TH12098C3 - กระบวนการหมักเชื้อราแบบแข็งเพื่อผลิตกรดแกมม่าลิโนเลนิคโดยใช้วีแนส เป็นส่วนประกอบหลัก - Google Patents

กระบวนการหมักเชื้อราแบบแข็งเพื่อผลิตกรดแกมม่าลิโนเลนิคโดยใช้วีแนส เป็นส่วนประกอบหลัก

Info

Publication number
TH12098C3
TH12098C3 TH1503002225U TH1503002225U TH12098C3 TH 12098 C3 TH12098 C3 TH 12098C3 TH 1503002225 U TH1503002225 U TH 1503002225U TH 1503002225 U TH1503002225 U TH 1503002225U TH 12098 C3 TH12098 C3 TH 12098C3
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
mucor
vinasse
gamma linolenic
linolenic acid
fermentation process
Prior art date
Application number
TH1503002225U
Other languages
English (en)
Other versions
TH12098A3 (th
Inventor
กอบกุล เหล่าเท้ง นาง
ศริญญา สุทธิวัฒนกุล นางสาว
สมภพ บุญพยุง นาย
วรรณพ วิเศษสงวน นาย
ยินดี สุทธิสวาท นางสาว
Original Assignee
นางสาว อรุณศรี ศรีธนะอิทธิพล
นางสาว นัฏพร ชัยศักดิชาตรี
Filing date
Publication date
Application filed by นางสาว อรุณศรี ศรีธนะอิทธิพล, นางสาว นัฏพร ชัยศักดิชาตรี filed Critical นางสาว อรุณศรี ศรีธนะอิทธิพล
Publication of TH12098C3 publication Critical patent/TH12098C3/th
Publication of TH12098A3 publication Critical patent/TH12098A3/th

Links

Abstract

การประดิษฐ์นี้นำวีแนสที่ได้จากกระบวนการผลิตเอทานอลมาใช้ประโยชน์ โดยกระบวนการ หมักเชื้อราแบบแข็งเพื่อผลิตกรดแกมม่าลิโนเลนิคโดยใช้วิแนสเป็นส่วนประกอบหลักที่ประกอบด้วย ขั้นตอนการเตรียมกบ้าเชื้อในรูปละลายสปอร์ของเชื้อรา กระบวนการหมักเชื้อราที่ควบคุมความหนา ความชื้น และค่าความเป็นกรดด่างของอาหารเลี้ยงเชื้อ ปริมาณกล้าเชื้อ อุณหภูมิและระยะเวลาการ หมักที่เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของเชื้อราและการผลิตกรดแกมม่าลิโนเลนิคในปริมาณสูง กระบวนการนี้สามารถนำไปพัฒนาขยายขนาดการผลิตในระดับที่ใหญ่ขึ้น หรือในระดับอุตสาหกรรมได้ อย่างมีประสิทธิภาพ โดยผลิตภัณฑ์หมักที่มีกรดไขมันแกมม่าลิโนเลนิคเป็นองค์ประกอบนี้สามารถ นำไปใช้โดยตรงเป็นวัตถุดิบอาหารสัตว์ สารเสริมในอาหารสัตว์ หรือนำไปสกัดน้ำมันที่มีกรดไขมัน แกมม่าลิโนเลนิคเป็นองค์ประกอบ สำหรับใช้ในอุตสาหกรรมอาหารสัตว์และอาหารเสริม

Claims (2)

1. กระบวนการหมักเชื้อราแบบแข็งเพื่อผลิตกรดแกมม่าลิโนเลนิคโดยใช้วีแนสเป็นส่วนประกอบหลัก มีขั้นตอนดังนี้ ก. การเตรียมกล้าเชื้อในรูปสารละลายสปอร์ของเชื้อราโดยการเตรียมสปอร์ด้วยการเลี้ยงเชื้อราใน สูตรอาหารที่ประกอบด้วยข้าวขัดสีและน้ำ ที่อัตราส่วนร้อยละ 2:1 โดยน้ำหนักต่อปริมาตร ที่ผ่าน การฆ่าเชื้อด้วยความร้อน บ่มเพาะเลี้ยงที่อุณหภูมิ 22 ถึง 23 องศาเซลเซียส นาน 3 ถึง 6 วัน จากนั้นทำการเก็บเกี่ยวสปอร์โดยการชะด้วยสารละลายทวีนที่ความเข้มข้นร้อยละ 0.01 โดย ปริมาตร เขย่าและทำการแยกสปอร์ด้วยการกรอง สารละลายสปอร์ที่เตรียมได้จะถูกนำไปใช้เป็น กล้าเชื้อในการหมักแบบแข็ง ข. กระบวนการหมักเชื้อรา โดยการเตรียมอาหารแข็งที่มีวีแนสเป็นส่วนประกอบหลักให้มีความ หนาอยู่ในช่วง 2 ถึง 6 เชนติเมตร ปรับความชื้นของอาหารให้อยู่ในช่วงร้อยละ 50 ถึง 85 ค่าความ เป็นกรดด่างเริ่มต้นอยู่ในช่วง 3.0 ถึง 5.0 และเติมกล้าเชื้อสปอร์ปริมาณ 10 4 ถึง 10 6 สปอร์ต่อกรัม ของอาหารแข็งที่มีวิแนสเป็นส่วนประกอบหลัก ทำการบ่มเชื้อที่อุณหภูมิ 22 ถึง 32 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 3 ถึง 6 วัน ค. การเก็บเกี่ยวผลิตภัณฑ์หมัก นำตัวอย่างผลิตภัณฑ์หมักไปอบแห้งที่อุณหภูมิ 40 ถึง 70 องศา เซลเซียส เป็นเวลา 16 ถึง 24 ชั่วโมง
2. กระบวนการหมักเชื้อราแบบแข็งเพื่อผลิกรดแกมม่าลิโนเลนิคโดยใช้วีแนสเป็นส่วนประกอบหลัก ในข้อถือสิทธิที่ 1 ที่ซึ่ง เชื้อรา ดังกล่าวได้แก่เชื้อราในคราส Zygomycetes ออเดอร์ Mucorales ซึ่งเลือกได้จากชนิด Mucor cirxinlloides BCC34222, Mucor rouxii, Mucor isabellina, Mucor hiemalis, Mucor iusitanicus, Mucor javanicus, Mucor recuves, Mucor sp., Cunninghamella sp., Thamnidium sp., Absidia sp., Rhizopus s p. หรือ Mortierella s p. ซึ่งเชื้อราที่เหมาะสมที่สุด ได้แก่ Mucor cirxinlloides BCC34222
TH1503002225U 2015-12-29 กระบวนการหมักเชื้อราแบบแข็งเพื่อผลิตกรดแกมม่าลิโนเลนิคโดยใช้วีแนส เป็นส่วนประกอบหลัก TH12098A3 (th)

Publications (2)

Publication Number Publication Date
TH12098C3 true TH12098C3 (th) 2016-11-04
TH12098A3 TH12098A3 (th) 2016-11-04

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
MX2017000117A (es) Alimento para insectos.
WO2019046782A3 (en) Food product compositions and methods for producing the same
KR20160101307A (ko) 대두 침지수를 발효하여 제조하는 양액, 비료 또는 사료용 발효물 제조방법
Garuba et al. Influence of substrates on the nutritional quality of Pleurotus pulmonarius and Pleurotus ostreatus
Malomo et al. The use of brewer’s spent grains in the cultivation of some fungal isolates
TH12098C3 (th) กระบวนการหมักเชื้อราแบบแข็งเพื่อผลิตกรดแกมม่าลิโนเลนิคโดยใช้วีแนส เป็นส่วนประกอบหลัก
TH12098A3 (th) กระบวนการหมักเชื้อราแบบแข็งเพื่อผลิตกรดแกมม่าลิโนเลนิคโดยใช้วีแนส เป็นส่วนประกอบหลัก
CN113564094B (zh) 一种提高桑黄胞内多酚积累量的方法
CN104341236A (zh) 甘蔗渣作为平菇栽培基质的配制方法和使用
CN104774049A (zh) 一种农作物用有机肥料
RU2019116861A (ru) Корм и способ его получения
KR101534391B1 (ko) 사과 재배용 퇴비형 영양제 및 그 제조방법
Gregori et al. Growth characteristics and ergosterol content of Grifola frondosa in various solid-state substrates
KR101869845B1 (ko) 식약용 곤충의 성충 또는 유충 발효사료 조성물
CN101880592A (zh) 棕尾别麻蝇蛆作为油料昆虫的应用
JP3871687B2 (ja) 発芽玄米麹のγ−アミノ酪酸富化方法
KR101485245B1 (ko) 사과 재배용 액상 영양제 및 그 제조방법
KR20160113927A (ko) 콩 가공식품의 부산물을 이용하여 얻는 가축사료의 제조방법
Angelescu et al. Productivity and biological efficiency of Pleurotus eryngii MMIV cultivation at laboratory level
RU2670526C2 (ru) Способ получения белковой кормовой биомассы
JP6062345B2 (ja) きのこ栽培用培地
CN104803718A (zh) 一种农作物专用肥料
KR20160137757A (ko) 라이조푸스 올리고스포러스 kccm 11232p 배양물을 포함하는 인과류 식물 생장 촉진용 조성물
KR20130048737A (ko) 사과박 성분을 함유하는 버섯 균사체 배지 조성물 및 그 배양 방법 및 그로부터 라카아제 생산방법
CN104429606A (zh) 一种杏鲍菇的培养方法