TH9853B - สารเร่งระบบการเผาไหม้และการคายไอเสียของเครื่องยนต์เผาไหม้ภายใน - Google Patents

สารเร่งระบบการเผาไหม้และการคายไอเสียของเครื่องยนต์เผาไหม้ภายใน

Info

Publication number
TH9853B
TH9853B TH9801000793A TH9801000793A TH9853B TH 9853 B TH9853 B TH 9853B TH 9801000793 A TH9801000793 A TH 9801000793A TH 9801000793 A TH9801000793 A TH 9801000793A TH 9853 B TH9853 B TH 9853B
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
fuel
engines
volume
diesel
gasoline
Prior art date
Application number
TH9801000793A
Other languages
English (en)
Other versions
TH31228A (th
Inventor
เฮงพระพรหม นายขรรค์ชัยศร
Original Assignee
มหาวิทยาลัยมหิดล
Filing date
Publication date
Application filed by มหาวิทยาลัยมหิดล filed Critical มหาวิทยาลัยมหิดล
Publication of TH31228A publication Critical patent/TH31228A/th
Publication of TH9853B publication Critical patent/TH9853B/th

Links

Abstract

DC60 (03/07/43) สารปรับปรุงคุณภาพน้ำมันเชื้อเพลิงหรือเรียกว่าสารเร่งระบบการเผาไหม้และคายไอเสียใช้ ผสมในน้ำมันดีเซลและน้ำมันแก๊สโซลีน โดยผสมสารกลุ่มที่ 1 คือสารอซิโตน, เมทิลเอทิลคีโตน, เมทิลไอโซบิวทิลคีโตน, เป็นสารสำคัญในสูตรการผสม และสารกลุ่มที่ 2 คือสารเมทิลแอลกอฮอล์, นอ-มอลบิวทิลอซิเตท โดยที่สารเมทิลแอลกอฮอล์ทำหน้าที่ 1.ลดการระเหยตัวของสารอซิโตนและเมทิลเอทิลคีโตน, 2. เสริมการทำงานในรอบปานกลาง ได้มีการทดสอบในการใช้งานจริงในรถยนต์ปกติในสภาพการณ์ที่แตกต่างกัน สารเร่งระบบ การเผาไหม้และคายไอเสียดังกล่าวมีคุณภาพเหมาะสม ที่จะนำมาเพิ่มคุณภาพน้ำมันเชื้อเพลิงทั้งน้ำมัน ดีเซลและน้ำมันแก๊สโซลีนในสูตรการผสมที่แตกต่างกันตามความต้องการของการขับขี่ โดยสามารถ เพิ่มประสิทธิภาพเครื่องยนต์ให้มีสมรรถนะสูงกว่าเดิม สามารถลดมลพิษจากไอเสีย แก๊สคาร์บอน มอนออกไซด์จากเครื่องยนต์แก๊สโซลีน, เขม่าควันดำจากเครื่องยนต์ดีเซล, ควันขาวจากเครื่องยนต์ มอเตอร์ไซค์ และลดปริมาณสิ้นเปลืองเชื้อเพลิง 10-14% สำหรับเครื่องยนต์แก๊สโซลีน และ 5-10 % สำหรับเครื่องยนต์ดีเซล การนำไปใช้งานผสมสารเร่งระบบการเผาไหม้และคายไอเสียลงในน้ำมันเชื้อเพลิงในอัตรา ส่วนผสม 0.3% ถึง 1.5% โดยค่าที่ดี ตั้งแต่ 0.4% ขึ้นไปโดยปริมาตร สารปรับปรุงคุณภาพน้ำมันเชื้อเพลิงหรือเรียกว่าสารเร่งระบบการเผาไหม้และคายไอเสียใช้ ผสมในน้ำมันดีเซลและน้ำมันแก๊สน้ำมันแก๊สโซลีน โดยผสมสารกลุ่มที่ 1 คือสารอซิโตน, เมทิลเอทิลคีโตน, เมทิลไอโซบิวทิลคีโตน, เป็นสารสำคัญในสูตรการผสม และสารกลุ่มที่ 2 คือสารเมทิลแอลกอฮอล์, นอ-มอลบิวทิลอซิเตท โดยที่สารเมทิลแอลกอฮอล์ทำหน้าที่ 1.ลดการระเหยตัวของสารอซิโตนและเมทิลเอทิลคีโตน, 2. เสริมการทำงานในรอบปานกลาง ได้มีการทดสอบในการใช้งานจริงในรถยนต์ปกติในสภาพการณ์ที่แตกต่างกัน สารเร่งระบบ การเผาไหม้และคายไอเสียดังกล่าวมีคุณภาพเหมาะสม ที่จะนำมาเพิ่มคุณภาพน้ำมันเชื้อเพลิงทั้งน้ำมัน ดีเซลและน้ำมันแก๊สโซลีนในสูตรการผสมที่แตกต่างกันตามความต้องการของการขับขี่ โดยสามารถ เพิ่มประสิทธิภาพเครื่องยนต์ให้มีสมรรถนะสูงกว่าเดิม สามารถลดมลพิษจากไอเสีย แก๊สคาร์บอน มอนออกไซด์จากเครื่องยนต์แก๊สโซลีน, เขม่าควันดำจากเครื่องยนต์ดีเซล, ควันขาวจากเครื่องยนต์ มอเตอร์ไซค์ และลดปริมาณสิ้นเปลืองเชื้อเพลิง 10-14% สำหรับเครื่องยนต์แก๊สโซลีน และ 5-10% สำหรับเครื่องยนต์ดีเซล การนำไปใช้งานผสมสารเร่งระบบการเผาไหม้และคายไอเสียลงในน้ำมันเชื้อเพลิงในอัตรา ส่วนผสม 0.3% ถึง 1.5% โดยค่าที่ดี ตั้งแต่ 0.4% ขึ้นไปโดยปริมาตร

Claims (4)

1. สารเร่งระบบการเผาไหม้และคายไอเสียประกอบด้วยสาร 5 ชนิดคือ - สารซิโตน ปริมาตรตั้งแต่ร้อยละ 51 ถึงร้อยละ 85 - สารเมทิลเอทิลคีโตน ปริมาตรตั้งแต่ร้อยละ 4 ถึงร้อยละ 16 - สารเมทิลไอโซบิวทิลคิโตนปริมาตรตั้งแต่ร้อยละ 1 ถึงร้อยละ 9 - สารเมทิลแอลกอฮอล์ ปริมาตรตั้งแต่ร้อยละ 8 ถึงร้อยละ 18 - สารนอ-มอลบิวทิลอซิเตท ปริมาตรตั้งแต่ร้อยละ 2 ถึงร้อยละ 6 เลือกปรับส่วนผสมให้ครบจำนวน
2. การปรับปรุงคุณภาพน้ำมันเชื้อเพลิง ในน้ำมันแก๊สโซลีนหรือน้ำมันดีเซลทุกประเภท โดยการผสม สารเร่งระบบการเผาไหม้และคายไอเสียตามข้อถือสิทธิที่ 1 ลงในน้ำเชื้อเพลิงตั้งแต่ร้อยละ 0.3 ถึงร้อยละ 1.5 โดยปริมาตร
3. การปรับปรุงคุณภาพน้ำมันเชื้อเพลิงตามข้อถือสิทธิที่ 2 โดยใช้สารเร่งระบบการเผาไหม้และคาย ไอเสียผสมในน้ำมันแก๊สโซลีนหรือน้ำมันดีเซล สำหรับใช้เครื่องยนต์เผาไหม้ภายใน โดยได้ พลังงานจากการเผาไหม้น้ำมันเชื้อเพลิง
4. การปรับปรุงคุณภาพน้ำมันเชื้อเพลิงตามข้อถือสิทธิที่ 2 โดยค่าที่ดีที่สุดของสารเร่งระบบการเผา ไหม้และคายไอเสียประกอบด้วย - สารอซิโตน ปริมาตรร้อยละ 68 - สารเมทิลเอทิลคีโตน ปริมาตรร้อยละ 10 - สารเมทิลไอโซบิวทิลคีโตนปริมาตรร้อยละ 5 - สารเมทิลแอลกอฮอล์ ปริมาตรร้อยละ 13 - สารนอ-มอลบิวทิลอซิเตท ปริมาตรร้อยละ 4
TH9801000793A 1998-03-10 สารเร่งระบบการเผาไหม้และการคายไอเสียของเครื่องยนต์เผาไหม้ภายใน TH9853B (th)

Publications (2)

Publication Number Publication Date
TH31228A TH31228A (th) 1998-12-03
TH9853B true TH9853B (th) 2000-09-25

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
Park et al. Reduction of NOx, smoke and brake specific fuel consumption with optimal injection timing and emulsion ratio of water-emulsified diesel
Uchida et al. Combined effects of EGR and supercharging on diesel combustion and emissions
ES2183252T3 (es) Un motor de combustion interna.
Sato et al. Combustion and NOx emission characteristics in a DI methanol engine using supercharging with EGR
Yogesh et al. Combustion, performance and emissions characteristics of CRDI engine fueled with biodiesel, ethanol & butanol blends at various fuel injection strategies
TH9853B (th) สารเร่งระบบการเผาไหม้และการคายไอเสียของเครื่องยนต์เผาไหม้ภายใน
TH31228A (th) สารเร่งระบบการเผาไหม้และการคายไอเสียของเครื่องยนต์เผาไหม้ภายใน
US3999530A (en) Internal combustion spark ignition engine
Kubota et al. 8 A Study of the Influence of Fuel Temperature on Emission Characteristics and Engine Performance of Compression Ignition Engine
Gürbüz et al. Investigation of effects of fumigation on performance and emission in dual fuel engines injection-controlled with electronic card
US5766272A (en) Additive composition for diesel fuel for engine driven vehicles
Lu et al. Development of a New Concept Piston for Alcohol Fuel Use in a Cl Engine
JP3289133B2 (ja) 吸気管燃料噴射圧縮着火エンジンにおける燃料の着火性改善方法
CN208763748U (zh) 一种高热效率低排放的汽油直喷增压发动机
Pischinger et al. Single-cylinder study of stratified charge process with prechamber-injection
De Petris et al. High efficiency stoichiometric spark ignition engines
Tesarek Investigations concerning the employment possibilities of the diesel-gas process for reducing exhaust emissions, especially soot (Particulate Matters)
Wu et al. Performance and emissions of motorcycle engines using water-fuel emulsions
Song et al. New controllable premixed combustion for dimethyl ether engine
Searles Car exhaust pollution: the role of precious metal catalysts in its control
Gruden Combustion and Exhaust Emission of an Engine Using the Porsche-Stratified-charge-chamber-system
KR19990084035A (ko) 연료(알코올 연료)
Nagarajan et al. A New Approach for Utilisation of Lpg-Dee in Homogeneous Charge Compression Ignition (Hcci) Engine
Wasiu et al. The Effect of Co2 Proportion on Exhaust Emissions of a Direct Injection (DI) Gas Engine Fuelled with a High Carbon Dioxide (Co2) Content-Natural Gas
Ignition et al. Department of Mechanical Engineering, Anna University, Chennai-600 025