TH82428A - วงจรควบคุมสำหรับอัดประจุแบตเตอรีและเปิดหลอดไฟ - Google Patents

วงจรควบคุมสำหรับอัดประจุแบตเตอรีและเปิดหลอดไฟ

Info

Publication number
TH82428A
TH82428A TH601001970A TH0601001970A TH82428A TH 82428 A TH82428 A TH 82428A TH 601001970 A TH601001970 A TH 601001970A TH 0601001970 A TH0601001970 A TH 0601001970A TH 82428 A TH82428 A TH 82428A
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
voltage
power
lamp
delay time
battery
Prior art date
Application number
TH601001970A
Other languages
English (en)
Other versions
TH82428B (th
TH41878B (th
Inventor
ทาคาชิม่า นายโตโยทากะ
นิอิเซกิ นายเซจิ
Original Assignee
นายธเนศ เปเรร่า
นางดารานีย์ วัจนะวุฒิวงศ์
นางวรนุช เปเรร่า
Filing date
Publication date
Application filed by นายธเนศ เปเรร่า, นางดารานีย์ วัจนะวุฒิวงศ์, นางวรนุช เปเรร่า filed Critical นายธเนศ เปเรร่า
Publication of TH82428B publication Critical patent/TH82428B/th
Publication of TH82428A publication Critical patent/TH82428A/th
Publication of TH41878B publication Critical patent/TH41878B/th

Links

Abstract

DC60 การประดิษฐ์นี้เป็นการนำเสนอการอัดประจุแบตเตอรี และวงจรควบคุมการเปิดไฟหลอดไฟ ในขณะที่ไม่ได้อัดประจุ ตัวแปลงเป็นกระแสตรง 7-1 ถึงแม้จะตั้งต้นขึ้นก็ตามองค์ประกอบครึ่งคลื่น Wp รักษาสภาพ OFF แรงดันไฟขององค์ประกอบครึ่งคลื่น Wp เป็นลักษณะคลื่นเข้าใกล้คลื่นส่วนบวกในขณะ ไม่มีภาระ วงจรตรวจทราบแรงดันไฟ 801 ตรวจทราบแรงดันไฟขององค์ประกอบครึ่งคลื่น Wp วงจรข้าม แรงดันไฟ 803 ทำการลดลงเพียงความดันข้ามที่สัมพัทธ์ลักษณะคลื่นที่ได้ตรวจทราบกับแรงดันไฟอัด ประจุ Vc วงจรรวบรวม 804 ส่งกำลังออกของกำลังส่งรวบรวมสำหรับเป็นการแสดงเวลายืดหน่วง Vt วงจรควบคุมช่อง 805 ตามการแสดงเวลายืดหน่วงจากจุดเริ่มขององค์ประกอบครึ่งคลื่น Wn ของด้านลบทำ ให้ตัวแปลงเป็นกระแสตรง 7-2 เป็น ON ด้วยจังหวะเวลาที่ยืดหน่วงออก ให้มีเวลายืดหน่วง Td ที่ได้ เปรียบเทียบกับพื้นที่ของส่วนเกินให้มีกระแสไหลส่งออกไปยังด้านหลอดไฟ 6 ตั้งต้นขึ้น สำหรับ มาตรฐานกระแสไหลกำลังส่งในเวลาอัดประจุทำการปรับค่าสูงสุดของกระแสไหลส่งออกในขณะที่ไม่ได้ อัดประจุ สามารถทำเป็นค่าเฉลี่ยที่เท่าๆ กันได้ การประดิษฐ์นี้เป็นการนำเสนอการอัดประจุแบตเตอรี และวงจรควบคุมการเปิดไฟหลอดไฟ ในขณะที่ไม่ได้อัดประจุ ตัวแปลงเป็นกระแสตรง 7-1 ถึงแม้จะตั้งต้นขึ้นก็ตามองค์ประกอบครึ่งคลื่น Wp รักษาสภาพ OFF แรงดันไฟขององค์ประกอบครึ่งคลื่น Wp เป็นลักษณะคลื่นเข้าใกล้คลื่นส่วนบวกในขณะ ไม่มีภาระ วงจรตรวจทราบแรงดันไฟ 801 ตรวจทราบแรงดันไฟขององค์ประกอบครึ่งคลื่น Wp วงจรข้าม แรงดันไฟ 803 ทำการลดลงเพียงความดันข้ามที่สัมพัทธ์ลักษณะคลื่นที่ได้ตรวจทราบกับแรงดันไฟอัด ประจุ Vc วงจรรวบรวม 804 ส่งกำลังออกของกำลังส่งรวบรวมสำหรับเป็นการแสดงเวลายืดหน่วง Vt วงจรควบคุมช่อง 805 ตามการแสดงเวลายืดหน่วงจากจุดเริ่มขององค์ประกอครึ่งคลื่น Wn ของด้านลบทำ ให้ตัวแปลงเป็นกระแสตรง 7-2 เป็น ON ด้วยจังหวะเวลาที่ยืดหน่วงออก ให้มีเวลายืดหน่วง Td ที่ได้ เปรียบเทียบกับพื้นที่ของส่วนเกินให้มีกระแสไหลส่งออกไปยังด้านหลอดไฟ 6 ตั้งต้นขึ้น สำหรับ มาตรฐานกระแสไหลกำลังส่งในเวลาอัดประจุทำการปรับค่าสูงสุดของกระแสไหลส่งออกในขณะที่ไม่ได้ อัดประจุ สามารถทำเป็นค่าเฉลี่ยที่เท่าๆ กันได้

Claims (2)

1. วงจรควบคุมการเปิดไฟหลอดไฟและการอัดประจุแบตเตอรีมีคุณลักษณะเฉพาะคือ ทำการ แบ่งแยกกำลังไฟกำเนิดกระแสสลับเป็นองค์ประกอบครึ่งลูกคลื่นด้านบวกและด้านลบ ทำการส่งกำลังออก ด้านหนึ่งที่ขั้วจ่ายป้อนแหล่งไฟที่ 1 ใช้ต่อเชื่อมไปยังขั้วอัดประจุของแบตเตอรี ไปพร้อมๆกับเป็นวงจร ควบคุมการเปิดไฟหลอดไฟและอัดประจุแบตเตอรีที่เป็นกำลังส่งออกที่ขั้วจ่ายป้อนแหล่งไฟที่ 2 ใช้ต่อเชื่อมไปยังหลอดไฟอื่นๆ โดยมีขั้นตอนตรวจทราบสำหรับตรวจจับแรงดันไฟฟ้าที่มีองค์ประกอบครึ่งคลื่นที่เป็นกำลังที่ ขั้วจ่ายป้อนแหล่งไฟที่ 1 กับขั้นตอนบันทึก ทำการบันทึกค่ามาตรฐานที่สัมพัทธ์กับแรงดันไฟอัดประจุของ แบตเตอรีดังกล่าว กับขั้นตอนการจัดการสัญญาณที่ 1 ที่เป็นสัญญาณตรวจทราบตามขั้นตอนตรวจทราบ ดังกล่าว ค่าลดลงเพียงค่ามาตรฐานดังกล่าวเท่านั้น กับขั้นตอนจัดการสัญญาณที่ 2 ที่แสดงเวลาในการ หน่วงยืดที่ได้เกิดสัญญาณที่สัมพัทธ์บวกที่มีขนาดสัญญาณกำลังส่งออกของขั้นตอนจัดการสัญญาณที่ 1 ดังกล่าว ได้จัดเตรียมขั้นตอนควบคุมการหน่วงยืดจากช่วงเวลาที่ตั้งต้นองค์ประกอบครึ่งคลื่นดังกล่าว เป็นช่วงเวลาเริ่มส่งกำลังออกขององค์ประกอบครึ่งคลื่นที่เป็นกำลังส่งที่ขั้วจ่ายแหล่งไฟที่ 2 ตามเวลายืด ขยายที่กระทำตามที่แสดงเวลาที่หน่วงยืดออกนี้ 2. วงจรควบคุมการเปิดหลอดไฟและอัดประจุแบตเตอรีมีคุณลักษณะเฉพาะคือ ขั้นตอนจัดการ สัญญาณที่ 2 ดังกล่าว ในวงจรควบคุมเปิดหลอดไฟและอัดประจุแบตเตอรีที่สอดคล้องกับข้อถือสิทธิข้อ 1 เป็นส่วนเกิดการแสดงเวลาที่ยืดเป็นการรวบรวมสัญญาณกำลังส่งของขั้นตอนจัดการสัญญาณที่ 1 ดังกล่าว 3. วงจรรักษาภาระต่อเชื่อมที่มีลักษณะเฉพาะคือ ทำการแบ่งแยกกำลังส่งออกของเครื่องกำเนิด ไฟฟ้ากระแสสลับเป็นองค์ประกอบครึ่งคลื่นของด้านบวกและด้านลบ สอดใส่ตัวแปลงเป็นไฟกระแสตรง ตามชุดควบคุมอัดประจุแบตเตอรีที่จ่ายป้อนอีกด้านหนึ่งนั้นที่ภาระต่อเชื่อมและขั้วบวกของแบตเตอรี เป็น วงจรรักษาภาระต่อเชื่อมที่รักษาภาระต่อเชื่อมดังกล่าวในกรณีที่แบตเตอรีดังกล่าวเป็นสภาพเปิด ให้มีเวลา ยืดหน่วงที่ 1 ที่ได้เกิดตามขั้นตอนเกิดเวลายืดหน่วงที่ 1 ดังกล่าว กับขั้นตอนเกิดเวลายืดหน่วงที่ 1 ที่เกิด เวลายืดหน่วงที่ 1 ที่เกี่ยวข้องด้านบวกกับกำลังของเครื่องกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับดังกล่าว และจัดเตรียม ขั้นตอนควบคุมตัวแปลงเป็นไฟกระแสตรง ที่ควบคุมช่วงเวลารอบจุดของตัวแปลงเป็นไปกระแสตรง ดังกล่าว 4. วงจรรักษาภาระต่อเชื่อมที่มีคุณลักษณะเฉพาะคือเกี่ยวกับวงจรรักษาภาระต่อเชื่อมที่เป็นการ ประดิษฐ์ที่ 3 ขั้นตอนการเกิดเวลายืดหน่วงที่ 1 ดังกล่าวในบรรดากำลังของเครื่องกำเนิดไฟกระแสสลับ ดังกล่าว เป็นส่วนที่เกิดการหน่วงยืดที่ 1 ที่ตอบสนองค่าแรงดันไฟขององค์ประกอบครึ่งคลื่นของก่อน ครึ่งวัฏจักรต่อองค์ประกอบครึ่งคลื่นที่จ่ายป้อนที่ด้านภาระต่อเชื่อมดังกล่าว 5. วงจรรักษาภาระต่อเชื่อมที่มีคุณลักษณะเฉพาะคือเกี่ยวกับวงจรรักษาภาระต่อเชื่อมที่เป็นการ ประดิษฐ์ในข้อถือสิทธิที่ 4 ขั้นตอนการเกิดเวลายืดหน่วงที่ 1 ดังกล่าว เป็นการเกิดเวลายืดหน่วงที่ 1 ตาม ค่าที่รวบรวมของค่าแรงดันไฟดังกล่าว 6. วงจรรักษาภาระต่อเชื่อมที่มีคุณลักษณะเฉพาะคือเกี่ยวกับวงจรรักษาภาระต่อเชื่อมที่เป็นตั้งแต่ การประดิษฐ์ในข้อถือสิทธิที่ 3 ถึง 5 ข้อใดข้อหนึ่ง จัดเตรียมขั้นตอนตรวจทราบแรงดันไฟแบตเตอรีที่ตรวจ ทราบแรงดันไฟขั้วของแบตเตอรีดังกล่าว ขั้นตอนการตรวจทราบแรงดันไฟแบตเตอรีดังกล่าวสูงกว่าค่า ขอบเขตบนของแรงดันไฟอัดประจุแบตเตอรี และมีค่าอัดต่ำกว่าแรงดันไฟกำลังของตัวแปลงเป็นไฟ กระแสตรงดังกล่าว เป็นส่วนทำงานขั้นตอนควบคุมตัวแปลงเป็นไฟกระแสตรงที่มีช่วงเวลายืดหน่วงที่ 1 ดังกล่าว ในขณะที่แรงดันไฟขั้วแบตเตอรีดังกล่าวอยู่ในขอบเขตค่าอัดดังกล่าว 7. วงจรรักษาภาระต่อเชื่อมที่มีคุณลักษณะเฉพาะคือเกี่ยวกับวงจรรักษาภาระต่อเชื่อมที่เป็นตั้งแต่ การประดิษฐ์ในข้อถือสิทธิที่ 3 ถึง 6 ข้อใดข้อหนึ่งคือ จัดเตรียมขั้นตอนตรวจทราบแรงดันไฟตัวแปลงเป็น ไฟกระแสตรง ที่ตรวจทราบแรงดันไฟส่งกำลังออกของตัวแปลงเป็นไฟกระแสตรง ดังกล่าว กับขั้นตอน การเกิดเวลาหน่วงยืดที่ 2 ที่เกิดเวลายืดขยายที่ 2 ที่นานกว่าเวลาหน่วงยืดที่ 1 ดังกล่าว ในขณะที่แรงดันไฟ กำลังส่งออกของตัวแปลงเป็นไฟกระแสตรง ดังกล่าวสูงกว่าค่าที่กำหนด จึงเป็นการกระทำวงจรควบคุม ตัวแปลงเป็นไฟกระแสตรง ที่มีเวลาหน่วงยืดที่ 2 ดังกล่าว 8. วงจรควบคุมการเปิดหลอดไฟที่มีคุณลักษณะเฉพาะคือ แบ่งแยกกำลังส่งเครื่องกำเนิด กระแสสลับเป็นองค์ประกอบครึ่งคลื่นด้านบวกและด้านลบ ทำการส่งกำลังออกอีกด้านหนึ่งไปที่ขั้วอัด ประจุของแบตเตอรี เป็นวงจรควบคุมการเปิดหลอดไฟที่ส่งกำลังหลอดไฟที่สอดใส่ตัวแปลงเป็นไฟ กระแสตรง ด้านอื่น รวบรวมความดันกำลังส่งออกของเครื่องกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับดังกล่าว มีเวลา หน่วงยืดที่ได้เกิดขึ้นดังกล่าว กับขั้นตอนการควบคุมเฟสที่เกิดเวลาหน่วงยืดที่เกี่ยวข้องด้านบวกที่ แรงดันไฟส่งกำลังของเครื่องกำเนิดไฟฟ้ากระแสสลับ จัดเตรียมขั้นตอนควบคุมตัวแปลงเป็นไฟกระแส ตรงที่ควบคุมจังหวะรอบจุดของตัวแปลงเป็นไฟกระแสตรงดังกล่าว ขั้นตอนการควบคุมเฟสดังกล่าวนั้น ในบรรดากำลังของเครื่องกำเนิดไฟกระแสสลับดังกล่าวเป็นส่วนที่เกิดเวลาหน่วงยืดดังกล่าวที่ตอบสนอง ค่าแรงดันไฟขององค์ประกอบครึ่งคลื่นก่อนครึ่งวัฏจักรต่อองค์ประกอบครึ่งคลื่นจ่ายป้อนไปที่หลอดไฟ ดังกล่าว 9. วงจรควบคุมการเปิดหลอดไฟที่มีคุณลักษณะเฉพาะคือ ตามวงจรควบคุมการเปิดหลอดไฟที่ สอดคล้องกับการประดิษฐ์ในข้อถือสิทธิที่ 8 จัดเตรียมขั้นตอนการปรับแรงดันหลอดไฟที่ปรับแรงดันไฟที่ จ่ายป้อนไปที่หลอดไฟดังกล่าว เป็นการจัดเตรียมขั้นตอนที่เฉลี่ยค่าประสิทธิผลที่เป็นการเฉลี่ยค่า ประสิทธิผลของแรงดันไฟที่จ่ายไปยังหลอดไฟดังกล่าวในขั้นตอนการปรับแรงดันไฟหลอดไฟดังกล่าว 1 0. วงจรควบคุมการเปิดหลอดไฟที่มีคุณลักษณะเฉพาะคือ ตามวงจรควบคุมการเปิดหลอดไฟที่ สอดคล้องกับการประดิษฐ์ในข้อถือสิทธิที่ 9 คือเปรียบเทียบวงจรรวบรวมที่รวบรวมแรงดันไฟจ่ายไปที่ หลอดไฟดังกล่าวในขั้นตอนเฉลี่ยค่าประสิทธิผลดังกล่าว กับค่าอัดที่กำหนดของค่ารวบรวมของวงจร รวบรวมดังกล่าว ในกรณีค่ารวบรวมดังกล่าวหมุนวนส่วนบนค่าอัดดังกล่าวในขณะจังหวะเวลารอบของ ตัวแปลงเป็นไฟกระแสตรงตามขั้นตอนควบคุมตัวแปลงเป็นไฟกระแสตรงดังกล่าว ได้จัดเตรียมขั้นตอน ควบคุมจังหวะโดยรอบซึ่งควบคุมจังหวะเวลาโดยรอบของตัวแปลงเป็นไฟกระแสตรง ดังกล่าวในการเพิ่ม เวลาหน่วงยืดยิ่งขึ้น ที่เวลาหน่วงยืดที่เกิดในขั้นตอนควบคุมเฟสดังกล่าว 1
1. วงจรควบคุมการเปิดหลอดไฟที่มีคุณลักษณะเฉพาะคือ ตามวงจรควบคุมการเปิดหลอดไฟที่ สอดคล้องกับการประดิษฐ์ในข้อถือสิทธิที่ 9 หรือ 10 คือจัดเตรียมชุดขนาดปริมาณเป็นอย่างน้อยในวงจร รวบรวมดังกล่าว ขั้นตอนการปรับแรงดันไฟหลอดไฟเป็นการจัดเตรียมวงจรบีบอัดเวลาอัดประจุให้เร็ว เวลาอัดประจุของชุดปริมาณดังกล่าว 1
2. วงจรควบคุมการเปิดหลอดไฟที่มีคุณลักษณะเฉพาะคือ ตามวงจรควบคุมการเปิดหลอดไฟที่ สอดคล้องกับตั้งแต่การประดิษฐ์ในข้อถือสิทธิที่ 9 ถึง 11 ข้อใดข้อหนึ่ง ซึ่งขั้นตอนการปรับแรงดันไฟ หลอดไฟดังกล่าวจัดเตรียมวงจรป้อนกันแรงดันไฟฟ้าเกินซึ่งป้อนกันการเพิ่มของแรงดันไฟฟ้าเกินไปยัง หลอดไฟดังกล่าว
TH601001970A 2006-04-28 วงจรควบคุมสำหรับอัดประจุแบตเตอรีและเปิดหลอดไฟ TH41878B (th)

Publications (3)

Publication Number Publication Date
TH82428B TH82428B (th) 2007-01-11
TH82428A true TH82428A (th) 2007-01-11
TH41878B TH41878B (th) 2014-10-21

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
CN101604861B (zh) 电池充电控制电路及充电器
US8704493B2 (en) Battery system
US7994731B2 (en) Universal input voltage device
EP2362517A2 (en) Power storage system
JP6626055B2 (ja) インテリジェント無停電電源充電装置およびその制御方法
CN103607009B (zh) 一种带自动保护功能的充放电电路
KR101274110B1 (ko) 역률보상 및 전류제어 구동회로를 적용한 led 등기구
CN102917503B (zh) 一种储能led驱动器系统
US20140266069A1 (en) Power Converter Circuit Including at Least One Battery
CN203225573U (zh) Mos管切换可复用dc-dc模块的储能led驱动器
CN103248108A (zh) 带mos管切换和可复用dc-dc模块的led驱动器
US20170005511A1 (en) Line interactive ups and controlling method thereof
US9893560B2 (en) AC-DC power supply device and switching mode power supply device
CN103260303A (zh) 便携式照明装置、控制给负载供电的方法及控制器
RU101306U1 (ru) Аварийный светильник постоянного действия со светодиодными нагрузками
CN102256411A (zh) 点亮装置及使用该点亮装置的照明器具
CN101540514B (zh) 电池充电控制电路及充电器
CN104753157A (zh) 基于TOPSwitch-GX系列集成芯片控制充电器
CN201898641U (zh) 自适应电路
KR101266003B1 (ko) 스위칭 드라이버 ic를 적용한 led 등기구
CN101398142B (zh) 应用于led的电源系统
CN102891523A (zh) 一种电能自循环式大功率充电机老化控制方法及其系统
CN101377614A (zh) 投影机散热系统
CN104362717B (zh) 一种蓄电池充电系统
KR20080005273A (ko) 업스트림 스텝―업 장치를 포함하는 인버터를 동작시키기위한 방법