค่าคงที่สปริงน้อย กว่าวัสดุแผ่นรองที่นุ่มที่ใข้ในส่วนด้านหลังของเบาะรองนั่ง ชิ้นประกอบรับโหลดได้รับการจัดให้มีไว้กับส่วนด้านหน้าของชิ้นประกอบโครงเบาะรองนั่ง ซึ่งชินประกอบรับโหลดยื่นขึนบนในบริเวณความแข็งตึงตํ่า ความหนาของวัสดุแผ่นรองที่นุ่มในส่วนด้านหน้าของเบาะรองนั่งได้รับการปรับโดยการใช้ ด้านข้างบนและด้านหน้าของชิ้นประกอบรับโหลด และ กลไกสปริงได้รับการจัดให้มีไว้กับด้านหน้าของชิ้นประกอบรับโหลด ซึ่งกลไกสปริงนั้น สามารถหดกลับไปด้านหลังได้โดยตอบสนองต่อโหลดการนั่งที่กระทำจากด้านหน้า 1 0. ที่นั่งยานพาหนะตามข้อถือสิทธิข้อ 2 ที่ซึ่ง เบาะรองนั่งได้รับการทำขึ้นจากวัสดุแผ่นรองที่นุ่มเดี่ยว และ ส่วนกลวงได้รับการจัดให้มีไว้ในส่วนด้านหน้าของวัสดุแผ่นรองที่นุ่มเพื่อก่อรูปบริเวณความ แข็งตึงตํ่าในเบาะรองนั่งนัน และทำให้มีลักษณะเฉพาะแรงปฏิกิริยาแค่บริเวณความแข็งตึงตํ่า 1 1. ที่นั่งยานพาหนะที่ประกอบรวมด้วยเบาะรองนั่งและส่วนหลังที่นั่งที่ซึ่ง หน้า 4 ของจำนวน 6 หน้า เบาะรองนั่งได้รับการกำหนดให้มีการกระจายความแข็งตึงในทิศทางแนวหน้าหลังใน ลักษณะที่ส่วนด้านหน้าของเบาะรองนั่งได้รับการจัดให้มีบริเวณความแข็งตึงตํ่าซึ่งยืดหยุ่นตัวได้ มากกว่าส่วนด้านหลังของเบาะรองนั่งที่เป็นบริเวณความแข็งตึงสูง ส่วนหลังที่นั่งได้รับการกำหนดให้มีการกระจายความแข็งตึงที่มีลักษณะเฉพาะแรงปฏิกิริยาที่ ต่างกันในทิศทางแนวตั้งของส่วนหลังที่นั่งในลักษณะที่ว่าบริเวณความแข็งตึงตํ่าที่มีแรงปฏิกิริยา รองรับน้อยสำหรับผู้นั่งได้รับการกำหนดตังไว้ในส่วนกึ่งกลางในแนวตังของส่วนหลังที่นั่ง ในขณะที่ บริเวณความแข็งตึงสูงซึ่งแด,ละบริเวณมีแรงปฏิกิริยารองรับมากสำหรับผู้นั่งได้รับการกำหนดตังไว้ ใกล้กับบริเวณความแข็งตึงตํ่า ในส่วนด้านบนและด้านล่างของส่วนหลังที่นั่ง พื้นผิวพิงหลังของส่วนหลังที่นั่งนั้นสามารถงอได้ในกึ่งกลาง ณ บริเวณความแข็งตึงตํ่า ณ มุม งอที่กึ่งกลางต่างๆ ใดๆ โดยสอดคล้องตามโหลดบนที่พิงหลังของผู้นั่ง พื้นผิวเอียงได้รับการจัดให้มีไว้ที่บริเวณมุมบริเวณที่พื้นผิวการนั่งของเบาะรองนั่งและพื้นผิว พิงหลังของส่วนหลังที่นั่งได้รับการต่อกัน ซึ่งพืนผิวเอียงได้รับการสร้างขึนมาในโครงแบบให้รองรับ สะโพกของผู้นั่ง และ พื้นผิวเอียงได้รับการก่อรูปขึ้นมาจากชิ้นประกอบรูปร่างแถบยืดหยุ่นที่ได้วางไว้ระหว่าง พืนผิวการนั่งของเบาะรองนั่งและพืนผิวพิงหลังของส่วนหลังที่นั่งผ่านข้ามบริเวณมุม 1 2. ที่นั่งยานพาหนะที่ประกอบรวมด้วยเบาะรองนั่งและส่วนหลังที่นั่ง ที่ซึ่ง เบาะรองนั่งได้รับการกำหนดให้มีการกระจายความแข็งตึงในทิศทางแนวหน้าหลังใน ลักษณะที่ส่วนด้านหน้าของเบาะรองนั่งได้รับการจัดให้มีบริเวณความแข็งตึงตํ่าซึ่งยืดหยุ่นตัวได้ มากกว่าส่วนด้านหลังของเบาะรองนั่งที่เป็นบริเวณความแข็งตึงสูง ส่วนหลังที่นั่งได้รับการกำหนดให้มีการกระจายความแข็งตึงที่มีลักษณะเฉพาะแรงปฏิกิริยาที่ ต่างกันในทิศทางแนวตังของส่วนหลังที่นั่งในลักษณะที่ว่าบริเวณความแข็งตึงตํ่าที่มีแรงปฏิกิริยา รองรับน้อยสำหรับผู้นั่งได้รับการกำหนดตั้งไว้ในส่วนกึ่งกลางในแนวตั้งของส่วนหลังที่นั่ง ในขณะที่ บริเวณความแข็งตึงสูงซึ่งแต่ละบริเวณมีแรงปฏิกิริยารองรับมากสำหรับผู้นั่งได้รับการกำหนดตังไว้ ใกล้กับบริเวณความแข็งตึงตํ่า ในส่วนด้านบนและด้านล่างของส่วนหลังที่นั่ง พื้นผิวพิงหลังของส่วนหลังที่นั่งนันสามารถงอได้ในกึ่งกลาง ณ บริเวณความแข็งตึงตํ่า ณ มุม งอที่กึ่งกลางต่างๆ ใดๆ โดยสอดคล้องตามโหลดบนที่พิงหลังของผู้นั่ง พืนผิวการนั่งของเบาะรองนั่งได้รับการกำหนดตังในลักษณะที่ส่วนใกล้กันในพืนผิวการนั่ง จะแตกต่างกันใน ความแข็งตึง สัมประสิทธิความเสียดทาน และรูปร่าง อย่างน้อยที่สุดหนึ่งค่า และ หน้า 5 ของจำนวน 6 หน้า พืนผิวการนั่งของเบาะรองนั่งได้รับการสร้างขึนมาในโครงแบบในลักษณะที่ ส่วนหนึ่งในด้านหน้าของส่วนเปลี่ยนรูปร่างมากที่สุดในการนั่งมีสัมประสิทธิความเสียดทาน ด้านการเลื่อนจากหน้าไปหลังที่ตํ่ากว่าสัมประสิทธิความเสียดทานด้านการเลื่อนจากหลังไปหน้า และ ส่วนหนึ่งข้างหลังส่วนเปลี่ยนรูปร่างมากที่สุดมีสัมประสิทธิความเสียดทานด้านการเลื่อนจาก หลังไปหน้าที่ตํ่ากว่าสัมประสิทธิความเสียดทานด้านการเลื่อนจากหน้าไปหลัง 1 3. ที่นั่งยานพาหนะตามข้อถือสิทธิข้อ 12 ที่ซึ่ง พืนผิวการนั่งของเบาะรองนั่งได้รับการสร้างในลักษณะที่ชันพืนผิวในส่วนหนึ่งในด้านหน้า ของส่วนเปลี่ยนรูปร่างมากที่สุดในการนั่งนันอ่อนนุ่มกว่าชันพืนผิวของส่วนหนึ่งข้างหลังส่วนเปลี่ยน รูปร่างมากที่สุด 1 4. ที่นั่งยานพาหนะตามข้อถือสิทธิข้อ 12 หรือ 13 ที่ซึ่ง พืนผิวการนั่งของเบาะรองนั่งได้รับการก่อรูปขึนในลักษณะที่พืนผิวของส่วนหนึ่งข้างหลัง ส่วนเปลี่ยนรูปร่างมากที่สุดในการนั่งอยู่ในแนวนอนอย่างเป็นสำคัญ 1 5. ที่นั่งยานพาหนะตามข้อถือสิทธิข้อ 12 ถึง 14 ข้อใดข้อหนึ่ง ที่ซึ่ง พืนผิวการนั่งของเบาะรองนั่งได้รับการก่อรูปขึนในลักษณะที่พืนผิวของส่วนหนึ่งใน ด้านหน้าของส่วนเปลี่ยนรูปร่างมากที่สุดในการนั่งจะเอียงลงล่างไปสู่ด้านหลัง 1 6. ที่นั่งยานพาหนะตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ถึง 15 ข้อใดข้อหนึ่ง ที่ซึ่ง พื้นผิวพิงหลังของส่วนหลังที่นั่งได้รับการกำหนดตั้งในลักษณะที่ส่วนใกล้กันในพื้นผิวพิง หลังจะแตกต่างคันใน ความแข็งตึง สัมประสิทธิความเสียดทาน และรูปร่าง อย่างน้อยที่สุดหนึ่งค่า 1 7. ที่นั่งยานพาหนะตามข้อถือสิทธิข้อ 16 ที่ซึ่ง พืนผิวพิงหลังของส่วนหลังที่นั่งที่ได้รับการกำหนดตั้งในลักษณะที่สัมประสิทธิความเสียด ทานของส่วนที่ตรงคันคับอกของผู้นั่งนันสูงกว่าสัมประสิทธิความเสียดทานของส่วนหนึ่งข้างใต้ส่วน หนึ่งที่ตรงคันคับอก 1 8. ที่นั่งยานพาหนะตามข้อถือสิทธิข้อ 16 หรือ 17 ที่ซึ่ง พืนผิวพิงหลังของส่วนหลังที่นั่งได้รับการสร้างขืนมาในโครงแบบในลักษณะที่ชันพืนผิวใน ส่วนหนึ่งที่ตรงคันคับอกของผู้นั่งนันอ่อนนุ่มกว่าชันพืนผิวของส่วนหนึ่งข้างใต้ส่วนหนึ่งที่ตรงคันคับ อก 1 9. ที่นั่งยานพาหนะตามข้อถือสิทธิข้อ 16 ถึง 18 ข้อใดข้อหนึ่ง ที่ซึ่ง หน้า 6 ของจำนวน 6 หน้า ในพื้นผิวพิงหลังของส่วนหลังที่นั่ง มุมเอียงของส่วนด้านบนจะใหญ่กว่ามุมเอียงของส่วน ด้านล่าง 2 0. วิธีการกำหนดตั้งความแข็งตึงสำหรับที่นั่งยานพาหนะที่รวมถึงเบาะรองนั่งและส่วนหลังที่นั่ง ซึ่งวิธีการประกอบรวมด้วย การกำหนดให้เบาะรองนั่งมีการกระจายความแข็งตึงในทิศทางแนวหน้าหลังในลักษณะที่ ส่วนด้านหน้าของเบาะรองนั่งได้รับการจัดให้มีบริเวณความแข็งตึงตํ่าซึ่งยืดหยุ่นตัวได้มากกว่าส่วน ด้านหลังของเบาะรองนั่งที่เป็นบริเวณความแข็งตึงสูง การกำหนด1ให้ส่วนหลังที่นั่งมีการกระจายความแข็งตึงที่มีลักษณะเฉพาะแรงปฏิกิริยาที่ ต่างกันในทิศทางแนวตังของส่วนหลังที่นั่งในลักษณะที่ว่าบริเวณความแข็งตึงตํ่าที่มีแรงปฏิกิริยา รองรับน้อยสำหรับผู้นั่งได้รับการกำหนดตังไว้ในส่วนกึ่งกลางในแนวตังของส่วนหลังที่นั่ง ในขณะที่ บริเวณความแข็งตึงสูงซึ่งแต่ละบริเวณมีแรงปฏิกิริยารองรับมากสำหรับผู้นั่งได้รับการกำหนดตั้งไว้ ใกล้กับบริเวณความแข็งตึงตํ่า ในส่วนด้านบนและด้านล่างของส่วนหลังที่นั่ง การทำให้พื้นผิวพิงหลังของส่วนหลังที่นั่งนั้นสามารถงอได้ในกึ่งกลาง ณ บริเวณความแข็งตึง ตํ่า ณ มุมงอที่กึ่งกลางต่างๆ ใดๆ โดยสอดคล้องตามโหลดบนที่พิงหลังของผู้นั่ง เมื่อพื้นผิวพิงหลังรับ หลังของผู้นั่งที่มาถึงหลังการเคลื่อนที่ไปด้านหลังบนบริเวณความแข็งตึงสูงของเบาะรองนั่ง การกำหนดตั้งบริเวณความแข็งตึงตํ่าของเบาะรองนั่งในลักษณะที่ว่าส่วนสัมผัสหลังด้นขา ส่วนล่างที่จะสัมผัสกับหลังด้นขาส่วนล่างของผู้นั่ง ส่วนสัมผัสหลังเข่าที่จะสัมผัสกับหลังเข่าของผู้นั่ง และส่วนสัมผัสหลังขาส่วนล่างที่จะสัมผัสกับหลังขาส่วนล่างของผู้นั่ง และ การกำหนดตังลักษณะเฉพาะแรงปฏิกิริยาของบริเวณความแข็งตึงตํ่าฃองเบาะรองนั่งใน ลักษณะที่แรงปฏิกิริยารองรับของส่วนสัมผัสหลังต้นขาส่วนล่าง ส่วนสัมผัสหลังเข่า และส่วนสัมผัส หลังขาส่วนล่างแด\'ละส่วนสอดคล้องเป็นจริงตามความสัมพันธ์ของ ส่วนสัมผัสหลังต้นขาส่วนล่าง > ส่วนสัมผัสหลังเข่า > ส่วนสัมผัสหลังขาส่วนล่าง ------------ Claims (all) which will not appear on the ad page :------22/02/2018------(OCR) Page 1 of 6 pages Claims 1. Vehicle seat comprising a seat cushion and seat back. wherein the seat cushion is designed to distribute stiffness in the front-back direction in The front of the cushion is arranged in a flexible, low-tension area. More than the back of the seat cushion which is an area of high stiffness. The seat back is configured to distribute stiffness with characteristic reaction force characteristics. differs in the vertical direction of the seat back in such a way that there is a low stiffness area with reaction forces. Less support for the occupant is provided in the vertical center of the seat back, while high stiffness zones, each with large reaction forces for the occupant, are provided. The setting is close to the low stiffness area. in the upper and lower parts of the seat back The backrest surface of the seat back is capable of flexing in the center in a region of low stiffness at any flexion angle in the center in accordance with the backrest load of the occupant and the region of stiffness. The low stiffness of a cushion is determined by its reaction force characteristics. Having a large reaction force for sitting loads applied from above. and low support reaction force For sitting loads exerted from the front 2. A vehicle seat comprising a seat cushion and a seat back, wherein the seat cushion is arranged to distribute stiffness in a front-back direction. The front of the cushion is arranged in a flexible, low-tension area. More than the back of the seat cushion which is an area of high stiffness. The seat back is configured to distribute stiffness with characteristic reaction force characteristics. differs in the vertical direction of the seat back in such a way that there is a low stiffness area with reaction forces. Less support for the occupant is provided in the vertical center section of the seat back, while high stiffness zones, each with high reactive forces for the occupant, are provided. Near the areas of low stiffness in the upper and lower parts of the seatback. The back surface of the seat back is capable of bending in the center, in a region of low stiffness, at any center bend in accordance with the load on the back of the occupant. Page 2 of 6 The stiffness of the seat cushion is set in the contact area behind the thighs. The lower part that will touch the back and lower legs of the person sitting. The part touching the back of the knee that will touch the back of the knee of the person sitting. and the contact area of the lower leg that will contact the back of the lower leg of the occupant and the reaction force characteristics of the low stiffness area of the seat cushion are set in Characteristics of the reaction force of the lower leg contact area The part touching the back of the knee and the touching part Each part of the lower leg corresponds to the relationship between the Contact with the back of the lower leg > Contact with the back of the knee > Contact with the back of the lower leg 3. The vehicle seat according to claim 2, wherein the low stiffness region of the seat cushion is defined to have the reaction force characteristics of Having a large reaction force for sitting loads applied from above. and low support reaction force For sitting loads exerted from the front 4. The vehicle seat according to claim 1 or 2, wherein the seat cushion is formed from at least two parts being a back and The front section including the front end of the section and the front section are formed from a unique soft pad material. That reaction force 5. The vehicle seat of claim 2, wherein the front portion of the seat cushion is made of a soft padding material wherein the Synonymous with the contact area behind the lower leg. The part touching the back of the knee and the contact area behind the lower leg has different spring constants 6. The vehicle seat of claim 5, wherein the soft padding material used in the portion corresponding to the contact area behind the lower leg includes the padding material. A number of soft pads are divided in the rear direction and the spring constant of the soft pad material arranged on the rear is set to be less. The spring constant of the soft pad material arranged on the front side. 7. The vehicle seat of claim 2, wherein the reaction force characteristics are made such that, page 3 of 6, the front portion of the seat cushion is made from a padding material. soft place with little spring constant than the soft padding material used in the back part of the seat cushion, and the division line where the soft padding material of the front and back parts of the seat cushion face. each other and touching each other along that line is projected from approximately the boundary between the dorsal thigh contacts. The lower part and the area touching the back of the knee are tilted downwards towards the back. 8. The vehicle seat of claim 2, wherein the reaction force characteristics are made such that The front of the seat cushion is made from a soft padding material with a low spring constant. than the soft padding material used on the back of the cushion. The load bearing member is provided with the front portion of the cushion frame member. The load carrying member extends upward in the low stiffness area and the thickness of the soft padding material in the front of the seat cushion is adjusted using Top and front sides of the load-carrying member 9. The vehicle seat of claim 2, wherein the reaction force characteristics are made such that The front of the seat cushion is made from a soft padding material with a low spring constant. than the soft padding material used on the back of the cushion. The load bearing member is provided with the front portion of the cushion frame member. in which the load bearing components extend upwards in areas of low stiffness The thickness of the soft padding material in the front of the seat cushion is adjusted using The top and front sides of the load member and a spring mechanism are provided with the front side of the load member. which the spring mechanism Can retract backward in response to sitting load applied from the front 1 0. The vehicle seat according to claim 2, wherein the cushion is made up of a single soft padding material and a hollow section is provided in the front portion of the soft padding material to form a pressure zone. Stiffness in the cushion and thus having characteristic reaction forces only in the low stiffness region 1 1. A vehicle seat comprising a seat cushion and a seat back in which Page 4 of 6 the seat cushion is provided to distribute the Stiff in the front-back direction. The front of the cushion is arranged in a flexible, low-tension area. More than the back of the seat cushion which is an area of high stiffness. The seat back is configured to distribute stiffness with characteristic reaction force characteristics. differs in the vertical direction of the seat back such that there is a low stiffness region with reaction forces. Less support for the occupant is provided in the vertical center section of the seat back, while high stiffness zones, which provide high reactive support for the occupant, are provided. close to the area of low stiffness in the upper and lower parts of the seat back The backrest surface of the seatback can be flexed in the center, in a region of low stiffness, at any center flexion angle in accordance with the load on the occupant's backrest. Beveled surfaces are provided at corners, areas where the seating surface of the cushion and the surface The back of the seat back is joined together. which the inclined surface is built into the configuration to support The occupant's hips and tilt surface are formed from flexible band-shaped members placed between The seating surface of the seat cushion and the back surface of the seat back portion cross the corner area 1 2. A vehicle seat comprising a seat cushion and seat back portion, wherein the seat cushion is designated. There is a distribution of stiffness in the front-back direction. The front of the cushion is arranged in a flexible, low-tension area. More than the back of the seat cushion which is an area of high stiffness. The seat back is configured to distribute stiffness with characteristic reaction force characteristics. differs in the vertical direction of the seat back in such a way that there is a low stiffness area with reaction forces. Less support for the occupant is provided in the vertical center section of the seat back, while high stiffness zones, each with high reactive forces for the occupant, are provided. close to the area of low stiffness in the upper and lower parts of the seat back The backrest surface of the seat back is capable of bending in the center, in a region of low stiffness, at any center bend angle in accordance with the load on the seat back. The seating surface of the seat cushion is set in such a way that the parts are close together in the seating surface. will differ in stiffness, coefficient of friction and shape by at least one value and Page 5 of 6 The seating surface of the cushion is constructed in such a way that The part in front of the most deformable part in the ride has a high coefficient of friction. The front-to-back sliding friction coefficient is lower than the front-to-back sliding friction coefficient, and the part behind the most deformed part has the sliding friction coefficient. 3. The vehicle seat according to claim 12, wherein the seating surface of the cushion is constructed in such a way that the surface skin on one part of the front The most deformed part of the seat is softer than the surface of the part behind the deformed part. Maximum shape 1 4. The vehicle seat of claim 12 or 13, wherein the seating surface of the seat cushion is formed such that the surface of the rear portion The greatest deformation of the seat is substantially horizontal. 1 5. The vehicle seat of claims 12 to 14, wherein the seating surface of the seat cushion is formed. in such a way that the surface of a part The front of the most deformed portion of the seat tilts downward towards the back. 1 6. The vehicle seat of claims 1 to 15, wherein the backrest surface of the seat back portion is defined. Set in such a way that the parts close together on the surface lean against The backs are different in stiffness, coefficient of friction, and shape by at least one value. 1 7. The vehicle seat of claim 16, wherein the backrest surface of the seat back is designated. Set in such a way that the coefficient of friction The coefficient of friction of the part directly above the occupant's chest is higher than the coefficient of friction of the part beneath it. one at the chest rod 1 8. The vehicle seat of claim 16 or 17, wherein the backrest surface of the seat back portion is configured in such a way that the inner surface is raised. The part on the chest of the occupant is softer than the surface of the part beneath the part on the chest of the occupant. 1 9. The vehicle seat of claims 16 to 18, any one of which. which is page 6 of 6 in the back surface of the seat back. The angle of inclination of the upper part is larger than the angle of inclination of the lower part by 2 0. Method for determining stiffness for vehicle seats including seat cushions and seatbacks. which method includes Specifying that the seat cushion has stiffness distributed in the front and back direction in such a way The front of the cushion has a low stiffness area that is more flexible than the front of the cushion. The back of the seat cushion is an area of high stiffness. Designation 1 gives the back of the seat a stiffness distribution that has a characteristic reaction force. differs in the vertical direction of the seat back in such a way that there is a low stiffness area with reaction forces. Less support for the occupant is provided in the vertical center section of the seat back, while high stiffness zones, each with high reactive forces for the occupant, are provided. close to the area of low stiffness in the upper and lower parts of the seat back Providing that the backrest surface of the seatback is able to flex in the center in a region of low stiffness at any center flexion angle in accordance with the load on the occupant's backrest. When the surface leans on the back The occupant's back arrives after moving backwards on the high-tension area of the seat cushion. Setting the area of low stiffness of the cushion in such a way that the contact area between the back and the legs The lower part that will touch the back and lower legs of the person sitting. The part touching the back of the knee that will touch the back of the knee of the person sitting. and the contact area behind the lower legs that will contact the back of the lower legs of the seater, and setting the reaction force characteristics of the low stiffness area of the seat cushion. Characteristics of the reaction force of the lower thigh contact area The part touching the back of the knee and the touching part Each part of the lower leg corresponds to the relationship of the Lower thigh contact > Back of knee contact > Lower leg contact ------------ 1. เบาะนั่งยานพาหนะที่ประกอบรวมด้วยเบาะรองนั่งและพนักพิงหลัง ที่ซึ่ง เบาะรองนั่งได้รับการกำหนดให้มีการกระจายความแข็งตึงในทิศทางแนวหน้าหลังใน ลักษณะที่ส่วนด้านหน้าของเบาะรองนั่งได้รับการจัดให้มีบริเวณความแข็งตึงต่ำซึ่งยืดหยุ่นตัวได้ มากกว่าส่วนด้านหลังของเบาะรองนั่งที่เป็นบริเวณความแข็งตึงสูง พนักพิงหลังได้รับการกำหนดให้มีการกระจายความแข็งตึงที่มีลักษณะเฉพาะแรงปฏิกิริยาที่ ต่างกันในทิศทางแนวตั้งของพนักพิงหลังในลักษณะที่ว่าบริเวณความแข็งตึงต่ำที่มีแรงปฏิกิริยารองรับ น้อยสำหรับผู้นั่งได้รับการกำหนดตั้งไว้ในส่วนกึ่งกลางในแนวตั้งของพนักพิงหลัง ในขณะที่บริเวณ ความแข็งตึงสูงซึ่งแต่ละบริเวณมีแรงปฏิกิริยารองรับมากสำหรับผู้นั่งได้รับการกำหนดตั้งไว้ใกล้กับ บริเวณความแข็งตึงต่ำในส่วนด้านบนและด้านล่างของพนักพิงหลัง และ พื้นผิวพิงหลังของพนักพิงหลังนั้นสามารถงอได้ในกึ่งกลาง ณ บริเวณความแข็งตึงต่ำ ณ มุม งอกึ่งกลางต่างๆ ใดๆ โดยสอดคล้องตามโหลดบนพนักพิงหลังของผู้นั่ง1. A vehicle seat comprising a seat cushion and a backrest, wherein the cushion is arranged to distribute stiffness in a front-back direction in The front of the cushion is provided with a flexible, low-tension area. More than the back of the seat cushion which is an area of high stiffness. The backrest is designed to have a unique stiffness distribution and reaction force characteristics. differs in the vertical direction of the backrest in such a way that there is a low stiffness area with a supporting reaction force. Less space for the occupant is set in the vertical center section of the seatback. while the area High stiffness, which provides a high level of reaction force for the occupant, is set close to the The low stiffness zones on the top and bottom of the seatback and the back surface of the seatback can be center-bent in the low-stiffness zone at any center bend angle in accordance with according to the load on the backrest of the occupant
TH1301001727A 2011-09-30 Vehicle seats and how to set stiffness for vehicle seats TH131174A (en)

Publications (3)

Publication Number Publication Date
TH131174B TH131174B (en) 2014-01-24
TH67709B TH67709B (en) 2014-01-24
TH131174A true TH131174A (en) 2014-01-24

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
US7445292B2 (en) Seat portion of a seat
JP5594366B2 (en) Vehicle seat and rigidity setting method for vehicle seat
JP2010505507A5 (en)
JP2021122746A5 (en)
US9050919B2 (en) Vehicle seat cushion
JP2009532158A5 (en)
KR20150018553A (en) Vehicle seat with a lumbar support
US10172464B2 (en) Chair
KR101690054B1 (en) Floating Seat Type Chair of Protecting Lumbar Spine
TWI676445B (en) Height adjusting structure for back rest of chair
TH131174A (en) Vehicle seats and how to set stiffness for vehicle seats
TH67709B (en) Vehicle seats and how to set stiffness for vehicle seats
CA2960301C (en) Chair
JP6000871B2 (en) Vehicle seat
JP4196744B2 (en) Vehicle seat
AU2015349590B2 (en) A seat cushion
JP3245958U (en) Chair
KR102273459B1 (en) tilting chair
KR101565576B1 (en) Seat of vehicle
KR102399313B1 (en) Chair
JP7212918B2 (en) Seating cushions and chair seats
JP3245175U (en) Chair
US20180199720A1 (en) Seat cushion
JP6198758B2 (en) sofa
JP2012075791A (en) Recliner chair