TH11814B - กระบวนการและอุปกรณ์สำหรับการต่อท่อเรซิน - Google Patents

กระบวนการและอุปกรณ์สำหรับการต่อท่อเรซิน

Info

Publication number
TH11814B
TH11814B TH9401001837A TH9401001837A TH11814B TH 11814 B TH11814 B TH 11814B TH 9401001837 A TH9401001837 A TH 9401001837A TH 9401001837 A TH9401001837 A TH 9401001837A TH 11814 B TH11814 B TH 11814B
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
resin
welding
heating
tubes
cylindrical
Prior art date
Application number
TH9401001837A
Other languages
English (en)
Other versions
TH22536EX (th
TH22536A (th
Inventor
มัตซึโอกะ นายโคอิชิ
ยามาชิตะ นายทาเคฮิโร
อาคาบาเนะ นายอัตสึชิ
อิกูชิ นายอัตสึชิ
Original Assignee
นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์
นายดำเนิน การเด่น
นายดำเนิน การเด่น นายต่อพงศ์ โทณะวณิก นายวิรัช ศรีเอนกราธา นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์
นายต่อพงศ์ โทณะวณิก
นายวิรัช ศรีเอนกราธา
Filing date
Publication date
Application filed by นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์, นายดำเนิน การเด่น, นายดำเนิน การเด่น นายต่อพงศ์ โทณะวณิก นายวิรัช ศรีเอนกราธา นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์, นายต่อพงศ์ โทณะวณิก, นายวิรัช ศรีเอนกราธา filed Critical นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์
Publication of TH22536EX publication Critical patent/TH22536EX/th
Publication of TH22536A publication Critical patent/TH22536A/th
Publication of TH11814B publication Critical patent/TH11814B/th

Links

Abstract

เมื่อทำการต่อท่อเรซินโดยใช้วิธีเหนี่ยวนำให้เกิดความร้อน โดยอาศัยกระบวนการที่ได้นำ เสนอในการประดิษฐ์นี้ ท่อเรซินจะไม่เกิดการบวมพองขึ้นภายในเนื่องจากการขยายตัวของอา กาศและเรซินในระหว่างการให้ความร้อน อุปกรณ์ให้ความร้อนทรงกระบอก 2 ซึ่งทำขึ้นจากเหล็ก กล้าไร้สนิมจะถูกจัดวางในตำแหน่งที่อยู่รอบๆรอยต่อระหว่างท่อสองท่อ (1a,1b) ซึ่งทำขึ้น จากพอลีไวนิลลิดีนฟลูออไรด์ อุปกรณ์ให้ความร้อน 2 นี้จะถูกทำให้ร้อนโดยอาศัยการเหนี่ยวนำเพื่อ ทำการเชื่อมรอยต่อระหว่างท่อ 1a และ 1b เข้าด้วยกัน อุปกรณ์ให้ความร้อน 2 นี้จะมีรู 2a อยู่ด้วยกันหลายรูเพื่อให้อากาศและเรซินที่หลอมเหลวที่อยู่ระหว่างอุปกรณ์ให้ความร้อน 2 และท่อ เรซิน1a และ 1b สามารถไหลออกมาทางรู 2a นี้ได้

Claims (9)

1. กระบวนการของการต่อท่อเรซิน ซึ่งประกอบด้วยขั้นตอนของ (a) การสัมผัสท่อเรซินสองท่อที่จัดวางปลายถึงปลายที่จะเชื่อมต่อเพื่อเกิดพื้นที่ของการ สัมผัส (b) การจัดตำแหน่งอุปกรณ์ให้ความร้อนโลหะทรงกระบอกตามพื้นที่ที่สัมผัสระหว่างท่อ เรซินดังกล่าว ซึ่งอย่างน้อยสารหนึ่งของอุปกรณ์ให้ความร้อนดังกล่าวถูกเลือกจากหมู่ที่ประกอบ ด้วยเหล็กกล้าไร้สนิม ทองเหลือง และอะลูมินัม และอุปกรณ์ให้ความร้อนดังกล่าวมีความยาวแกน จากประมาณ 1/4 ถึง2/3 ของเส้นผ่าศูนย์กลางโนมินัลของท่อเรซินดังกล่าว (c) การล้อมอุปกรณ์ให้ความร้อนดังกล่าวด้วยขดลวด การเชื่อมตัวคาร์พาซิเตอร์ เรโซแนนซ์ และขดลวดทุติยภูมิของหม้อแปลงเอาท์พุทแบบซีเรียล ระหว่างปลายทั้งสองข้าง ของขดลวดดังกล่าว การเชื่อมขดลวดปฐมภูมิของหม้อแปลงเอาท์พุทอีกตัวหนึ่งกับอินเวอร์เตอร์ ซึ่งแปลงกำลังไฟฟ้าตรงจากแหล่งไฟฟ้าเป็นกำลังไฟฟ้าสลับด้วยความต่างศักย์ และความถี่ที่ กำหนดไว้ก่อน และการเชื่อมอินเวอร์เตอร์ดังกล่าวไปยังแหล่งไฟฟ้าดังกล่าว โดยที่อุปกรณ์ให้ความร้อนดังกล่าวถูกกระตุ้นโดยกระแสไฟฟ้าความถี่ที่สูงให้ความร้อน อุปกรณ์ให้ความร้อนดังกล่าวโดยให้ความร้อนแบบเหนี่ยวนำและรอยต่อดังกล่าวระหว่างท่อเรซิน ดังกล่าวถูกเชื่อมเข้าด้วยกัน (d) การกระตุ้นอุปกรณ์ให้ความร้อนดังกล่าวด้วยกระแสไฟฟ้าความถี่สูงให้ความร้อน แก่อุปกรณ์ให้ความร้อนดังกล่าวโดยการให้ความร้อนแบบเหนี่ยวนำโดยการสัมผัสดังกล่าว ระหว่างท่อเซินดังกล่าวถูกเชื่อมเข้าด้วยกัน และขณะเดียวกัน อุปกรณ์ให้ความร้อนโลหะทรง กระบอกดังกล่าวถูกยึดกับผิวภายนอกของท่อเรซินดังกล่าว
2. กระบวนการของการเชื่อมท่อเรซินตามข้อถือสิทธิข้อที่ 1,ซึ่งอุปกรณ์ให้ความร้อนดัง กล่าวประกอบด้วยรูหลายรูที่จัดวางในผิวทรงกระบอกในทิศทางของความหนา
3. กระบวนการของการเชื่อมท่อเรซินตามข้อถือสิทธิข้อที่ 2,ซึ่งเส้นผ่านศูนย์กลางของรู หลายรูดังกล่าวแต่ละรูซึ่งจัดวางในผิวทรงกระบอกดังกล่าวมีช่วงจาก 0.1 มม. ถึง 5 มม.
4. กระบวนการของการเชื่อมท่อเรซินตามข้อถือสิทธิข้อที่ 2,ซึ่งรูหลายรูดังกล่าวจัดวาง ในหลายแถวและรูดังกล่าวแต่ละรูในแถวดังกล่าวแต่ละแถวจัดวางในระยะที่เท่ากัน
5. กระบวนการของการเชื่อมท่อเรซินตามข้อถือสิทธิข้อที่ 1หรือ 2, ซึ่งเส้นผ่านศูนย์ กลางภายในของอุปกรณ์ให้ความร้อนดังกล่าวมีค่าความคลาดเคลื่อน (tolerance) ของเส้นผ่าน ศูนย์กลางที่มากกว่าเส้นผ่านศูนย์กลางภายนอกของท่อเรซินดังกล่าว และอุปกรณ์ให้ความร้อน ดังกล่าวถูกให้ความร้อนบริเวณใกล้กับท่อเรซินดังกล่าว
6. กระบวนการของการเชื่อมท่อเรซินตามข้อถือสิทธิข้อที่ 1 หรือ 2, ซึ่งอุปกรณ์ให้ความ ร้อนดังกล่าวมีรูปร่างทรงกระบอกที่เกิดจากการเชื่อมปลายของเพลทเข้าด้วยกัน
7. กระบวนการของการเชื่อมท่อเรซินตามข้อถือสิทธิข้อที่ 4,ซึ่งเพลทดังกล่าวทำด้วย เหล็กกล้าไร้สนิม
8. กระบวนการของการเชื่อมท่อเรซินตามข้อถือสิทธิข้อที่ 1หรือ 2, ซึ่งที่ปิด (stoppers) ทรงกระบอกซึ่งประกอบด้วยสารที่มีสมบัติต้านทานความร้อนและเป็นฉนวนไฟฟ้า ถูกติดอยู่รอบท่อเรซินดังกล่าวบนทั้งสองด้านของอุปกรณ์ให้ความร้อนดังกล่าว
9. กระบวนการของการเชื่อมท่อเรซินตามข้อถือสิทธิข้อที่ 8,ซึ่งสารสำหรับที่ปิดทรง กระบอกดังกล่าวคือ จากหมู่ที่ประกอบด้วยเรซินฟีนอลิก เรซินอิพอกซิ เรซินพอลิเอสเทอร์ที่ไม่ อิ่มตัวและเรซินไดอัลลิลฟธาเลท 1
0. กระบวนการของการเชื่อมท่อเรซินตามข้อถือสิทธิข้อที่ 1 หรือ 2, ซึ่งอุปกรณ์ให้ ความร้อนทรงกระบอกดังกล่าวถูกจัดวางอยู่รอบท่อเรซินแต่ละท่อในสภาพที่มีช่องว่างตรงท่อเรซิน ซึ่งมีช่วงจาก 0.1 ถึง 10 มม. 1
1. อุปกรณ์สำหรับเชื่อมท่อเรซิน อุปกรณ์ดังกล่าวซึ่งประกอบด้วย อุปกรณ์ให้ความร้อนโลหะทรงกระบอกซึ่งจัดวางอยู่รอบพื้นที่สัมผัสระหว่างท่อเรซินสอง ท่อที่เชื่อมกันปลายถึงปลายโดยที่อุปกรณ์ให้ความร้อนดังกล่าวประกอบด้วยอย่างน้อยสารหนึ่งที่ เลือกจากหมู่ซึ่งประกอบด้วยเหล็กกล้าไร้สนิม ทองเหลืองและอะลูมินัมและอุปกรณ์ให้ความร้อน ดังกล่าวมีความยาวแกนจากประมาณ 1/4 ถึง 2/3 ของเส้นผ่านศูนย์กลางโนมินัลของ ท่อเรซินดังกล่าว ขดลวดที่ล้อมอุปกรณ์ให้ความร้อนดังกล่าว และ คาร์พาซิเตอร์โรเซแนนซ์ และขดลวดทุติยภูมิของหม้อแปลงเอาท์พุท ซึ่งเชื่อมต่อแบบ ซีเรียล ระหว่างปลายทั้งสองของขดลวดดังกล่าว ขดลวดปฐมภูมิของหม้อแปลงเอาท์พุทอีกตัวหนึ่งซึ่งเชื่อมกับอินเวอร์เตอร์ซึ่งแปลงกำลังไฟฟ้า ตรงจากแหล่งไฟฟ้าเป็นกำลังไฟฟ้าสลับที่มีความต่างศักย์และความถี่ที่กำหนดไว้ก่อนโดยที่ อินเวอร์เตอร์ดังกล่าวและแหล่งไฟฟ้าดังกล่าวเชื่อมต่อกัน เจเนอเรเตอร์กระแสไฟฟ้าความถี่สูง สำหรับกระตุ้นกระแสไฟฟ้าความถี่สูงเข้าในขดลวด ดังกล่าว เพื่อให้ความร้อนแก่อุปกรณ์ให้ความร้อนดังกล่าวโดยให้ความร้อนแบบเหนี่ยวนำ โดยที่ พื้นที่สัมผัสดังกล่าวระหว่างเรซินดังกล่าวถูกเชื่อมเข้าด้วยกัน และสำหรับการยึดอุปกรณ์ให้ ความร้อนโลหะดังกล่าวในขณะเดียวกันเข้ากับผิวภายนอกของท่อเรซินดังกล่าว 1
2. อุปกรณ์ของการเชื่อมท่อเรซินตามข้อถือสิทธิข้อที่ 11 ซึ่งอุปกรณ์ให้ความร้อน ดังกล่าวยังประกอบด้วยรูหลายรูที่จัดวางในเพลทโลหะทรงกระบอกในทิศทางของความหนาของ เพลทดังกล่าว 1
3. อุปกรณ์ของการเชื่อมท่อเรซินตามข้อถือสิทธิข้อที่ 12 ซึ่งรูหลายรูดังกล่าวถูกจัด วางในหลายแถวและรูดังกล่าวแต่ละรูในแถวดังกล่าวแต่ละแถวถูกจัดวางที่ระยะห่างเท่ากัน 1
4. อุปกรณ์ของการเชื่อมท่อเรซินตามข้อถือสิทธิข้อที่ 12 ซึ่งเพลทดังกล่าวทำด้วย เหล็กกล้าไร้สนิม 1
5. อุปกรณ์ของการเชื่อมท่อเรซินตามข้อถือสิทธิข้อที่ 13 หรือ 14, ซึ่งเส้นผ่าน ศูนย์กลางภายในของอุปกรณ์ให้ความร้อนดังกล่าวมีความคลาดเคลื่อนของเส้นผ่านศูนย์กลางที่ มากกว่าเส้นผ่านศูนย์กลางภายนอกของท่อเรซินดังกล่าว และอุปกรณ์ให้ความร้อนดังกล่าวถูกให้ ความร้อนในบริเวณใกล้กับท่อเรซินดังกล่าว 1
6. อุปกรณ์ของการเชื่อมท่อเรซินตามข้อถือสิทธิข้อที่ 13, ซึ่งอุปกรณ์ให้ความร้อน ดังกล่าวมีรูปร่างทรงกระบอกที่เกิดโดยการเชื่อมปลายของเพลทเข้าด้วยกัน 1
7. อุปกรณ์ของการเชื่อมท่อเรซินตามข้อถือสิทธิข้อที่ 16, ซึ่งเส้นผ่านศูนย์กลาง ของรูหลายรูดังกล่าวแต่ละรู ซึ่งถูกจัดวางในผิวทรงกระบอกดังกล่าวมีช่วงจาก 0.1 มม. ถึง 5 มม. 1
8. อุปกรณ์ของการเชื่อมท่อเรซินตามข้อถือสิทธิข้อที่ 11หรือ 12, ซึ่งที่ปิด (stoppers) ทรงกระบอกซึ่งประกอบด้วยสารที่มีสมบัติต้านทานความร้อนและเป็นฉนวนไฟฟ้า ถูกติดอยู่รอบท่อเรซินดังกล่าวบนทั้งสองด้านของอุปกรณ์ให้ความร้อนดังกล่าว 1
9. อุปกรณ์ของการเชื่อมท่อเรซินตามข้อถือสิทธิข้อที่ 18, ซึ่งสารสำหรับที่ปิด ทรงกระบอกดังกล่าวคือ จากหมู่ที่ประกอบด้วยเรซินฟินอลิก เรซินอิพอกซิ เรซินพอลิเอสเทอร์ ที่ไม่อิ่มตัวและเรซินไดอัลคิลฟธาเลท 2
0. อุปกรณ์ของการเชื่อมท่อเรซินตามข้อถือสิทธิข้อที่ 11 หรือ 12, ซึ่งอุปกรณ์ให้ ความร้อนทรงกระบอกดังกล่าวถูกจัดวางอยู่รอบท่อเรซินแต่ละท่อในสภาพที่มีช่องว่างตรงท่อเรซิน ซึ่งมีช่วงจาก 0.1 ถึง 10 มม.
TH9401001837A 1994-08-31 กระบวนการและอุปกรณ์สำหรับการต่อท่อเรซิน TH11814B (th)

Publications (3)

Publication Number Publication Date
TH22536EX TH22536EX (th) 1996-12-24
TH22536A TH22536A (th) 1996-12-24
TH11814B true TH11814B (th) 2002-01-30

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
CA2129400C (en) Method and apparatus for connecting resin pipes
US5523546A (en) Apparatus and method of inductively heating a workpiece with a slender bone
US20040089655A1 (en) Localized stress relief by induction heating
JP2010071624A (ja) 流体加熱装置
AU738294B2 (en) High frequency induction fusing
WO2018096718A1 (ja) 電磁誘導加熱装置
EP0240732A3 (en) Process for butt-welding plastic pipes, and welding element therefor
TH11814B (th) กระบวนการและอุปกรณ์สำหรับการต่อท่อเรซิน
US6166359A (en) Induction heating apparatus and method for pipeline welding operations
TH22536A (th) กระบวนการและอุปกรณ์สำหรับการต่อท่อเรซิน
JP3694364B2 (ja) 誘導加熱拡散接合方法
US4331854A (en) Low frequency induction heater
JP3694365B2 (ja) 誘導加熱拡散接合方法
EP0080576B1 (en) Heating apparatus for brazing
ES2144187T3 (es) Generador de induccion para calentar tubos metalicos con un proceso continuo en una atmosfera controlada.
JP4187635B2 (ja) 高周波誘導加熱コイル
JPH07142268A (ja) 高周波誘導加熱変圧器
GB2130058A (en) Induction fluid heating apparatus
RU2217310C2 (ru) Ручной позисторный трубосварник смыслова
JPS6253912B2 (th)
SU1177004A1 (ru) Устройство дл формообразовани полых деталей с нагревом
JP2022028893A (ja) 誘導加熱コイル
SU1488265A1 (ru) Способ соединения стеклянных труб
SU1029428A1 (ru) Гибкий водоохлаждаемый индуктор
GB2281809A (en) Process and apparatus for cutting up by induction elements of a nuclear installation