TH89903A - การผลิตแบบรีคอมบิแนนท์ของโปรตีนที่ยึดเหนี่ยวเฮปปาริน - Google Patents

การผลิตแบบรีคอมบิแนนท์ของโปรตีนที่ยึดเหนี่ยวเฮปปาริน

Info

Publication number
TH89903A
TH89903A TH601006472A TH0601006472A TH89903A TH 89903 A TH89903 A TH 89903A TH 601006472 A TH601006472 A TH 601006472A TH 0601006472 A TH0601006472 A TH 0601006472A TH 89903 A TH89903 A TH 89903A
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
heparin
hpparin
protein
binding
proteins
Prior art date
Application number
TH601006472A
Other languages
English (en)
Other versions
TH74141B (th
TH89903B (th
Inventor
ดี. บัทเลอร์ มิเชลล์
แอล.คลีแลนด์ เจฟฟรี่ย์
ดับเบิลยู.คาห์น เดวิด
ไพซาร์โร่ เชลลี่
เอช.ชเมลเซอร์ ชาร์ลส
อี.วิงเคลอร์ มาร์โจรี่
Original Assignee
นางดารานีย์ วัจนะวุฒิวงศ์
นายธเนศ เปเรร่า
นางวรนุช เปเรร่า
Filing date
Publication date
Application filed by นางดารานีย์ วัจนะวุฒิวงศ์, นายธเนศ เปเรร่า, นางวรนุช เปเรร่า filed Critical นางดารานีย์ วัจนะวุฒิวงศ์
Publication of TH89903B publication Critical patent/TH89903B/th
Publication of TH89903A publication Critical patent/TH89903A/th
Publication of TH74141B publication Critical patent/TH74141B/th

Links

Abstract

DC60 (11/04/50) กระบวนการสำหรับการแยกและทำให้บริสุทธิ์ของโปรตีนที่ยึดเหนี่ยวเฮปปารินที่ พับตัวใหม่และที่ได้รับการผลิตขึ้นในเฮทเทอโรโลกัสโฮสต์เซล รวมถึงขั้นตอนของการบ่มโปรตีนที่ ทำให้ละลายแล้วกับสารโพลีแอนไอออนิคเช่น เดกซ์แตรนซัลเฟต กระบวนการสำหรับการแยกและทำให้บริสุทธิ์ของโปรตีนที่ยึดเหนี่ยวเฮปปารินที่ พับตัวใหม่และที่ได้รับการผลิตขึ้นในเฮทเทอโรโลกัสโฮสต์เซล รวมถึงขั้นตอนของการบ่มโปรตีนที่ ทำให้ละลายแล้วกับสารโพลีแอนไอออนิคเช่น เดกซ์แตรนซัลเฟต

Claims (3)

ข้อถือสิทธฺ์ (ทั้งหมด) ซึ่งจะไม่ปรากฏบนหน้าประกาศโฆษณา :แก้ไข 5 ส.ค. 2562 หน้า 1 ของจำนวน 3 หน้า ข้อถือสิทธิ 1. กระบวนการสำหรับนำกลับคืนโปรตีนที่ยึดเหนี่ยวเฮปปารินจากเซล โปรคารีโอทที่เลี้ยงไว้ ซึ่งโปรตีนที่ยึดเหนี่ยวเฮปปาริน คือ แฟคเตอร์ของการเจริญของเยื่อบุในเส้น เลือด (VEGF) ซึ่งยึดเหนี่ยวเฮปปาริน ซึ่งกระบวนการประกอบด้วยขั้นตอนของ (a) การแยกโปรตีนที่ยึดเหนี่ยวเฮปปารินดังกล่าวออกจากเพอริพลาสซึมของ เซลโปรคารีโอทที่เลี้ยงไว้ดังกล่าว; (b) การดีเนเจอร์โปรตีนที่ยึดเหนี่ยวเฮปปารินดังกล่าวในสารละลายบัฟเฟอร์ที่ หนึ่งที่ประกอบด้วยสารเปลี่ยนแปลงการเรียงตัว (chaotropic agent) และสารรีดิวซ์ (c) การบ่มโปรตีนที่ยึดเหนี่ยวเฮปปารินดังกล่าวในสารละลายบัฟเฟอร์ที่สองที่ ประกอบด้วย สารเปลี่ยนแปลงการเรียงตัว และสารโพลีแอนไอออนิคที่เติมหมู่ซัลเฟตแล้ว เป็นเวลาที่และใน สภาพที่การพับตัวใหม่ของโปรตีนที่ยึดเหนี่ยวเฮปปารินเกิดขึ้น และ (d) การนำกลับคืนโปรตีนที่ยึดเหนี่ยวเฮปปารินที่พับตัวใหม่แล้วดังกล่าว ซึ่งมี การเพิ่มโปรตีนที่ยึดเหนี่ยวเฮปปารินที่พับตัวใหม่แล้วที่นำกลับคืนได้ 2 ถึง 5 เท่าเมื่อเทียบกับการบ่ม ที่ไม่มีสารโพลีแอนไอออนิคที่เติมหมู่ซัลเฟตแล้ว -------------------------------------------------------------------------- 1. กระบวนการสำหรับแยกเอาโปรตีนที่ยึดเหนี่ยวเฮปปารินจากเซลโปรคารีโอทที่ เลี้ยงไว้กระบวนการประกอบด้วยขั้นตอนของ (a) การแยกโปรตีนที่ยึดเหนี่ยวเฮปปารินดังกล่าวออกจากเพอริพลาสซึมของ เซลโปรคารีโอทที่เลี้ยงไว้ดังกล่าว; (b) การดีเนเจอร์โปรตีนที่ยึดเหนี่ยวเฮปปารินที่แยกได้ดังกล่าวในสารละลาย บัฟเฟอร์ที่หนึ่งที่ประกอบด้วยสารเปลี่ยนแปลงการเรียงตัวและสารรีดิวซ์ (c) การบ่มโปรตีนที่ยึดเหนี่ยวเฮปปารินที่ดีเนเจอร์แล้วดังกล่าวในสารละลาย บัฟเฟอร์ที่สองที่ประกอบด้วย สารเปลี่ยนแปลงการเรียงตัว และสารโพลีแอนไอออนิคที่เติมหมู่ ซัลเฟตแล้วเป็นเวลาที่และในสภาพที่การพับตัวใหม่ของโปรตีนที่ยึดเหนี่ยวเฮปปารินเกิดขึ้น และ (d) การแยกเอาโปรตีนที่ยึดเหนี่ยวเฮปปารินที่พับตัวใหม่แล้วดังกล่าว ซึ่งมีการ เพิ่มโปรตีนที่ยึดเหนี่ยวเฮปปารินที่พับตัวใหม่แล้วที่แยกได้ประมาณ 2 ถึง 5 เท่าเมื่อเทียบกับการบ่มที่ ไม่มีสารโพลีแอนไอออนิคที่เติมหมู่ซัลเฟตแล้ว 2. กระบวนการของข้อถือสิทธิที่ 1 ซึ่งโปรตีนที่ยึดเหนี่ยวเฮปปารินคือ แฟคเตอร์ ของการเจริญที่ยึดเหนี่ยวเฮปปาริน 3. กระบวนการของข้อถือสิทธิที่ 2 ซึ่งแฟคเตอร์ของการเจริญที่ยึดเหนี่ยวเฮปปาริน คือ แฟคเตอร์ของการเจริญของเยื่อบุในเส้นเลือด (VEGF) 4. กระบวนการของข้อถือสิทธิที่ 3 ซึ่ง VEGF คือ VEGF165 5. กระบวนการของข้อถือสิทธิที่ 1 ซึ่งสารโพลีแอนไอออนิคที่เติมหมู่ซัลเฟตแล้ว มีน้ำหนักโมเลกุลระหว่างประมาณ 3,000 ดาลตัน ถึง 10,000 ดาลตัน 6. กระบวนการของข้อถือสิทธิที่ 3 ซึ่งสารละลายบัฟเฟอร์ที่สองดังกล่าว ประกอบด้วย เดกซ์เตรนซัลเฟต 7. กระบวนการของข้อถือสิทธิที่ 3 ซึ่งสารละลายบัฟเฟอร์ที่สองดังกล่าว ประกอบด้วย โซเดียมซัลเฟต 8. กระบวนการของข้อถือสิทธิที่ 3 ซึ่งสารละลายบัฟเฟอร์ที่สองดังกล่าว ประกอบด้วย เฮปปาริน 9. กระบวนการของข้อถือสิทธิที่ 6 ซึ่งเดกซ์แตรนซัลเฟตมีน้ำหนักโมเลกุลระหว่าง ประมาณ 8,000 ถึง 10,000 ดาลตัน 1 0. กระบวนการของข้อถือสิทธิที่ 3 ซึ่งสารละลายบัฟเฟอร์ที่หนึ่งและที่สอง ดังกล่าวประกอบด้วย HEPPS pH 8.0 1 1. กระบวนการของข้อถือสิทธิที่ 1 ซึ่งสารละลายบัฟเฟอร์ที่สองดังกล่าวมีส่วน เพิ่มเติมที่ประกอบด้วย สารรีดิวซ์ 1 2. กระบวนการของข้อถือสิทธิที่ 1 ซึ่งสารละลายบัฟเฟอร์ที่สองดังกล่าวมีส่วน เพิ่มเติมที่ประกอบด้วย ซิสเตอีนและ DTT ร่วมกัน 1 3. กระบวนการของข้อถือสิทธิที่ 1 ซึ่งสารละลายบัฟเฟอร์ที่สองดังกล่าวมีส่วน เพิ่มเติมที่ประกอบด้วย ดีเทอร์เจนท์ที่ไม่ถือประจุ 1 4. กระบวนการของข้อถือสิทธิที่ 1 ซึ่งสารละลายบัฟเฟอร์ที่สองดังกล่าวมีส่วน เพิ่มเติมที่ประกอบด้วย อาร์จินีน และ/หรือ ไลซีน 1 5. กระบวนการของข้อถือสิทธิที่ 1 ซึ่งขั้นตอนของการแยก (d) ดังกล่าว ประกอบด้วย การสัมผัสตามลำดับระหว่างโปรตีนที่ยึดเหนี่ยวเฮปปารินที่พับตัวใหม่แล้วดังกล่าวกับ สารรองรับทางโครมาโตกราฟีที่เป็นไฮดรอกซีอาปาไทท์, สารรองรับทางโครมาโตกราฟีแบบ อันตรกิริยาของส่วนที่ไม่ชอบน้ำที่หนึ่ง, สารรองรับทางโครมาโตกราฟีแบบแลกเปลี่ยนไอออนประจุ บวก, และสารรองรับมาโครมาโตกราฟีแบบอันตรกิริยาของส่วนที่ไม่ชอบน้ำที่สอง และการชะ โปรตีนที่ยึดเหนี่ยวเฮปปารินออกอย่างเลือกสรรจากสารรองรับแต่ละชนิด 1 6. กระบวนการของข้อถือสิทธิที่ 15 ซึ่งสารรองรับทางโครมาโตกราฟีแบบ อันตรกิริยาของส่วนที่ไม่ชอบน้ำที่หนึ่งดังกล่าวเลือกได้จากกลุ่มที่ประกอบด้วย บิวทิล, โปรปิล-, ออดทิล- และอาริล-อากาโรสเรซิน 1 7. กระบวนการของข้อถือสิทธิที่ 15 ซึ่งสารรองรับทางโครมาโตกราฟีแบบ อันตรกิริยาของส่วนที่ไม่ชอบน้ำที่หนึ่งดังกล่าวคือ สารรองรับที่เป็นบิวทิล-อากาโรสเรซิน และ สารรองรับทางโครมาโตกราฟีแบบอันตรกิริยาของส่วนที่ไม่ชอบน้ำที่สองดังกล่าวคือ สารรองรับ ที่เป็นเฟนนิลอากาโรสเรซิน 1 8. กระบวนการของข้อถือสิทธิที่ 1 ซึ่งขั้นตอนของการแยก (d) ดังกล่าว ประกอบด้วย การสัมผัสตามลำดับระหว่างโปรตีนที่ยึดเหนี่ยวเฮปปารินที่พับตัวใหม่แล้วดังกล่าวกับ สารรองรับที่แลกเปลี่ยนไอออนประจุบวก, สารรองรับทางโครมาโตกราฟีแบบอันตรกิริยาของส่วนที่ ไม่ชอบน้ำ และสารรองรับทางโครมาโตกราฟีที่แลกเปลี่ยนไอออน และการซะโปรตีนที่ยึดเหนี่ยว เฮปปารินออกอย่างเลือกสรรจากสารรองรับแต่ละชนิด 1 9. วิธีการสำหรับแยกเอาโปรตีนที่ยึดเหนี่ยวเฮปปารินจากเซลโปรคารีโอทที่เลี้ยง ไว้วิธีการประกอบด้วยขั้นตอนของ (a) การแยกโปรตีนที่ยึดเหนี่ยวเฮปปารินดังกล่าวออกจากเพอริพลาสซึมของ เซลโปรคารีโอทที่เลี้ยงไว้ดังกล่าว; (b) การดีเนเจอร์โปรตีนที่ยึดเหนี่ยวเฮปปารินที่แยกได้ดังกล่าวในสารละลาย บัฟเฟอร์ที่หนึ่งที่ประกอบด้วยสารเปลี่ยนแปลงการเรียงตัวและสารรีดิวซ์ (c) การบ่มโปรตีนที่ยึดเหนี่ยวเฮปปารินที่ดีเนเจอร์แล้วดังกล่าวในสารละลาย บัฟเฟอร์ที่สองที่ประกอบด้วย สารเปลี่ยนแปลงการเรียงตัว และสารโพลีแอนไอออนิคที่เติมหมู่ ซัลเฟตแล้วเป็นเวลาที่และในสภาพที่การพับตัวใหม่ของโปรตีนที่ยึดเหนี่ยวเฮปปารินเกิดขึ้น ซึ่งมี การเพิ่มโปรตีนที่ยึดเหนี่ยวเฮปปารินที่พับตัวใหม่แล้วที่แยกได้ประมาณ 2 ถึง 5 เท่า เมื่อเทียบกับการ บ่มที่ไม่มีสารโพลีแอนไอออนิคที่เติมหมู่ซัลเฟตแล้ว และ (d) การสัมผัสตามลำดับระหว่างโปรตีนที่ยึดเหนี่ยวเฮปปารินที่พับตัวใหม่แล้ว ดังกล่าวกับสารรองรับทางโครมาโตกราฟีที่เป็นไฮดรอกซีอาปาไทท์, สารรองรับทางโครมาโตกราฟี แบบอันตรกิริยาของส่วนที่ไม่ชอบน้ำที่หนึ่ง, สารรองรับทางโครมาโตกราฟีแบบแลกเปลี่ยนไอออน ประจุบวก และสารรองรับทางโครมาโตกราฟีแบบอันตรกิริยาของส่วนที่ไม่ชอบน้ำที่สองและการชะ โปรตีนที่ยึดเหนี่ยวเฮปปารินออกอย่างเลือกสรรจากสารรองรับแต่ละชนิด 2 0. วิธีการสำหรับทำให้โปรตีนที่ยึดเหนี่ยวเฮปปารินบริสุทธิ์ วิธีการประกอบด้วย ขั้นตอนของการสัมผัสตามลำดับระหว่างโปรตีนที่ยึดเหนี่ยวเฮปปารินที่พับตัวใหม่แล้วกับสารรองรับ ทางโครมาโตกราฟีที่เป็นไฮดรอกซีอาปาไทท์, สารรองรับทางโครมาโตกราฟีแบบอันตรกิริยาของ ส่วนที่ไม่ชอบน้ำที่หนึ่ง, สารรองรับทางโครมาโตกราฟีแบบแลกเปลี่ยนไอออนประจุบวก และสาร รองรับทางโครมาโตกราฟีแบบอันตรกิริยาของส่วนที่ไม่ชอบน้ำที่สอง และการชะโปรตีนที่ยึดเหนี่ยว เฮปปารินออกอย่างเลือกสรรจากสารรองรับแต่ละชนิด 2
1. วิธีการสำหรับแยกเอาโปรตีนที่ยึดเหนี่ยวเฮปปารินจากเซลโปรคารีโอทที่เลี้ยง ไว้วิธีการประกอบด้วยขั้นตอนของ (a) การแยกโปรตีนที่ยึดเหนี่ยวเฮปปารินดังกล่าวออกจากเพอริพลาสซึมของ เซลโปรคารีโอทที่เลี้ยงไว้ดังกล่าว; (b) การดีเนเจอร์โปรตีนที่ยึดเหนี่ยวเฮปปารินที่แยกได้ดังกล่าวในสารละลาย บัฟเฟอร์ที่หนึ่งที่ประกอบด้วยสารเปลี่ยนแปลงการเรียงตัวและสารรีดิวซ์ (c) การบ่มโปรตีนที่ยึดเหนี่ยวเฮปปารินที่ดีเนเจอร์แล้วดังกล่าวในสารละลาย บัฟเฟอร์ที่สองที่ประกอบด้วย สารเปลี่ยนแปลงการเรียงตัว และสารโพลีแอนไอออนิคที่เติมหมู่ ซัลเฟตแล้วเป็นเวลาที่และในสภาพที่การพับตัวใหม่ของโปรตีนที่ยึดเหนี่ยวเฮปปารินเกิดขึ้น ซึ่งมีการ เพิ่มโปรตีนที่ยึดเหนี่ยวเฮปปารินที่พับตัวใหม่แล้วที่แยกได้ประมาณ 2 ถึง 3 เท่าเมื่อเทียบกับการบ่มที่ ไม่มีสารโพลีแอนไอออนิคที่เติมหมู่ซัลเฟตแล้ว และ (d) การสัมผัสตามลำดับ ระหว่างโปรตีนที่ยึดเหนี่ยวเฮปปารินที่พับตัวใหม่แล้ว ดังกล่าวกับสารรองรับที่แลกเปลี่ยนไอออนประจุบวก; สารรองรับทางโครมาโตกราฟีแบบอันตร กิริยาของส่วนที่ไม่ชอบน้ำ และสารรองรับทางโครมาโตกราฟีที่แลกเปลี่ยนไอออน และการชะ โปรตีนที่ยึดเหนี่ยวเฮปปารินออกอย่างเลือกสรรจากสารรองรับแต่ละชนิด 2
2. วิธีการของข้อถือสิทธิที่ 19 หรือ 21 ซึ่งสารโพลีแอนไอออนิคมีน้ำหนักโมเลกุล อยู่ระหว่างประมาณ 3,000 ดาลตันถึง 10,000 ดาลตัน 2
3. วิธีการสำหรับทำให้โปรตีนที่ยึดเหนี่ยวเฮปปารินบริสุทธิ์ วิธีการ ประกอบด้วย ขั้นตอนของการสัมผัสตามลำดับระหว่างโปรตีนที่ยึดเหนี่ยวเฮปปารินที่พับตัวใหม่แล้ว กับสารรองรับที่แลกเปลี่ยนไอออนประจุบวก; สารรองรับทางโครมาโตกราฟีแบบอันตรกิริยาของ ส่วนที่ไม่ชอบน้ำและสารรองรับทางโครมาโตกราฟีที่แลกเปลี่ยนไอออน และการชะโปรตีนที่ ยึดเหนี่ยวเฮปปารินออกอย่างเลือกสรรจากสารรองรับแต่ละชนิด
TH601006472A 2006-12-21 การผลิตแบบรีคอมบิแนนท์ของโปรตีนที่ยึดเหนี่ยวเฮปปาริน TH74141B (th)

Publications (3)

Publication Number Publication Date
TH89903B TH89903B (th) 2008-05-30
TH89903A true TH89903A (th) 2008-05-30
TH74141B TH74141B (th) 2020-01-31

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
Geng et al. Liquid chromatography of recombinant proteins and protein drugs
JP5944101B2 (ja) 非グリコシル化タンパク質の精製
EP2958931B9 (en) Materials and methods for removing endotoxins from protein preparations
KR20070072510A (ko) 항체 정제를 위한 친화도- 및 이온 교환- 크로마토그래피
AU2005228834A1 (en) A method for chromatographic purification
JP2007535507A (ja) アルブミン結合体の精製方法
Eriksson et al. 6 Hydrophobic Interaction Chromatography
EP2619217A1 (en) Dissociation of product-complexed contaminants in chromatography
RU2008130072A (ru) Рекомбинантное получение связывающих гепарин белков
Pitiot et al. A potential set up based on histidine hollow fiber membranes for the extracorporeal removal of human antibodies
Westra et al. Immobilised metal-ion affinity chromatography purification of histidine-tagged recombinant proteins: a wash step with a low concentration of EDTA
JP2003528884A (ja) 高アニオン性タンパク質の精製方法
CN104507954A (zh) 磨光白蛋白的方法
JP2011528559A5 (th)
JP5635682B2 (ja) 疎水性相互作用クロマトグラフィー法
TH74141B (th) การผลิตแบบรีคอมบิแนนท์ของโปรตีนที่ยึดเหนี่ยวเฮปปาริน
TH89903A (th) การผลิตแบบรีคอมบิแนนท์ของโปรตีนที่ยึดเหนี่ยวเฮปปาริน
Ramos-Clamont et al. Novel hydrophobic interaction chromatography matrix for specific isolation and simple elution of immunoglobulins (A, G, and M) from porcine serum
US20030049819A1 (en) Method for the isolation of hydrophobic proteins
Tiainen et al. Plasmid adsorption to anion‐exchange matrices: Comments on plasmid recovery
Galaev et al. Polymer displacement in dye-affinity chromatography
Choe et al. Bioprocess intensification: a radical new process for recovering inclusion body protein
CN116829569A (zh) 蛋白质纯化缓冲液和方法
Tagliavia et al. Regeneration and Recycling of Supports for Biological Macromolecules Purification
Rao et al. Protein Separations by Ultrafiltration: Exploiting Small Charged Affinity Ligands