TH10090A3 - "กรรมวิธีการตรวจหาเชื้อ ลิสทีเรีย โมโนไซโตจิเนส ด้วยวิธีแอนติบอดีอะเรย์โดยใช้แอนติบอดีที่ติดฉลากด้วยเอนไซม์ที่ห่อหุ้มด้วยลิโปโซม เป็นตัวรายงานผลซึ่งสัญญาณของผลสามารถอ่านได้ด้วยตาเปล่า" - Google Patents

"กรรมวิธีการตรวจหาเชื้อ ลิสทีเรีย โมโนไซโตจิเนส ด้วยวิธีแอนติบอดีอะเรย์โดยใช้แอนติบอดีที่ติดฉลากด้วยเอนไซม์ที่ห่อหุ้มด้วยลิโปโซม เป็นตัวรายงานผลซึ่งสัญญาณของผลสามารถอ่านได้ด้วยตาเปล่า"

Info

Publication number
TH10090A3
TH10090A3 TH1103000847U TH1103000847U TH10090A3 TH 10090 A3 TH10090 A3 TH 10090A3 TH 1103000847 U TH1103000847 U TH 1103000847U TH 1103000847 U TH1103000847 U TH 1103000847U TH 10090 A3 TH10090 A3 TH 10090A3
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
listeria
monocytogenase
antibody
slides
liposome
Prior art date
Application number
TH1103000847U
Other languages
English (en)
Other versions
TH10090C3 (th
Inventor
การุณอุทัยศิริ นางสาวนิศรา
รักษ์ตานนท์ชัย นางอุรชา
หนูชูเชื้อ นางสาวอรอนงค์
เฉลิมโรจน์ นายรัฐพล
ภัทรกานต์กุล นางสาวฐิติพร
Original Assignee
นางสาวอรุณศรี ศรีธนะอิทธิพล
นายชาญชัย นีรพัฒนกุล
นางทิพวรรณ รัตนกิจ
Filing date
Publication date
Application filed by นางสาวอรุณศรี ศรีธนะอิทธิพล, นายชาญชัย นีรพัฒนกุล, นางทิพวรรณ รัตนกิจ filed Critical นางสาวอรุณศรี ศรีธนะอิทธิพล
Publication of TH10090C3 publication Critical patent/TH10090C3/th
Publication of TH10090A3 publication Critical patent/TH10090A3/th

Links

Abstract

DC60 (13/06/56) การประดิษฐ์นี้ได้พัฒนากรรมวิธีการตรวจหาเชื้อ ลิสทีเรีย โมโนไซโตจิเนส ด้วยวิธีแอนติบอดีอะเรย์ที่ สามารถอ่านสัญญาณผลได้ด้วยตาเปล่า ซึ่งเป็นทางเลือกหนึ่งในการตรวจเชื้อ ลิสทีเรีย โมโนไซโตจิเนส แบบ หลายตัวอย่างได้ในครั้งเดียว โดยได้ทำการปรับขยายสัญญาณตัวรายงานผลด้วยการติดฉลากแอนติบอดีด้วย ลิโปโซมที่ห่อหุ้มเอนไซม์ฮอร์สแรดีสเปอร์ออกซิเดส เพื่อใช้ในขั้นตอนการตรวจสัญญาณจุดของแอนติบอดี อะเรย์ ซึ่งการประดิษฐ์นี้สามารถขยายสัญญาณได้มากขึ้นจนกระทั่งสามารถมองเห็นสัญญาณผลได้ด้วยตาเปล่า ซึ่งจากเดิมการทำแอนติบอดีอะเรย์ต้องอ่านด้วยเครื่องเท่านั้น จึงช่วยให้การใช้เทคนิคแอนติบอดีอะเรย์ในการ ตรวจหาเชื้อลิสทีเรีย โมโนไซโตจิเนส สะดวกและรวดเร็วขึ้น รวมทั้งราคาถูกลง และยังสามารถทำการตรวจ นอกสถานที่ได้ การประดิษฐ์นี้ได้พัฒนากรรมวิธีการตรวจหาเชื้อ ลิสทีเรีย โมโนไซโตจิเนส ด้วยวิธีแอนติบอดีอะเรย์ที่ สามารถอ่านสัญญาณผลได้ด้วยตาเปล่า ซึ่งเป็นทางเลือกหนึ่งในการตรวจเชื้อ ลิสทีเรีย โมโนไซโตจิเนส แบบ หลายตัวอย่างได้ในครั้งเดียว โดยได้ทำการปรับขยายสัญญาณตัวรายงานผลด้วยการติดฉลากแอนติบอดีด้วย ลิโปโซมที่ห่อหุ้มเอนไซม์ฮอร์สแรดีสเปอร์ออกซิเดส เพื่อใช้ในขั้นตอนการตรวจสัญญาณจุดของแอนติบอดี อะเรย์ ซึ่งการประดิษฐ์นี้สามารถขยายสัญญาณได้มากขึ้นจนกระทั่งสามารถมองเห็นสัญญาณผลได้ด้วยตาเปล่า ซึ่งจากเดิมการทำแอนติบอดีอะเรย์ต้องอ่านด้วยเครื่องเท่านั้น จึงช่วยให้การใช้เทคนิคแอนติบอดีอะเรย์ในการ ตรวจหาเชื้อลิสทีเรีย โมโนไซโตจิเนส สะดวกและรวดเร็วขึ้น รวมทั้งราคาถูกลง และยังสามารถทำการตรวจ นอกสถานที่ได้

Claims (6)

1. กรรมวิธีการตรวจหาเชื้อ ลิสทีเรีย โมโนไซโตจิเนส ด้วยวิธีแอนติบอดีอะเรย์ที่สามารถอ่านสัญญาณของ ผลได้ด้วยตาเปล่า ที่มีลักษณะเฉพาะคือ มีการใช้แอนติบอดีทุติยภูมิที่จำเพาะต่อเชื้อ ลิสทีเรีย โมโนไซโต จิเนส ซึ่งติดฉลากด้วยลิโปโซมที่ห่อหุ้มเอนไซม์ฮอร์สแรดีสเปอร์ออกซิเดสเป็นตัวรายงานผลสัญญาณการ จับกันระหว่างเชื้อ ลิสทีเรีย โมโนไซโตจิเนส ในตัวอย่างกับแอนติบอดีปฐมภูมิที่จำเพาะต่อเชื้อ ลิสทีเรีย โมโนไซโตจิเนส ซึ่งติดอยู่บนวัสดุรองรับ
2. กรรมวิธีการตรวจหาเชื้อ ลิสทีเรีย โมโนไซโตจิเนส ตามข้อถือสิทธิ 1 ที่ซึ่งกรรมวิธีมีขั้นตอนดังนี้ (1) การตรึงแอนติบอดีปฐมภูมิบนวัสดุรองรับ (spotting) ; นำแอนติบอดีปฐมภูมิที่จำเพาะต่อเชื้อ ลิสทีเรีย โมโนไซโตจิเนส ละลายในบัฟเฟอร์ที่เหมาะสมสำหรับตรึงแอนติบอดีปฐมภูมิ ได้แก่ ฟอสเฟตบัฟเฟอร์ (phosphate buffered saline, PBS) พีเอช 7.2 จากนั้นจุด (spot) ลงบนแผ่นสไลด์ที่เคลือบด้วยพอลิ-แอล- ไลซีน (poly-L-lysine) หรือสารเคลือบชนิดอื่น ด้วยเครื่องพิมพ์ไมโครอะเรย์อัตโมมัติ นำไปเก็บใน ตู้ควบคุมความชื้นที่ 30-35 เปอร์เซ็นต์ อุณภูมิ 23-25 องศาเซลเซียส เป็นเวลาประมาณ 12-16 ชั่วโมง (2) การป้องกันปฏิกิริยาที่ไม่จำเพาะเจาะจง (blocking) ; โดยการเติมสารละลายบัฟเฟอร์ที่เหมาะสม สำหรับการป้องกันปฏิกิริยาที่ไม่จำเพาะเจาะจงลงบนพื้นแผ่นสไลด์ ได้แก่ สารละลายบัฟเฟอร์ 3 เปอร์เซ็นต์ นมผงขาดมันเนย (skim milk) ในบัฟเฟอร์พีบีเอส (สารละลายป้องกันปฏิกิริยาที่ไม่จำเพาะ เจาะจง, blocking solution) ลงบนพื้นแผ่นสไลด์ วางไว้ที่อุณหภูมิห้องเป็นเวลาอย่างน้อย 15 นาที (3) การล้างแผ่นสไลด์ (washing) ; ล้างแผ่นสไลด์ด้วยสารละลายบัฟเฟอร์ที่เหมาะสมสำหรับการล้าง ได้แก่ ฟอสเฟตบัฟเฟอร์ ที่มีทวีน 20 (Tween20) อยู่ที่ 0.05 เปอร์เซ็นต์ จำนวน 3 ครั้งๆ ละ 3-5 นาที โดยเขย่า เบาๆ และถ้าต้องการเก็บแผ่นสไลด์ไว้ทดสอบทำได้โดยนำแผ่นสไลด์ไปทำให้แห้งและเก็บไว้ใน อุณหภูมิ 4 องศาเซลเซียส สามารถเก็บได้เป็นระยะเวลาอย่างน้อย 2 เดือน (4) การใส่สารละลายตัวอย่างที่ต้องการตรวจสอบการปนเปื้อนของเชื้อ ลิสทีเรีย โมโนไซโตจิเนส ; โดยใส่ สารละลายตัวอย่างที่ละลายอยู่ใน 1 เปอร์เซ็นต์ นมผงขาดมันเนย ปริมาตร 20 ไมโครลิตร ทั้งไว้ที่ อุณหภูมิห้องเป็นเวลาอย่างน้อย 15 นาที (5) การล้างแผ่นสไลด์ (washing) ; ล้างแผ่นสไลด์ด้วยสารละลายบัฟเฟอร์ที่เหมาะสมสำหรับการล้าง ได้แก่ สารละลายฟอสเฟตบัฟเฟอร์ที่มีทวีน 20 อยู่ 0.05 เปอร์เซ็นต์ จำนวน 3 ครั้งๆ ละ 3-5 นาที โดย เขย่าเบาๆ (6) การตรวจหาการจับกันระหว่างเชื้อ ลิสทีเรีย โมโนไซโตจิเนส ในตัวอย่างกับแอนติบอดีปฐมภูมิ ; โดยใส่ แอนติบอดีทุติยภูมิที่จำเพาะต่อเชื้อ ลิสทีเรีย โมโนไซโตจิเนส ที่ติดฉลากด้วยลิโปโซมที่ห่อหุ้มเอนไซม์ ฮอร์สแรดีสเปอร์ออกซิเดส ซึ่งละลายใน 1 เปอร์เซ็นต์ นมผงขาดมันเนย ปริมาตร 20 ไมโครลิตร ทิ้งไว้ ที่อุณหภูมิห้องเป็นเวลาอย่างน้อย 15 นาที (7) การล้างแผ่นสไลด์ (washing) ; ล้างแผ่นสไลด์ด้วยสารละลายบัฟเฟอร์ที่เหมาะสมสำหรับการล้าง ได้แก่ สารละลายฟอสเฟตบัฟเฟอร์ที่มีทวีน 20 อยู่ 0.05 เปอร์เซ็นต์ จำนวน 3 ครั้งๆ ละ 3-5 นาที และ สารละลายฟอสเฟตบัฟเฟอร์ที่ไม่มีทวีน 20 จำนวน 1 ครั้งๆ ละ 3-5 นาที โดยเขย่าเบาๆ (8) การตรวจผลสัญญาณจับกันระหว่างแอนติบอดีทุติยภูมิกับเชื้อ ลิสทีเรีย โมโนไซโตจิเนส ด้วย สับสเตรทที่จำเพาะต่อเอนไซม์ฮอร์สแรดีสเปอร์ออกซิเดส ; โดยเติมสารละลาย 4-คลอโร-1-แนฟทอล (4-คลอโร-1-แนฟทอลที่มีความเข้มข้น 0.5 มิลลิกรัมต่อมิลลิลิตร ไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ปริมาณ 0.0015 เปอร์เซนต์ และเมทานอลปริมาณ 17 เปอร์เซนต์) เพื่อเป็นสับสเตรท ด้วยระยะเวลา 15 นาที (9) การอ่านผลสัญญาณ; โดยติดตามการเกิดตะกอนสีดำเทาบนผิวไลด์ ได้ด้วยตาเปล่า
3. กรรมวิธีการตรวจหาเชื้อ ลิสทีเรีย โมโนไซโตจิเนส ตามข้อถือสิทธิ 1 หรือ 2 ที่ซึ่งลิโปโซมที่ห่อหุ้มเอนไซม์ ฮอร์สแรดีสเปอร์ออกซิเดส เลือกได้จากลิโปโซมในรูปแบบ LMC1000 หรือ LMC1000FT/Ex หรือ LMC1000 Ex/FT/Ex
4. กรรมวิธีการตรวจหาเชื้อ ลิสทีเรีย โมโนไซโตจิเนส ตามข้อถือสิทธิ 2 ที่ซึ่งสารเคลือบชนิดอื่นเลือกได้จาก ไนโตรเซลลูโลส (nitocellulose) หรือ อะมิโนไซเลน (amino silane) หรือ แอลดีไฮด์ (aldehyde)
5. แอนติบอดีทุติยภูมิที่จำเพาะต่อเชื้อ ลิสทีเรีย โมโนไซโตจิเนส ซึ่งติดฉลากด้วยลิโปโซมที่ห้อหุ้มเอนไซม์ ฮอร์สแรดีสเปอร์ออกซิเดส
6. แอนติบอดีทุติยภูมิที่จำเพาะต่อเชื้อ ลิสทีเรีย โมโนไซโตจิเนส ตามข้อถือสิทธิ 5 ที่ซึ่งลิโปโซมที่ห่อหุ้ม เอนไซม์ฮอร์สแรดีสเปอร์ออกซิเดส เลือกได้จากลิโปโซมในรูปแบบ LMC1000 หรือ LMC1000FT/Ex หรือ LMC1000 Ex/FT/Ex
TH1103000847U 2011-08-18 "กรรมวิธีการตรวจหาเชื้อ ลิสทีเรีย โมโนไซโตจิเนส ด้วยวิธีแอนติบอดีอะเรย์โดยใช้แอนติบอดีที่ติดฉลากด้วยเอนไซม์ที่ห่อหุ้มด้วยลิโปโซม เป็นตัวรายงานผลซึ่งสัญญาณของผลสามารถอ่านได้ด้วยตาเปล่า" TH10090A3 (th)

Publications (2)

Publication Number Publication Date
TH10090C3 TH10090C3 (th) 2015-07-17
TH10090A3 true TH10090A3 (th) 2015-07-17

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
US11156602B2 (en) Combination product for detecting target marker
Vidal et al. An electrochemical immunosensor for ochratoxin A determination in wines based on a monoclonal antibody and paramagnetic microbeads
US20220299502A1 (en) Reagent for detecting target substance containing sugar chain, detection method, carrier used in detection of target substance containing sugar chain, and method for manufacturing said carrier
KR20150065856A (ko) 포스피노트리신-n-아세틸-트랜스퍼라제에 대한 저항성을 부여하는 효소에 대한 모노클로날 항체 및 검출 방법
TWI224674B (en) Immunoassay using insoluble magnetic support particles
CN103597089A (zh) 用于酶介导的信号放大的新方法
US4684609A (en) Method and substance for the enhanced labelling of cellular material
Abbott et al. Immunohistochemical double‐staining for Ah receptor and ARNT in human embryonic palatal shelves
TH10090A3 (th) "กรรมวิธีการตรวจหาเชื้อ ลิสทีเรีย โมโนไซโตจิเนส ด้วยวิธีแอนติบอดีอะเรย์โดยใช้แอนติบอดีที่ติดฉลากด้วยเอนไซม์ที่ห่อหุ้มด้วยลิโปโซม เป็นตัวรายงานผลซึ่งสัญญาณของผลสามารถอ่านได้ด้วยตาเปล่า"
TH10090C3 (th) "กรรมวิธีการตรวจหาเชื้อ ลิสทีเรีย โมโนไซโตจิเนส ด้วยวิธีแอนติบอดีอะเรย์โดยใช้แอนติบอดีที่ติดฉลากด้วยเอนไซม์ที่ห่อหุ้มด้วยลิโปโซม เป็นตัวรายงานผลซึ่งสัญญาณของผลสามารถอ่านได้ด้วยตาเปล่า"
IL121534A (en) Immunogenic diacyl hydrazine compounds, antibodies formed against them and immunoassay methods for measuring said immunogens
Bhattacharya et al. A novel signal amplification technology based on catalyzed reporter deposition and its application in a Dot-ELISA with ultra high sensitivity
Walls et al. Detection of mast cells and basophils by immunohistochemistry
CN101600805A (zh) 与细胞膜上的分子相互作用的化合物的检测方法
Renneker et al. Field validation of a competitive ELISA for detection of Theileria annulata infection
Bratthauer Overview of antigen detection through enzymatic activity
Noda et al. Determination of ABO blood grouping from human oral squamous epithelium by the highly sensitive immunohistochemical staining method EnVision+
JP2010044058A (ja) 酵素標識抗体を用いた酵素免疫測定方法
Rak et al. Double labeling fluorescent immunocytochemistry
Moriya et al. Construction of an Immunochromatographic Determination System for N1, N12‐diacetylspermine
Marttila et al. Practical aspects of immunomicroscopy on plant material
Dewey Development of immunoassays for the detection and quantification of fungi
JPS62247258A (ja) 分析素子