TH92879A - วัสดุฉนวนกันความร้อนสุญญากาศและวิธีการผลิต - Google Patents

วัสดุฉนวนกันความร้อนสุญญากาศและวิธีการผลิต

Info

Publication number
TH92879A
TH92879A TH701000352A TH0701000352A TH92879A TH 92879 A TH92879 A TH 92879A TH 701000352 A TH701000352 A TH 701000352A TH 0701000352 A TH0701000352 A TH 0701000352A TH 92879 A TH92879 A TH 92879A
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
aforementioned
insulation
vacuum insulation
core
primary
Prior art date
Application number
TH701000352A
Other languages
English (en)
Other versions
TH57560B (th
TH92879B (th
Inventor
มิเซคิ นายทาคาชิ
คุโบตะ นายทสึโยชิ
ทาคาฮาชิ นายอัทสึมิ
เอชิโกยะ นายวาทารุ
Original Assignee
นางสาวยิ่งลักษณ์ ไกรฤกษ์
นายอังคาร ตั้นพันธ์
นางสาวอาภาพรรณ สี่หิรัญวงศ์
นางสาวศรัทธา อิศโรวุธกุล
Filing date
Publication date
Application filed by นางสาวยิ่งลักษณ์ ไกรฤกษ์, นายอังคาร ตั้นพันธ์, นางสาวอาภาพรรณ สี่หิรัญวงศ์, นางสาวศรัทธา อิศโรวุธกุล filed Critical นางสาวยิ่งลักษณ์ ไกรฤกษ์
Publication of TH92879B publication Critical patent/TH92879B/th
Publication of TH92879A publication Critical patent/TH92879A/th
Publication of TH57560B publication Critical patent/TH57560B/th

Links

Abstract

DC60 การประดิษฐ์นี้นำเสนอวัสดุฉนวนกันความร้อนสุญญากาศที่สามารถลดค่าใช้จ่ายจากการนำ วัสดุขอบปลายที่ไม่ได้มีตัวยึดรวมอยู่ไปใช้ซ้ำ มีการปรับปรุงคุณสมบัติในการจัดการวัสดุหลัก และ การ ลดพลังงานไฟฟ้า พลังงานความร้อนในขณะที่ผลิต กล่าวคือวัสดุฉนวนกันความร้อนสุญญากาศ 20 บรรจุวัสดุหลัก 10a จากสิ่งทอรวมกลุ่มลงใน วัสดุเปลือกภายนอก 1 ที่มีคุณสมบัติในการขวางกั้นแก๊ส วัสดุหลัก 10a ที่ได้กล่าวมาแล้วเป็นตัวชั้น สะสมประกอบด้วยวัสดุฉนวนกันความร้อนจำนวนมากสะสมทับกัน ตัวชั้นสะสมนี้มีโครงสร้าง ประกอบด้วยฉนวนกันความร้อน b a ที่ได้จากการตัดตัวชั้นสะสมนี้ให้ได้ขนาดที่ต้องการจำนวนมาก และฉนวนกันความร้อน b a 3a จำนวน 1 แผ่นหรือหลายแผ่นที่รักษาสภาพไว้ได้ติดอยู่ที่อย่างน้อยด้าน หนึ่งของฉนวนกันความร้อน b a 3a วัสดุหลักถูกห่อหุ้มโดยวัสดุเปลือกภายใน a b 2a และขึ้นชั้นทับกับ ฉนวนกันความร้อน b a 3b จากสิ่งทอรวมกลุ่มที่ไม่มีตัวยึดติดรวมอยู่ เป็นโครงสร้างที่มีวัสดุเปลือก ภายใน a b 2b ห่อหุ้มสิ่งเหล่านี้อยู่ในสภาพสุญญากาศโดยการลดความดันวัสดุเปลือกภายนอก a b 2b ที่ได้กล่าวมาแล้วรวมทั้งวัสดุหลัก 1 ที่ได้กล่าวมา รูปที่เลือก รูปที่ 1 การประดิษฐ์นี้นำเสนอวัสดุฉนวนกันความร้อนสุญญากาศที่สามารถลดค่าใช้จ่ายจากการนำ วัสดุขอบปลายที่ไม่ได้มีตัวยึดรวมอยู่ไปใช้ช้ำ มีการปรับปรุงคุณสมบัติในการจักการวัสดุหลัก และ การ ลดพลังงานไฟฟ้า พลังงานความร้อนในขณะที่ผลิต กล่าวคือวัสดุฉนวนกันความร้อนสุญญากาศ 20 บรรจุวัสดุหลัก 10a จากสิ่งทอรวมกลุ่มลงใน วัสดุเปลือกภายนอก 1 ที่มีคุณสมบัติในการขวางกั้นแก๊ส วัสดุหลัก 10a ที่ได้กล่าวมาแล้วเป็นตัวชั้น สะสมประกอบด้วยวัสดุฉนวนกันความร้อนจำนวนมากสะสมทับกัน ตัวชั้นสะสมนี้มีโครงสร้าง ประกอบด้วยฉนวนกันความร้อน b a ที่ได้จากการตัดตัวชั้นสะสมนี้ให้ได้ขนาดที่ต้องการจำนวนมาก และฉนวนกันความร้อน b a 3a จำนวน 1 แผ่นหรือหลายแผ่นที่รักษาสภาพไว้ได้ติดอยู่ที่อย่างน้อยด้าน หนึ่งของฉนวนกันความร้อน b a 3a วัสดุหลักถูกห่อหุ้มโดยวัสดุเปลือกภายใน a b 2a และขึ้นชั้นทับกับ ฉนวนกันความร้อน b a 3b จากสิ่งทอรวมกลุ่มที่ไม่มีตัวยึดติดรวมอยู่ เป็นโครงสร้างที่มีวัสดุเปลือก ภายใน a b 2b ห่อหุ้มสิ่งเหล่านี้อยู่ในสภาพสุญญากาศโดยการลดความดันวัสดุเปลือกภายนอก a b 2b ที่ได้กล่าวมาแล้วรวมทั้งวัสดุหลัก 1 ที่ได้กล่าวมา รูปที่เลือก รูปที่ 1

Claims (9)

1. วัสดุฉนวนกันความร้อนสุญญากาศที่มีลักษณะพิเศษที่เป็นวัสดุฉนวนกันความร้อนสุญญากาศ บรรจุวัสดุหลักจากสิ่งทอรวมกลุ่มลงในวัสดุเปลือกภายนอกที่มีคุณสมบัติในการขวางกั้นแก๊ส วัสดุหลัก ที่ได้กล่าวมาแล้วเป็นสารหลายชั้นประกอบด้วยวัสดุหลักจำนวนมากสะสมทับกัน มีโครงสร้าง ประกอบด้วยวัสดุหลักลำดับที่ 1 ที่ได้จากการตัดสารหลายชั้นนี้ให้ได้ขนาดที่ต้องการจำนวนมากและ วัสดุหลักลำดับที่ 2 จำนวน 1 แผ่นหรือหลายแผ่นที่รักษาสภาพไว้ได้ติดอยู่ที่อย่างน้อยด้านหนึ่งของวัสดุ หลักลำดับที่ 1 นี้ วัสดุหลักที่ได้กล่าวมาแล้วเป็นวัสดุหลักลำดับที่ 1 ที่ถูกห่อโดยวัสดุเปลือกภายใน ลำดับที่ 1 และขึ้นชั้นทับกับวัสดุหลักลำดับที่ 2 จากสิ่งทอรวมกลุ่มที่ไม่มีตัวยึดติดรวมอยู่ เป็นโครงสร้าง ที่มีวัสดุเปลือกภายในลำดับที่ 2 หุ้มห่อสิ่งเหล่านี้อยู่ เป็นสิ่งที่อยู่ในสภาพสุญญากาศโดยการลดความ ดันภายในของวัสดุเปลือกภายนอกที่ได้กล่าวมาแล้วรวมทั้งวัสดุหลักที่ได้กล่าวมาแล้ว
2. วัสดุฉนวนกันความร้อนสุญญากาศตามที่บันทึกในข้อถือสิทธิข้อ 1 มีลักษณะพิเศษที่เป็นวัสดุหลัก ลำดับที่ 1 ที่ได้กล่าวมาแล้วประกอบด้วยชิ้นส่วนจากการตัดวัสดุขอบปลายที่ตัดวัสดุขอบปลายให้ด้าน หนึ่งมีขนาดความกว้าง 5 มม. ขึ้นไปและไม่เกิน 20 มม. บรรจุกดอัดอยู่ในวัสดุเปลือกภายในลำดับที่ 1 โดยมีสัดส่วนต่อวัสดุหลักทั้งหมดที่ได้กล่าวมาแล้วตั้งแต่ 20 น้ำหนัก% ถึง 80 น้ำหนัก%
3. วัสดุฉนวนกันความร้อนสุญญากาศตามที่บันทึกในข้อถือสิทธิข้อ 1 มีลักษณะพิเศษที่วัสดุหลัก ลำดับที่ 1 ที่ได้กล่าวมาแล้วถูกหุ้มห่อด้วยวัสดุเปลือกภายในลำดับที่ 1 ที่ได้กล่าวมาแล้วในสภาพที่ ชิ้นส่วนตัดจากวัสดุขอบปลายที่ได้กล่าวมาแล้วจำนวนมากถูกกดอัดให้ได้ขนาดที่ต้องการ ขณะที่กดอัด และลดความดันไม่ให้ชิ้นส่วนตัดจากวัสดุขอบปลายที่ได้กล่าวมาแล้วกระเด็นออกไปนอกวัสดุเปลือก ภายในลำดับที่ 1 ที่ได้กล่าวมาแล้ว เหลือพื้นที่ช่องเปิดของวัสดุเปลือกภายในลำดับที่ 1 ที่ได้กล่าว มาแล้วตั้งแต่ 10 % ขึ้นไปซีลปิดชั่วคราวในสภาพที่สามารถระบายอากาศได้ หลังจากกดอัดภายในของ วัสดุเปลือกภายในลำดับที่ 2 ที่ได้กล่าวมาแล้วและลดความดันแล้วจึงซีลปิดสนิทวัสดุเปลือกภายใน ลำดับที่ 2 ที่ได้กล่าวมาแล้ว
4. วัสดุฉนวนกันความร้อนสุญญากาศตามที่บันทึกในข้อถือสิทธิข้อ 1 ถึงข้อ 3 ข้อใดข้อหนึ่งมี ลักษณะพิเศษที่วัสดุเปลือกภายในลำดับที่ 1 ที่ได้กล่าวมาแล้วเป้นฟิล์มพอลิเอธิลีนที่สามารถละลาย ติดได้ระดับการกดอัด 0.910 g/cm3 ขึ้นไปและมีความหนา 5-50 um วัสดุหลักที่เป้นชั้นสะสมจาก วัสดุหลักลำดับที่ 1 ที่ได้กล่าวมาแล้วจะถูกห่อหุ้มด้วยวัสดุเปลือกภายในลำดับที่ 1 ที่ได้กล่าวมาแล้วและ วัสดุหลักลำดับที่ 2 ที่ได้กล่าวมาแล้ว มีวัสดุเปลือกภายในลำดับที่ 2 ที่ได้กล่าวมาแล้วห่อหุ้มวัสดุหลักนี้ ทั้งหมด
5. วัสดุฉนวนกันความร้อนสุญญากาศตามที่บันทึกในข้อถือสิทธิข้อ 1 มีลักษณะพิเศษที่วัสดุเปลือก ภายในลำดับที่ 1 ที่ได้กล่าวมาแล้วห่อหุ้มวัสดุหลักลำดับที่ 1 ที่ได้กล่าวมาแล้วพร้อมกับน้ำยากาวใน สภาพผงที่กระจายอยู่ในวัสดุหลักลำดับที่ 1 ที่ได้กล่าวมาแล้ว
6. วิธีการผลิตวัสดุฉนวนกันความร้อนสุญญากาศที่เป็นวิธีการผลิตวัสดุฉนวนกันความร้อน สุญญากาศบรรจุวัสดุหลักจากสิ่งทอรวมกลุ่มลงในวัสดุเปลือกภายนอกที่มีคุณสมบัติในการขวางกั้น แก๊ส มีขั้นตอนที่ได้วัสดุหลักลำดับที่ 1โดยการกดอัดสิ่งทอรวมกลุ่มขนาดเล็กกว่าวัสดุหลักที่สะสม ทับกันเป็นชั้นในวัสดุเปลือกภายในลำดับที่ 1 และขั้นตอนนำวัสดุหลักลำดับที่ 1 ที่ได้กล่าวมาแล้วมา สะสมทับกันเป็นชั้นกับวัสดุเปลือกภายในลำดับที่ 2 ที่เกิดจากสิ่งทอรวมกลุ่ม และขั้นตอนกดอัดวัสดุ หลักลำดับที่ 1 ที่ได้กล่าวมาแล้วและวัสดุหลักลำดับที่ 2 ที่ได้กล่าวมาแล้วลงไปในวัสดุเปลือกภายใน ลำดับที่ 2 และขั้นตอนซีลปิดช่องเปิดของวัสดุเปลือกภายในลำดับที่ 2 ที่ได้กล่าวมาแล้ว และขั้นตอนกด อัดวัสดุหลักลำดับที่ 1 ที่ได้กล่าวมาแล้วที่ถูกกดอัดอยู่ในวัสดุเปลือกภายในลำดับที่ 2 ที่ได้กล่าวมาแล้ว และกดอัดวัสดุหลักลำดับที่ 2 ที่ได้กล่าวมาแล้วลงในวัสดุเปลือกภายในลำดับที่ 1 และวัสดุเปลือก ภายในลำดับที่ 2 พร้อมกับกดอัดลงในวัสดุเปลือกภายนอกที่ได้กล่าวมาแล้วและลดความดันภายใน
7. วิธีการผลิตวัสดุฉนวนกันความร้อนสุญญากาศตามที่บันทึกในข้อถือสิทธิข้อ 6 มีลักษณะพิเศษที่ หลังจากการกดอัดและลดความดันชั้นที่ซ้อนทับกันจากวัสดุหลักจำนวนมากที่ได้กล่าวมาแล้วให้มีความ หนาไม่เกิน 50% ของความหนาเริ่มต้น ซีลปิดวัสดุเปลือกภายในลำดับที่ 2 ที่ได้กล่าวมาแล้ว ห่อวัสดุ หลักนี้ด้วยเปลือกภายนอกที่ได้กล่าวมาแล้วและคลายการซีลปิดวัสดุเปลือกภายในลำดับที่ 2 ที่ได้ กล่าวมาแล้วออก ลดความดันภายในของวัสดุเปลือกภายนอกที่ได้กล่าวมาแล้ว จากนั้นซีลปิดวัสดุ เปลือกภายนอกที่ได้กล่าวมาล้ว
8. วิธีการผลิตวัสดุฉนวนกันความร้อนสุญญากาศตามที่บันทึกในข้อถือสิทธิข้อ 7 มีลักษณะพิเศษที่ มีการคลายการซีลปิดวัสดุเปลือกภายในลำดับที่ 2 ที่ได้กล่าวมาแล้วที่ถูกห่อโดยวัสดุเปลือกภายนอกที่ ได้กล่าวมาแล้ว คืนสภาพจนกระทั่งความยาววงรอบนอกของวัสดุหลักที่ได้กล่าวมาแล้วมีขนาดเท่ากับ ความยาววงรอบในของวัสดุเปลือกภายนอกที่ได้กล่าวมาแล้ว
9. วิธีการผลิตวัสดุฉนวนกันความร้อนสุญญากาศตามที่บันทึกในข้อถือสิทธิข้อ 6 มีลักษณะพิเศษที่ นำวัสดุหลักที่ขจัดสิ่งแปลกปลอมจากผลิคภัณฑ์ที่เป็นของเสียออกมาจากขั้นตอนการผลิตวัสดุฉนวน กันความร้อนสุญญากาศ และ วัสดุขอบปลายรูปร่างเป็นแผ่นสั้นจำนวนมากที่เกิดขึ้นในขณะที่ได้วัสดุ หลักลำดับที่ 2 จากการตัดสิ่งทออนินทรีย์รวมกลุ่มที่ได้กล่าวมาแล้วให้เป็นรูปร่างตามที่กำหนด จากการ ที่มีขั้นตอนให้ได้วัสดุหลักลำดับที่ 1 โดยการตัดวัสดุหลักเป็นจำนวนมากทำให้มีขั้นตอนการผลิตวัสดุ ฉนวนกันความร้อนสุญญากาศซ้ำได้อีก
TH701000352A 2007-01-26 วัสดุฉนวนกันความร้อนสุญญากาศและวิธีการผลิต TH57560B (th)

Publications (3)

Publication Number Publication Date
TH92879B TH92879B (th) 2008-12-30
TH92879A true TH92879A (th) 2008-12-30
TH57560B TH57560B (th) 2017-09-18

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
EP2994311B1 (en) Method for manufacturing vacuum insulation panels
KR101417249B1 (ko) 이너백을 포함하는 진공단열재 및 이를 제조하는 방법
JP6132715B2 (ja) 真空断熱材の製造方法及び断熱箱
JP2012519349A5 (th)
JP2010174975A5 (th)
JP4774320B2 (ja) 真空断熱材及びその製造方法
KR101353647B1 (ko) 진공단열재용 심재 및 이를 이용한 진공단열재
DE10217840B4 (de) Ballen aus lagenförmig angeordnetem Filter Tow sowie Verfahren zum Verpacken von Filter Tow
WO2017195329A1 (ja) 真空断熱材およびその製造方法
JP2008106532A (ja) 真空断熱材
JP6579740B2 (ja) 真空断熱材の製造方法
KR100753720B1 (ko) 진공 단열재 및 그 제조 방법
JP2012225389A5 (th)
TH92879A (th) วัสดุฉนวนกันความร้อนสุญญากาศและวิธีการผลิต
TH57560B (th) วัสดุฉนวนกันความร้อนสุญญากาศและวิธีการผลิต
US20180051833A1 (en) Duct and method for its manufacture
KR20120114004A (ko) 굽힘성이 용이한 진공 단열재 및 이의 제조방법
WO2012164888A1 (ja) 真空断熱材及びこれを使用した断熱箱
JP2007309478A (ja) 断熱材およびその製造方法
JPH09133289A (ja) 真空断熱体の製造方法
JP6359087B2 (ja) 真空断熱材、及びそれを備えた保温体
JP6333085B2 (ja) 繊維集合体の成形方法、並びに、繊維集合体、真空断熱材、及び断熱箱の製造方法
TH92879B (th) วัสดุฉนวนกันความร้อนสุญญากาศและวิธีการผลิต
JP2005207556A (ja) 断熱材の整形体およびその製造方法
JP2013194885A (ja) 真空断熱材及び真空断熱材の製造方法