TH100820A - วิธีการสำหรับการมีอิทธิพลต่อสมบัติของเหล็กหล่อ และตัวรับรู้ออกซิเจน - Google Patents

วิธีการสำหรับการมีอิทธิพลต่อสมบัติของเหล็กหล่อ และตัวรับรู้ออกซิเจน

Info

Publication number
TH100820A
TH100820A TH801000302A TH0801000302A TH100820A TH 100820 A TH100820 A TH 100820A TH 801000302 A TH801000302 A TH 801000302A TH 0801000302 A TH0801000302 A TH 0801000302A TH 100820 A TH100820 A TH 100820A
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
cast iron
magnesium
molten
approximately
layer
Prior art date
Application number
TH801000302A
Other languages
English (en)
Other versions
TH100820B (th
TH67290B (th
Inventor
ฮาเบ็ทส์ นายแดนนี่
Original Assignee
นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์
นางสาวปรับโยชน์ ศรีกิจจาภรณ์
นายบุญมา เตชะวณิช
Filing date
Publication date
Application filed by นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์, นางสาวปรับโยชน์ ศรีกิจจาภรณ์, นายบุญมา เตชะวณิช filed Critical นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์
Publication of TH100820B publication Critical patent/TH100820B/th
Publication of TH100820A publication Critical patent/TH100820A/th
Publication of TH67290B publication Critical patent/TH67290B/th

Links

Abstract

------09/01/2561------(OCR) หน้า 1 ของจำนวน 1 หน้า บทสรุปการประดิษฐ์ การประดิษฐ์นี้เกี่ยวข้องกับวิธีการสำหรับการมีอิทธิพลต่อสมบัติของเหล็กหล่อโดยผ่าน การเดิมของแมกนีเซียมให้กับสิ่งหลอมเหลวที่เป็นเหล็กหล่อ ที่ซึ่งปริมาณออกซิเจนของเหล็กหล่อ ที่ผ่านการหลอมได้รับการวัดและแมกนีเซียมได้รับการเดิมกับสิ่งหลอมเหลวที่เป็นเหล็กหล่อ จนกระทั่งปริมาณออกซิเจนของสิ่งหลอมเหลวที่เป็นเหล็กหล่อคือประมาณ 0.005 ถึง 0.2 พีพีเอ็ม ที่อุณหภูมิประมาณ 1,420 องศาเซลเซียส และให้กับตัวรับรู้สำหรับการวัดปริมาณออกซิเจนใน สิ่งหลอมเหลวที่เป็นเหล็กหล่อโดยอาศัยของเซลล์สำหรับการวัดเคมีไฟฟ้าซึ่งประกอบรวมด้วย ท่ออิเล็กโทรไลต์ของแข็ง ------------ แก้ไข 15/11/2559 การประดิษฐ์นี้เกี่ยวข้องกับวิธีการสำหรับการมีอิทธิพลต่อสมบัติของเหล็กหล่อโดยผ่าน การเติมของแมกนีเซียมให้กับสิ่งหลอมเหลวที่เป็นเหล็กหล่อ ที่ซึ่งปริมาณออกซิเจนของเหล็กหล่อ ที่ผ่านการหลอมได้รับการวัดและแมกนีเซียมได้รับการเติมกับสิ่งหลอมเหลวที่เป็นเหล็กหล่อ จนกระทั่งปริมาณออกซิเจนของสิ่งหลอมเหลวที่เป็นเหล็กหล่อคือประมาณ 0.005 ถึง 0.2 พีพีเอ็ม ที่อุณหภูมิประมาณ 1,420 องศาเซลเซียส และให้กับตัวรับรู้สำหรับการวัดปริมาณออกซิเจนในสิ่ง หลอมเหลวที่เป็นเหล็กหล่อโดยอาศัยของเซลล์สำหรับการวัดเคมีไฟฟ้าซึ่งประกอบรวมด้วยท่อ อิเล็กโทรไลต์ของแข็ง --------------------- การประดิษฐ์นี้เกี่ยวข้องกับวิธีการสำหรับการมีอิทธิพลต่อสมบัติของเหล็กหล่อโดยผ่าน การเติมจของแมกนีเซียมให้กับสิ่งหลอมเหลวที่เป็นเหล็กหล่อ ที่ซึ่งปริมาณบรรจุออกซิเจนของเหล็ก หล่อที่ผ่านการหลอมได้รับการวัดและแมกนีเซียมได้รับการเติมกับสิ่งหลอมเหลวที่เป็นเหล็กหล่อจน กระมั่งปริมาณบรรจุออกซิเจนของสิ่งหลอมเหลงที่เป็นเหล้กหล่อคือประมาณ 0.005 ถึง 0.2 พีพีเอ็มที่อุณหภูมิประมาณ 1420 องศาเซลเซียส และให้กับตัวรับรู้สำหรับการวัดปริมาณ บรรจุออกซิเจนในสิ่งหลอมเหลวที่เป็นเหล็กหล่อโดยอาศัยของเซลล์การวัดเคมีไฟฟ้าซึ่งประกอบรวม ด้วยท่ออิเล็กโทรไลต์ของแข็ง

Claims (1)

ข้อถือสิทธฺ์ (ทั้งหมด) ซึ่งจะไม่ปรากฏบนหน้าประกาศโฆษณา :------09/01/2561------(OCR) หน้า 1 ของจำนวน 1 หน้า ข้อถือสิทธิ 1. ตัวรับรู้สำหรับการวัดปริมาณออกซิเจนในสิ่งหลอมเหลวที่เป็นเหล็กหล่อโดยอาศัยเชลล์ สำหรับการวัดเคมีไฟฟ้าซึ่งประกอบรวมด้วยท่ออิเล็กโทรไลต์ของแข็ง, ซึ่งได้รับการทำให้มีลักษณะ พิเศษที่ว่า ชั้นของเซอร์โคเนียมไดออกไซด์ได้รับการใช้บนพื้นผิวที่หันหน้าออกภายนอกของท่อ อิเล็กโทรไลด์ของแข็งนี้, ชั้นดังกล่าวได้รับการทำให้เสถียรด้วยแคลเซียม ออกไซด์ 4% ถึง 6% โดย น้ำหนัก 2. ตัวรับรู้ตามข้อถือสิทธิข้อ 1, ซึ่งได้รับการทำให้มีลักษณะพิเศษที่ว่า ชั้นนี้ได้รับการพ่น ด้วยพลาสมา 3. ตัวรับรู้ตามข้อถือสิทธิข้อ 1 หรือข้อถือสิทธิข้อ 2, ซึ่งได้รับการทำให้มีลักษณะพิเศษที่ว่า ชั้นนี้มีความหนา30ถึง50ไมโครเมตร 4. ตัวรับรู้ตามข้อถือสิทธิข้อ 3, ที่ซึ่งชั้นมีความหนา 40 ไมโครเมตร 5. ตัวรับรู้ตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ถึง 3 ข้อใดข้อหนึ่ง, ซึ่งได้รับการทำให้มีลักษณะพิเศษที่ว่า ท่ออิเล็กโทรไลต์ของแข็งได้รับการออกแบบเป็นท่อเซอร์โคเนียมไดออกไซด์ 6. ตัวรับรู้ตามข้อถือสิทธิข้อ 4, ซึ่งได้รับการทำให้มีลักษณะพิเศษที่ว่า ท่อเซอร์โครเนียม ไดออกไซด์ได้รับการทำให้เสถียรด้วยแมกนีเซียมไดออกไซด์ 2% โดยน้ำหนัก ------------ แก้ไข 15/11/2559 1. วิธีการสำหรับการมีอิทธิพลต่อสมบัติของเหล็กหล่อโดยผ่านการเติมของแมกนีเซียมกับ สิ่งหลอมเหลวที่เป็นเหล็กหล่อ ซึ่งได้รับการทำให้มีลักษณะพิเศษที่ว่าปริมาณออกซิเจนของ สิ่งหลอมเหลวที่เป็นเหล็กหล่อได้รับการวัดและแมกนีเซียมได้รับการเติมกับสิ่งหลอมเหลวที่เป็น เหล็กหล่อจนกระทั่งปริมาณออกซิเจนของสิ่งหลอมเหลวที่เป็นเหล็กหล่อคือประมาณ 0.005 ถึง 0.2 พีพีเอ็มที่อุณหภูมิประมาณ 1,420 องศาเซลเซียส 2. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อ 1, ซึ่งได้รับการทำให้มีลักษณะพิเศษที่ว่าแมกนีเซียมได้รับการเติม จนกระทั่งปริมาณออกซิเจนคือน้อยกว่า 0.1 พีพีเอ็ม อย่างควรเลือกใช้คือระหว่าง 0.08 กับ 0.1 พีพีเอ็ม 3. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อ 1 หรือ 2, ซึ่งได้รับการกำหนดให้มีลักษณะพิเศษที่ว่าแมกนีเซียม ประมาณ 200 ถึง 750 พีพีเอ็มได้รับการเติม 4. ตัวรับรู้สำหรับการวัดปริมาณออกซิเจนในสิ่งหลอมเหลวที่เป็นเหล็กหล่อโดยวิถีทางของ เซลล์สำหรับการวัดเคมีไฟฟ้าซึ่งประกอบรวมด้วยท่ออิเล็กโทรไลต์ของแข็ง, ซึ่งได้รับการทำให้มี ลักษณะพิเศษที่ว่าชั้นของเซอร์โคเนียมไดออกไซด์ได้รับการใช้บนพื้นผิวที่หันหน้าออกภายนอกของ ท่ออิเล็กโทรไลต์ของแข็งนี้, ชั้นดังกล่าวได้รับการทำให้เสถียรด้วยแคลเซียม ออกไซด์ ประมาณ 4% ถึง 6% โดยน้ำหนัก 5. ตัวรับรู้ตามข้อถือสิทธิข้อ 4, ซึ่งได้รับการทำให้มีลักษณะพิเศษที่ว่าชั้นนี้ได้รับการพ่นด้วย พลาสมา 6. ตัวรับรู้ตามข้อถือสิทธิข้อ 4 หรือข้อถือสิทธิข้อ 5, ซึ่งได้รับการทำให้มีลักษณะพิเศษที่ว่าชั้นนี้ มีความหนาประมาณ 30 ถึง 50 ไมโครเมตร 7. ตัวรับรู้ตามข้อถือสิทธิข้อ 6, ที่ซึ่งชั้นมีความหนาประมาณ 40 ไมโครเมตร 8. ตัวรับรู้ตามข้อถือสิทธิข้อ 4 ถึง 6 ข้อใดข้อหนึ่ง, ซึ่งได้รับการทำให้มีลักษณะพิเศษที่ว่า ท่ออิเล็กโทรไลต์ของแข็งได้รับการออกแบบเป็นท่อเซอร์โคเนียมไดออกไซด์ 9. ตัวรับรู้ตามข้อถือสิทธิข้อ 7, ซึ่งได้รับการทำให้มีลักษณะพิเศษที่ว่า ท่อเซอร์โครเนียม ไดออกไซด์ได้รับการทำให้เสถียรด้วยแมกนีเซียมไดออกไซด์ประมาณ 2% โดยน้ำหนัก ------------------- 1. วิธีการสำหรับการมีอินธิพลต่อสมบัติของเหล็กหล่อโดยผ่านการเติมของแมกนีเซียมกับ สิ่งหลอมเหลวที่เป็นเหล็กหล่อ ซึ่งได้รับการทำให้มีลักษณะพิเศษที่ว่าปริมาณบรรจุออกซิเจนของ สิ่งหลอมเหลวที่เป็นเหล็กหล่อได้รับการวัดและแมกนีเซียมได้รับการเติมกัยสิ่งหลอมเหลวที่เป็น เหล็กหล่อจนกระทั่งปริมาณบรรจุออกซิเจนของสิ่งหลอมเหลวที่เป็นเหล็กหล่อคือประมาณ 0.005 ถึง 0.2 พีพีเอ็มที่อุณหภูมิประมาณ 1420 องศาเซลเซียส 2. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ซึ่งได้รับการทำให้มีลักษณะพิเศษที่ว่าแมกนีเซียมได้รับการเติม จนกระทั่งปริมาณบรรจุออกซิเจนคือน้อยกว่า0.1พีพีเอ็ม อย่างควรเลือกให้คือระหว่าง 0.08 กับ 0.1 พีพีเอ็ม 3. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อ 1 หรือ 2 ซึ่งได้รับการกำหนดให้มีลักษณะพิเศษที่ว่าแมกนีเซียม ประมาณ 200 ถึง 750 พีพีเอ็มได้รับการเติม 4. ตัวรับรู้สำหรับการวัดปริมาณบรรจุออกซิเจนในสิ่งหลอมเหลวที่เป็นเหล็กหล่อโดยอาศัยของ เซลล์การวัดเคมีไฟฟ้าซึ่งประกอบรวมด้วยท่ออิเล็กโทรไลต์ของแข็ง ซึ่งได้รับการทำให้มีลักษณะ พิเศษที่ว่าชั้นของเซอร์โคเนียมไดออกไซด์ได้รับการป้อนบนพื้นผิวที่หันหน้าออกภายนอกของ ท่ออิเล็กโทรไลต์ของแข็งนี้ 5. ตัวรับรู้ตามข้อถือสิทธิข้อ 4 ซึ่งได้รับการทำให้มีลักษณะพิเศษที่ว่าเซอร์โคเนียมไดออกไซด์ ของชั้นนี้ได้รับการทำให้เสถียรด้วย แคลเซียม ไดออกไซด์ อิตเทรียม ออกไซด์ และ/หรือ แมกนีเซียม ออกไซด์ 6. ตัวรับรู้ตามข้อถือสิทธิข้อ 5 ซึ่งได้รับการทำให้มีลักษณะพิเศษที่ว่าชั้นนี้ได้รับการทำให้ เสถียรด้วยแคลเซียม ออกไซด์ ไปจนถึง 30% โดยน้ำหนัก หรือแมกนีเซียม ออกไซด์ ไปจนถึง 25% โดยน้ำหนัก หรือ อิตเทรียม ออกไซด์ ไปจนถึง 52% โดยน้ำหนัก 7. ตัวรับรู้ตามข้อถือสิทธิข้อ 6 ซึ่งได้รับการทำให้มีลักษณะพิเศษที่ว่าชั้นนี้ได้รับการทำให้เสถียร ด้วยแคลเซียม ออกไซด์ ไปจนถึงประมาณ 4 ถึง 6% โดนน้ำหนัก 8. ตัวรับรู้ตาข้อถือสิทข้อ 4 ถึง 7 ข้อใดข้อหนึ่งซึ่งได้รับการทำให้มีลักษณะพิเศษที่ว่าชั้นนี้ได้ รับการพ่นด้วยพลาสมา 9. ตัวรับรู้ตามข้อถือสิทธิข้อ 4 ถึง 8 ข้อใดข้อหนึ่ง ซึ่งได้รับการทำให้มีลักษณะพิเศษที่ว่าชั้นนี้มี ความหนาประมาณ 30 ถึง 50 ไมครอน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ประมาณ 40 ไมครอน 1 0. ตัวรับรู้ตามข้อถือสิทธิข้อ 4 ถึง 9 ข้อใดข้อหนึ่ง ซึ่งได้รับการทำให้มีลักษณะพิเศษที่ว่า ท่ออิเล็กโทรไลต์ของแข็งได้รับการออกแบบเป็นท่อเซอร์โคเนียมไดออกไซด์ 1
1. ตัวรับรู้ตามข้อถือสิทธิข้อ 10 ซึ่งได้รับการทำให้มีลักษณะพิเศษที่ว่าท่อเซอร์โครเนียม ไดออกไซด์ได้รับการทำให้เสถียรด้วยแมกนีเซียมไดออกไซด์ประมาณ 2% โดยน้ำหนัก
TH801000302A 2008-01-21 วิธีการสำหรับการมีอิทธิพลต่อสมบัติของเหล็กหล่อ และตัวรับรู้ออกซิเจน TH67290B (th)

Publications (3)

Publication Number Publication Date
TH100820B TH100820B (th) 2010-03-31
TH100820A true TH100820A (th) 2010-03-31
TH67290B TH67290B (th) 2019-01-04

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
Li et al. Effect of pre-strain on hydrogen embrittlement of high strength steels
GB2435162A (en) Gas sensor
KR101713887B1 (ko) 부식 센서
Omura et al. Environmental factors affecting hydrogen entry into high strength steel due to atmospheric corrosion
Echsler et al. Mechanical properties of oxide scales on mild steel at 800 to 1000 C
Steiner et al. Investigation of IG-SCC growth kinetics in Al-Mg alloys in thin film environments
EP2840292B1 (en) Anticorrosive coating for buried black metal-based pipeline and method for spraying same
TH100820A (th) วิธีการสำหรับการมีอิทธิพลต่อสมบัติของเหล็กหล่อ และตัวรับรู้ออกซิเจน
CN102749280A (zh) 一种测定材料腐蚀性能的方法
DE102004022763B3 (de) Messeinrichtung zur Bestimmung der Sauerstoffaktivität in Metall- oder Schlackeschmelzen
TH67290B (th) วิธีการสำหรับการมีอิทธิพลต่อสมบัติของเหล็กหล่อ และตัวรับรู้ออกซิเจน
Yaro et al. Sugarcane wastes as a green additive to control corrosion of steel-reinforced concrete under different treatment conditions
JP2016028258A (ja) コンクリート構造物用腐食環境検知センサの被覆部
RU2444729C2 (ru) Способ влияния на свойства чугуна
Soffritti et al. Conservation state of cast iron metalworks in European street furniture
Elkedrouci et al. Combined effect of initial curing temperature and crack width on chloride penetration in reinforced concrete beams
TH1801000169A (th) วิธีการสำหรับการมีอิทธิพลต่อสมบัติของเหล็กหล่อ และตัวรับรู้ออกซิเจน
TH100820B (th) วิธีการสำหรับการมีอิทธิพลต่อสมบัติของเหล็กหล่อและตัวรับรู้ออกซิเจน
CN111504840A (zh) 一种镀锌废钢锌含量检测方法
CN112782257A (zh) 一种冷轧电镀锡钢板钝化膜组份含量的检测方法
CN107643206B (zh) 一种高氯水cod测定前预处理方法及其应用
Pragnell et al. Aluminium depletion in FeCrAlY steel during transitional alumina formation
Katahira et al. Hydrogen and Oxygen Sensor for Molten Copper
Geng et al. A time-saving method for assessing the corrosion inhibitor efficiency
Nie et al. Experiment on chloride ion content of concrete structure in coastal salt-fog area