TH71996B - ตัวฝังยึดในกระดูกแบบเกลียวใน - Google Patents

ตัวฝังยึดในกระดูกแบบเกลียวใน

Info

Publication number
TH71996B
TH71996B TH601002048A TH0601002048A TH71996B TH 71996 B TH71996 B TH 71996B TH 601002048 A TH601002048 A TH 601002048A TH 0601002048 A TH0601002048 A TH 0601002048A TH 71996 B TH71996 B TH 71996B
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
implant
bone
thread
head
threaded
Prior art date
Application number
TH601002048A
Other languages
English (en)
Other versions
TH86999A (th
TH86999B (th
Inventor
สุประสงค์สิน นางนภาวรรณ
จังศิริวัฒนธำรง นางสาววัชรี
เกษมศานติ์ นางสุธาสินี
โรจนวุฒินนท์ นางสุภา
สิทธิเสรีประทีป นายกฤษณ์ไกรพ์
จิตต์สอาด นายจตุรงค์
สุวรรณประทีป นายจินตมัย
ลุมพิกานนท์ นายณรงค์
พรหมมินทร์ นายดนุ
จิรจริยาเวช นายบัณฑิต
คงขุนเทียน นายปฐวี
ธรานนท์ นายวิจิตร
Original Assignee
นายนินนาท บุญยะเดช
Filing date
Publication date
Application filed by นายนินนาท บุญยะเดช filed Critical นายนินนาท บุญยะเดช
Publication of TH86999A publication Critical patent/TH86999A/th
Publication of TH86999B publication Critical patent/TH86999B/th
Publication of TH71996B publication Critical patent/TH71996B/th

Links

Abstract

DC60 (28/11/57) ตัวยึดฝังในกระดูกแบบเกลียวในเพื่อใช้เป็นรากฟันเทียม ตามการประดิษฐ์นี้ ประกอบด้วย ส่วนหัว ที่ซึ่งด้านในมีลักษณะเป็นร่องเว้ารูปทรงเรขาคณิต บ่าที่ใช้รองรับส่วนอุปกรณ์เสริม และส่วนที่ เป็นเกลียวในทอดยาวไปตามแนวแกนจากส่วนหัวไปยังส่วนลำตัวของตัวฝังยึดดังกล่าว เพื่อใช้ช่วยใน การยึดกับอุปกรณ์เสริมแบบมีเกลียวที่มาต่อด้านบน, ส่วนลำตัว ซึ่งมีเกลียวนอกรอบตัวฝังยึดในกระดูก, และส่วนปลายของตัวฝังยึดในกระดูก ซึ่งมีช่องเปิดที่ยื่นเข้าไปในส่วนลำตัวในทิศทางตามแนวแกน โดยช่องเปิดดังกล่าวมีเกลียวในเพื่อทำให้เกิดการยึดติดกันระหว่างกระดูกและตัวฝังยึดดีขึ้น รวมทั้งทำ ให้ความเค้นที่เกิดขึ้นบนกระดูกที่ติดกับตัวฝังยึดมีค่าลดลง และมีเกลียวนอกที่ลดระดับของเส้นผ่าน ศูนย์กลางเพื่อลดความเสียดทานในการใส่ตัวฝังยึดในกระดูก โดยส่วนปลายของเกลียวนอกมีรอยบาก อย่างน้อย 2 อัน เพื่อช่วยลดความเสียดทานขณะสวมใส่ตัวฝังยึดลงไปในกระดูก และมีบ่าที่บริเวณปลาย สุดของตัวฝังยึด นอกจากนี้เกลียวนอกของส่วนลำตัวและส่วนปลายมีลักษณะเป็นสี่เหลี่ยมคางหมูหรือ คล้ายคางหมูในภาคตัดขวาง ซึ่งเหมาะสำหรับใช้รับแรงกดหรือความแค้นกดที่เกิดในแนวแกนของตัวฝัง ยึดในกระดูกเป็นหลัก และทำให้เกิดความเค้นบนกระดูกที่ติดกับผิวตัวฝังยึดในกระดูกมีค่าอยู่ในช่วงที่ ต่ำที่สุด ตัวฝังยึดในกระดูกแบบเกลียวในนี้สามารถนำไปใช้งานเป็นหมุดหรือเสาหลักในชุดหูเทียม เอ็น ระหว่างข้อต่อเข่า หรือศอก เป็นต้น เป็นการทดแทนอวัยวะส่วนที่ขาดหายให้สามารถกลับมาทำหน้าที่ ได้เช่นเดิม แก้ไข 28/03/2560 ตัวยึดฝังในกระดูกแบบเกลียวเพื่อใช้เป็นรากฟันเทียม ตามการประดิษฐ์นี้ ประกอบด้วยส่วนหัว ที่ ซึ่งด้านในมีลักษณะเป็นร่องเว้ารูปทรงเรขาคณิต บ่าที่ใช้รองรับส่วนอุปกรณ์เสริม และส่วนที่เป็นเกลียวใน ทอดยาวไปตามแนวแกนจากส่วนหัวไปยังส่วนลำตัวของตัวฝังยึดดังกล่าว เพื่อใช้ช่วยในการยึดกับ อุปกรณ์เสริมแบบมีเกลียวที่มาต่อด้านบน, ส่วนลำตัว ที่มีเกลียวนอกรอบตัวฝังยึดในกระดูก, และส่วนปลาย ของตัวฝังยึดในกระดูกซึ่งมีช่องเปิดที่ยื่นเข้าไปในส่วนลำตัวในทิศทางตามแนวแกน โดยช่องเปิดดังกล่าวมี เกลียวในเพื่อทำให้เกิดการยึดติดกันระหว่างกระดูกและตัวฝังยึดดีขึ้นรวมทั้งทำให้ความเค้นที่เกิดขึ้นบน กระดูกที่ติดกับตัวฝังยึดมีค่าลดลง และมีเกลียวนอกที่ลดระดับของเส้นผ่านศูนย์กลางเพื่อลดความเสียดทาน ในการใส่ตัวฝังยึดในกระดูก โดยส่วนปลายของเกลียวนอกมีรอยบากอย่างน้อย 2 อัน เพื่อช่วยลดความเสียด ทานขณะสวมใส่ตัวฝังยึดลงไปในกระดูก และมีบ่าที่บริเวณปลายสุดของตัวฝังยึด นอกจากนี้เกลียวนอกของ ส่วนลำตัวและส่วนปลายมีลักษณะเป็นสี่เหลี่ยมคางหมูหรือคล้ายคางหมูในภาคตัดขวางซึ่งเหมาะสำหรับใช้ รับแรงกดหรือความเค้นกดที่เกิดในแนวแกนของตัวฝังยึดในกระดูกเป็นหลัก และทำให้เกิดความเค้นบน กระดุกที่ติดกับผิวตัวฝังยึดในกระดูกมีค่าอยู่ในช่วงที่ต่ำที่สุด ตัวฝังยึดในกระดูกแบบเกลียวในนี้สามารถ นำไปใช้งานเป็นหมุดหรือเสาหลักในชุดหูเทียม เอ็นระหว่างข้อต่อเข่า หรือศอก เป็นต้น เป็นการทดแทน อวัยวะส่วนที่ขาดหายให้สามารถกลับมาทำหน้าที่ได้เช่นเดิม ------- ตัวยึดฝังในกระดูกแบบเกลียวในเพื่อให้เป็นรากฟันเทียม ตามการประดิษฐ์นี้ ประกอบด้วย ส่วนหัว ที่ซึ่งด้านในมีลักษณะเป็นร่องเว้ารูปทรงเรขาคณิต บ่าที่ใช้รองรับส่วนอุปกรณ์เสริม และส่วนที่ เป็นเกลียวในทอดยาวไปตามแนวแกนจากส่วนหัวไปยังส่วนลำตัวของตัวฝังยึดดังกล่าว เพื่อใช้ช่วยใน การยึดกับอุปกรณ์เสริมแบบมีเกลียวที่มาต่อด้านบน, ส่วนลำตัว ซึ่งมีเกลียวนอกรอบตัวฝังยึดในกระดูก, และส่วนปลายของตัวฝังยึดในกระดูก ซึ่งมีช่องเปิดที่ยื่นเข้าไปในส่วนลำตัวในทิศทางตามแนวแกน โดยช่องเปิดดังกล่าวมีเกลียวในเพื่อทำให้เกิดการยึดติดกันระหว่างกระดูกและตัวฝังยึดดีขึ้น รวมทั้งทำ ให้ความเค้นที่เกิดขึ้นบนกระดูกที่ติดกับตัวฝังยึดมีค่าลดลง และมีเกลียวนอกที่ลดระดับของเส้นผ่าน ศูนย์กลางเพื่อลดความเสียดทานในการใส่ตัวฝังยึดในกระดูก โดยส่วนปลายของเกลียวนอกมีรอยบาก อย่างน้อย 2 อัน เพื่อช่วยลดความเสียดทานขณะสวมใส่ตัวฝังยึดลงไปในกระดูก และมีบ่าที่บริเวณปลาย สุดของตัวฝังยึด นอกจากนี้เกลียวนอกของส่วนลำตัวและส่วนปลายมีลักษณะเป็นสี่เหลี่ยมคางหมูหรือ คล้ายคางหมูในภาคตัดขวาง ซึ่งเหมาะสำหรับใช้รับแรงกดหรือความแค้นกดที่เกิดในแนวแกนของตัวฝัง ยึดในกระดูกเป็นหลัก และทำให้เกิดความเค้นบนกระดูกที่ติดกับผิวตัวฝังติดในกระดูกมีค่าอยู่ในช่วงที่ ต่ำที่สุด ตัวฝังยึดในกระดูกแบบเกลียวในนี้สามารถนำไปใช้งานเป็นหมุดหรือเสาหลักในชุดหูเทียม เอ็น ระหว่างข้อต่อเข้า หรือศอก เป็นต้น เป็นการทดแทนอวัยวะส่วนที่ขาดหายให้สามารถกลับมาทำหน้าที่ ได้เช่นเดิม

Claims (9)

ข้อถือสิทธฺ์ (ทั้งหมด) ซึ่งจะไม่ปรากฏบนหน้าประกาศโฆษณา :------20/03/2562------(OCR) หน้า 1 ของจำนวน 1 หน้าข้อถือสิทธิ 1.ตัวฝังยึดในกระดูกแบบเกลียวใน (1) ที่ประกอบด้วยส่วนหัว (4) ส่วนลำตัว (3) และส่วนปลาย (5) โดยส่วนหัว (4) ของตัวฝังยึดดังกล่าวมีร่องเว้ารูปทรงเรขาคณิต (6) เพื่อรองรับอุปกรณ์สำหรับตัวฝังยึด (1) ลงในกระลูก มีเกลียวด้านใน (8) ทอดยาวไปตามแนวแกนจากส่วนหัว (4) ไปยังส่วนลำตัว (3)ของตัวฝังยึดตังกล่าว สำหรับใช้ยึดกับอุปกรณ์เสริมแบบมีเกลียวภายนอก ส่วนลำตัว (3) มีเกลียวนอก (2) รอบตัวฝังยึดในกระดูกแบบเกลียวใน (1) ยาวตลอดไปจนถึงส่วนปลาย (5) เพื่อใช้สำหรับการยึดกับกระดูก และ ส่วนปลาย (5) ที่มีเกลียวนอก (2) ต่อมาจากส่วนลำตัว (3) และมีรอยบาก (15) อย่างน้อย 2 อัน เพื่อช่วยลดความเสียดทานขณะสวมใส่โดยนำร่องตัดเซาะเป็นร่องเกลียวเพื่อให้ทำการขันได้ง่ายขึ้น ที่มีลักษณะพิเศษเฉพาะคือ ส่วนหัว (4) ประกอบด้วย บ่า (7) อยู่เหนือร่องเว้ารูปทรงเรขาคณิต (6) ที่มีลักษณะเป็นรูปทรงหกเหลี่ยม สามเหลี่ยม หรือแปดเหลี่ยม อย่างใดอย่างหนึ่ง ส่วนปลาย (5) ของตัวฝังยึดในกระดูกแบบเกลียวใน (1) ประกอบด้วยช่องเปิดที่ยื่นเข้าไปภายในส่วนลำตัวในทิศทางตามแนวแกน โดยช่องเปิดดังกล่าวมีเกลียวใน (9) เพื่อช่วยในการยึดเกาะกับกระดูกและส่วนปลาย (5) ดังกล่าวยังประกอบด้วย บ่า (16) อยู่ที่บริเวณปลายสุดในกระดูกแบบเกลียวใน (1) เกลียวนอก (2) ของส่วนลำตัว (3) และส่วนปลาย (5) มีลักษณะคล้ายสี่เหลี่ยมคางหมู ที่ซึ่งประกอบด้วยส่วนเกลียวด้านล่าง (11) ที่ตั้งฉากกับร่องเกลียว (10) โดยยอดเกลียว (12) ขนานกับร่องเกลียว(10) และด้านบนของเกลียวมีลักษณะเป็นเส้นโค้ง (13) รับกับร่องเกลียว (10) ตัดกับขอบยอดเกลียว (12)และ เกลียวนอก (2) ของส่วนปลาย (5) ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางลดลงมาจากเกลียวนอก (2) ของส่วนลำตัว(3) 2.ตัวฝังยึดในกระลูกแบบเกลียวในตามข้อถือสิทธิข้อที่ 1 ที่ซํ่งเกลียวนอก (2) ของส่วนลำตัว (3)และส่วนปลาย (5) ที่ด้านบนของเกลียวมีลักษณะเป็นเส้นตรง (14) เอียงทำมุมลาดจากร่องเกลียว (10) ตัดกับขอบยอดเกลียว (12) 3.ตัวฝังยึดในกระลูกแบบเกลียวในตามข้อถือสิทธิ 1 หรือ 2 ข้อใดข้อหนง ที่ซํ่งเกลียวนอก (2) มีระยะห่างระหว่างเกลียวที่เหมาะสมคือ 1.2-1.5 มิลลิเมตร 4.ตัวฝังยึดในกระลูกแบบเกลียวในตามข้อถือสิทธิข้อที่ 1 ที่ซํ่งส่วนปลาย (5) มีเกลียวใน (9) ที่มีความลึกอยู่ในระยะ 1-3.5มิลลิเมตร ------------ แก้ไข 28/03/2560 1. ตัวฝังยึดในกระดูกแบบเกลียวใน (1) ที่ประกอบด้วยส่วนหัว (4) ส่วนลำตัว (3) และส่วนปลาย (5) โดยส่วนหัว (4) ของตัวฝังยึดดังกล่าวมีร่องเว้ารูปทรงเรขาคณิต (6) เพื่อรองรับอุปกรณ์สำหรับตัว ฝังยึด (1) ลงในกระดูก มีเกลียวด้านใน (8) ทอดยาวไปตามแนวแกนจากส่วนหัว (4) ไปยังส่วนลำตัว (3) ของตัวฝังยึดดังกล่าว สำหรับใช้ยึดกับอุปกรณ์เสริมแบบมีเกลียวภายนอก ส่วนลำตัว (3) มีเกลียวนอก (2) รอบตัวฝังยึดในกระดูกแบบเกลียวใน (1) ยาวตลอดไปจนถึงส่วน ปลาย (5) เพื่อใช้สำหรับการยึดกับกระดูก และ ส่วนปลาย (5) ที่มีเกลียวนอก (2) ต่อมาจากส่วนลำตัว (3) และมีรอยบากอย่างน้อย 2 อัน เพื่อช่วย ลดความเสียดทานขณะสวมใส่โดยนำร่องตัดเซาะเป็นร่องเกลียวเพื่อให้ทำการขันได้ง่ายขึ้น โดยตัวฝังยึด ดังกล่าวสามารถนำไปใช้งานเป็นหมุด หรือเสาหลัก ในชุดหูเทียม เอ็นระหว่างข้อต่อเข่า หรือศอกที่มี ลักษณะพิเศษเฉพาะคือ ส่วนหัว (4) ประกอบด้วย บ่า (7) อยู่เหนือร่องเว้ารูปทรงเรขาคณิต (6) ที่มีลักษณะเป็นรูปทรงหก เหลี่ยม สามเหลี่ยม หรือแปดเหลี่ยม อย่างใดอย่างหนึ่ง ส่วนปลาย (5) ของตัวฝังยึดในกระดูกแบบเกลียวใน (1) ประกอบด้วยช่องเปิดที่ยื่นเข้าไปภายใน ส่วนลำตัวในทิศทางตามแนวแกน โดยช่องเปิดดังกล่าวมีเกลียวใน (9) เพื่อช่วยในการยึดเกาะกับกระดูกและ ส่วนปลาย (5) ดังกล่าวยังประกอบด้วย บ่า (16) อยู่ที่บริเวณปลายสุดในกระดูกแบบเกลียวใน (1) เกลียวนอก (2) ของส่วนลำตัว (3) และส่วนปลาย (5) มีลักษณะคล้ายสี่เหลี่ยมคางหมู ที่ซึ่ง ประกอบด้วยส่วนเกลียวด้านล่าง (11) ที่ตั้งฉากกับร่องเกลียว (10) โดยยอดเกลียว (12) ขนานกับร่องเกลียว (10) และด้านบนของเกลียวมีลักษณะเป็นเส้นโค้ง (13) รับกับร่องเกลียว (10) ตัดกับขอบยอดเกลียว (12) และ เกลียวนอก (2) ของส่วนปลาย (5) ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางลดลงมาจากเกลียวนอก (2) ของส่วนลำตัว (3) 2. ตัวฝังยึดในกระดูกแบบเกลียวในตามข้อถือสิทธิข้อที่ 1 ที่ซึ่งเกลียวนอก (2) ของส่วนลำตัว (3) และส่วนปลาย (5) ที่ด้านบนของเกลียวมีลักษณะเป็นเส้นตรง (14) เอียงทำมุมลาดจากร่องเกลียว (10) ตัดกับ ขอบยอดเกลียว (12) 3. ตัวฝังยึดในกระดูกแบบเกลียวในตามข้อถือสิทธิ 1 หรือ 2 ข้อใดข้อหนึ่ง ที่ซึ่งเกลียวนอก (2) มี ระยะห่างระหว่างเกลียวที่เหมาะสมคือ 1.2-1.5 มิลลิเมตร 4. ตัวฝังยึดในกระดูกแบบเกลียวในตามข้อถือสิทธิข้อที่ 1 ที่ซึ่งส่วนปลาย (5) มีเกลียวใน (9) ที่มี ความลึกอยู่ในระยะ 1 - 3.5 มิลลิเมตร -------
1. ตัวฝังยึดในกระดูกแบบเกลียวในที่ประกอบด้วยส่วนลำตัว (3) ที่มีเกลียวนอก (2) รอบตัวฝังยึดใน กระดูดแบบเกลียวใน (1) สำหรับการยึดกับกระดูก โดยส่วนลำตัว (3) จะเชื่อมต่อกับส่วนหัว (4) ซึ่งมี ผนังด้านนอกเรียบไม่เป็นเกลียว ที่ซึ่งส่วนหัว (4) ของตัวฝังยึดดังกล่าวมีร่องเว้ารูปทรงเรขาคณิต (6) เพื่อรองรับอุปกรณ์สำหรับขันตัวฝังยึด (1) ลงในกระดูก และมีเกลียวด้านใน (8) ทอดยาวไปตาม แนวแกนจากส่วนหัว (4) ไปยังส่วนลำตัว (3) ของตัวฝังยึดดังกล่าว สำหรับใช้ยึดกับอุปกรณ์เสริมแบบ มีเกลียวภายนอก และส่วนปลาย (5) ที่มีเกลียวนอก (2) ต่อมาจากส่วนลำตัว (3) และมีรอยบากอย่าง น้อย 2 อัน เพื่อช่วยลดการเสียดทานขณะสวมใส่โดยนำร่องตัดเซาะเป็นร่องเกลียวเพื่อให้ทำการขัน ได้ง่ายขึ้น โดยตัวฝังยึดดังกล่าวมีลักษณะเฉพาะคือ ที่ส่วนปลาย (5) ของตัวฝังยึด (1) ยังประกอบด้วย ช่องเปิดที่ยื่นเข้าไปภายในส่วนลำตัวในทิศทางตามแนวแกน โดยช่องเปิดดังกล่าวมีเกลียวใน (9) เพื่อ ช่วยในการเกาะยึดกับกระดูก
2. ตัวฝังยึดในกระดูกตามข้อถือสิทธิ 1 ที่ซึ่งส่วนหัว (4) ดังกล่าวยังประกอบด้วย บ่า(7) อยู่เหนือร่องเว้า รูปทรงเรขาคณิต (6) ดังกล่าว
3. ตัวฝังยึดในกระดูกตามข้อถือสิทธิ 1 และ 2 ที่ซึ่งร่องเว้ารูปทรงเรขาคณิต (6) ดังกล่าว มีลักษณะเป็น รูปทรงหกเหลี่ยม สามเหลี่ยม หรือแปดเหลี่ยม
4. ตัวฝังยึดในกระดูกตามข้อถือสิทธิ 1 ที่ซึ่งส่วนปลาย (5) ดังกล่าวยังประกอบด้วยบ่า (16) อยู่ที่บริเวณ ปลายสุดของตัวฝังยึด (1)
5. ตัวฝังยึดในกระดูกแบบเกลียวในตามข้อถือสิทธิ 1 และ 4 ที่ซึ่งส่วนปลาย (5) ของตัวฝังยึด (1) มีเกลียว ใน (9) ที่มีความลึกจากปลายสุดของตัวฝังยึด (1) อยู่ในระยะ 1-3.5 มิลลิเมตร
6. ตัวฝังยึดในกระดูกแบบเกลียวในตามข้อถือสิทธิ 1 ที่ซึ่งเกลียวนอก (2) บริเวณส่วนปลาย (5) มีขนาด เส้นผ่านศูนย์กลางลดลงมาจากเกลียวนอก (2) ที่อยู่บริเวณส่วนลำตัว (3)
7. ตัวฝังยึดในกระดูกแบบเกลียวในตามข้อถือสิทธิ 1 หรือ 6 ที่ซึ่งเกลียวนอก (2) ของส่วนลำตัว (3) และ ส่วนปลาย (5) มีลักษณะคล้ายสี่เหลี่ยมคางหมู ที่ซึ่งประกอบด้วยส่วนเกลียวด้านล่าง (11) ที่ตั้งฉากกับ ร่องเกลียว (10) โดยยอดเกลียว (12) ขนานกับร่องเกลียว (10) และด้านบนของเกลียวมีลักษณะเป็น เส้นโค้ง (13) รับกับร่องเกลียว (10) ตัดกับขอบยอดเกลียว (12)
8. ตัวฝังยึดในกระดูกแบบเกลียวในตามข้อถือสิทธิ 1 หรือ 6 ที่ซึ่งเกลียวนอก (2) ของส่วนลำตัว (3) และ ส่วนปลาย (5) ซึ่งมีลักษณะเป็นสี่เหลี่ยมคางหมู ที่ซึ่งประกอบด้วยส่วนเกลียวด้านล่าง (11) ที่ตั้งฉาก กับร่องเกลียว (10) โดยยอดเกลียว (12) ขนานกับร่องเกลียว (10) และด้านบนของเกลียวมีลักษณะเป็น เส้นตรง (14) เอียงทำมุมลาดจากร่องเกลียว (10) ตัดกับขอบยอดเกลียว (12)
9. ตัวฝังยึดในกระดูกแบบเกลียวในตามข้อถือสิทธิ 1, 6, 7 หรือ 8 ข้อใดข้อหนึ่ง ที่ซึ่งเกลียวนอก (2) มี ระยะห่างระหว่างเกลียวที่เหมาะสมคือ 1.2-1.5 มิลลิเมตร 1 0.ตัวฝังยึดในกระดูกแบบเกลียวในตามข้อถือสิทธิ 1 สามารถนำไปใช้งานเป็นหมุด หรือเสาหลัก ใน ชุดหูเทียม เอ็นระหว่างข้อต่อเข่า หรือศอก
TH601002048A 2006-05-08 ตัวฝังยึดในกระดูกแบบเกลียวใน TH71996B (th)

Publications (3)

Publication Number Publication Date
TH86999A TH86999A (th) 2007-10-10
TH86999B TH86999B (th) 2007-10-10
TH71996B true TH71996B (th) 2019-10-10

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
US5588838A (en) Fixture for use in a dental implant system
US9339315B2 (en) Bone fixation system with curved profile threads
US9107711B2 (en) Screw thread with flattened peaks
US9463057B2 (en) Orthopedic fastener
US8602781B2 (en) Dental implant with interlocking and centering threads
US7325470B2 (en) Self-centering screw and retaining screw driver for use in surgery
US5403136A (en) Threaded fastener especially for orthopaedic purposes
US9387027B2 (en) Implantable fixture
SE528545C2 (sv) Ledprotes och skruvverktyg för att anbringa delar av densamma
DE3860282D1 (de) Selbstschneidendes einschraubbares knochenimplantat fuer zahnaerztliche zwecke.
SE0600610L (sv) Anordning för att fästa och fixera ett första element mot ett andra element
ATE243003T1 (de) Knochenschraube mit axial zweistückigem schraubenfkopf
US20040121289A1 (en) Dental implant
EP2364657A1 (en) Bone fixation system with curved profile threads
CY1108059T1 (el) Βιδωτο ενδοοστικο οδοντικο εμφυτευμα
KR20020076270A (ko) 뼈 플레이트
WO2012050424A1 (en) A distal radius plating system
RU2007133498A (ru) Имплантат зуба
WO2016058243A1 (zh) 一种具有万向锁定功能的钢板螺钉系统
RU2012134625A (ru) Саморежущий винтовой имплантат
JP2014097384A (ja) 踵用の骨釘
CN103476357A (zh) 固定器、制螺纹器和固定器组
ES2842303T3 (es) Implante dental que tiene superficie roscada cónica con características de mejora en la instalación
US20170340370A1 (en) Axial Compression Implant
US20050276676A1 (en) Orthodpedic or dental device