TH68800A - ตัวปรับความตึง - Google Patents

ตัวปรับความตึง

Info

Publication number
TH68800A
TH68800A TH401002986A TH0401002986A TH68800A TH 68800 A TH68800 A TH 68800A TH 401002986 A TH401002986 A TH 401002986A TH 0401002986 A TH0401002986 A TH 0401002986A TH 68800 A TH68800 A TH 68800A
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
shaft
shaft part
component
rotate
tensioner
Prior art date
Application number
TH401002986A
Other languages
English (en)
Other versions
TH40867B (th
Inventor
โคบายาชิ ทาคาโอะ
อามาโนะ ทาเนฮิระ
Original Assignee
นายชวลิต อัตถศาสตร์
Filing date
Publication date
Application filed by นายชวลิต อัตถศาสตร์ filed Critical นายชวลิต อัตถศาสตร์
Publication of TH68800A publication Critical patent/TH68800A/th
Publication of TH40867B publication Critical patent/TH40867B/th

Links

Abstract

DC60 (17/09/56) ตัวปรับความตึงที่ถูกจัดให้มีขึ้นตามการประดิษฐ์นี้ จะสามารถควบคุมแอมพลิจูดของ โซ่คล้องเพลาลูกเบี้ยวหรือสายพานคล้องเพลาลูกเบี้ยวได้อย่างเสถียรตลอดช่วงที่กว้างของ rpm ของ เครื่องยนต์ ทั้งที่ช่วงเวลาที่มันทำงานยื่นตัวออกมา และทำงานคืนตัวกลับต้านกับโหลด แรงสั่นสะเทือนที่เป็นอินพุทเป็นอย่างมากที่มาจากตัวเครื่องยนต์ ชิ้นส่วนเพลาที่หนึ่ง 3 และชิ้นส่วน เพลาที่สอง 4 ซึ่งถูกยึดเข้าด้วยกันโดยใช้สกรู 8, 9 และสปริง 5 ที่กดชิ้นส่วนเพลาที่หนึ่งตามเข็ม นาฬิกาหรือทวนเข็มนาฬิกา เพื่อที่จะทำให้มันหมุนไปจะถูกรองรับไว้ในโครง 2 ชิ้นส่วนเพลาที่สอง 4 จะถูกควบคุมไม่ให้หมุน โดยที่การหมุนและความดันของแหนบรถยนต์ชนิดขดลวดสปริง 5 จะถูก แปลงไปเป็นแรงที่ขับชิ้นส่วนเพลาที่สอง 4 กลไกส่งแรงบิดต้านทาน 20 ซึ่งสร้างแรงบิดต้านทานต้าน กับอินพุทของโหลดภายนอกกับชิ้นส่วนเพลาที่สอง 4 ทั้งในช่วงของการทำงานที่ยื่นตัวออกมา และ ช่วงของการทำงานที่คืนตัวกลับเข้าไป จะถูกจัดไว้ที่ระหว่างชิ้นส่วนเพลาที่หนึ่ง 3 และชิ้นส่วนเพลาที่ สอง 4 โดยที่แอมพลิจูดของชิ้นส่วนเพลาที่สอง 4 จะถูกควบคุมไว้อย่างละเอียดและอย่างเสถียร ตัวปรับความตึงที่ถูกจัดให้มีขึ้นตามการประดิษฐ์นี้ จะสามารถควบคุมแอมพลิจูดของ โซ่คล้องเพลาลูกเบี้ยวหรือสายพานคล้องเพลาลูกเบี้ยวได้ยอ่างเสถียรตลอดช่วงที่กว้างของ rpm ของ เครื่องยนต์ ทั้งที่ช่วงเวลาที่มันทำงานยื่นตัวออกมาก และทำงานคืนตัวกลับด้านกับโหลด แรงสั่นสะเทือนที่เป็นอินพุทเป็นอย่างมากที่มาจากตัวเครื่องยนต์ ชิ้นส่วนเพลาที่หนึ่ง 3 และชิ้นส่วน เพลาที่สอง 4 ซึ่งถูกยืดเข้าด้วยกันโดยใช้สกรู 8, 9 และสปริง 5 ที่กดชิ้นส่วนเพลาที่หนึ่งตามเข็ม นาฬิกาหรือทวนเข็มนาฬิกา เพื่อที่จะทำให้มันหมุนไปจะถูกรองรับไว้ในโครง 2 ชิ้นส่วนเพลาที่สอง 4 จะถูกควบคุมไม่ให้หมุน โดยที่การหมุนและความดันของแหนบรถยนต์ชนิดขดลวดสปริง 5 จะถูก แปลงไปเป็นแรงที่ขับชิ้นส่วนเพลาที่สอง 4 กลไกส่วนแรงบิดต้านทาน 20 ซึ่งสร้างแรงบิดต้านทานต้าน กับอินพุทของโหลดภายนอกกับชิ้นส่วนเพลาที่สอง 4 ทั้งในช่วงของการทำงานที่ยื่นตัวออกมา และ ช่วงของการทำงานที่คืนตัวกลับเข้าไป จะถูกจัดไว้ที่ระหว่างชิ้นส่วนเพลาที่หนึ่ง 3 และชิ้นส่วนเพลาที่ สอง 4 โดยที่แอมพลิจูดของชิ้นส่วนเพลาที่สอง 4 จะถูกควบคุมไว้อย่างละเอียดและอย่างเสถียร

Claims (1)

ข้อถือสิทธฺ์ (ทั้งหมด) ซึ่งจะไม่ปรากฏบนหน้าประกาศโฆษณา : 1. ตัวปรับความตึง ที่ (1) มีโครงสร้างในลักษณะที่ (a) ชิ้นส่วนเพลาที่หนึ่งและที่สอง ซึ่งถูกยึดเข้าด้วยกันโดยส่วนสกรูและ สปริงบิด ซึ่งกดชิ้นส่วนเพลาที่หนึ่งตามเข็มนาฬิกาหรือทวนเข็มนาฬิกา เพื่อที่จะทำให้มันหมุน จะ ถูกบรรจุอยู่ในโครง และ (b) ชิ้นส่วนเพลาที่สองถูกควบคุมไม่ให้หมุน เพื่อว่าการหมุนและแรงกด ของสปริงบิดจะถูกแปลงเป็นแรงที่ขับเพลาที่สอง และ (2) ลักษณะเฉพาะที่ว่า กลไกการส่งแรงบิดต้านทาน ซึ่งให้แรงบิดต้านทางการ เคลื่อนที่ไปมาเสมอ ในทั้งทิศทางเดินหน้าและถอยหลังของชิ้นส่วนเพลาที่สอง ซึ่งถูกจัดไว้ ระหว่างชิ้นส่วนเพลาที่หนึ่งดังกล่าวและชิ้นส่วนเพลาที่สองดังกล่าว และที่ (3) กลไกการส่งแรงบิดต้านทานดังกล่าว ประกอบรวมด้วย (a) ชิ้นส่วนเพลาที่สวมตัวหนึ่งเป็นอย่างน้อยที่สุด ซึ่งถูกขันสกรูโดยใช้ ส่วนสกรูของชิ้นส่วนเพลาที่หนึ่งดังกล่าว และถูกควบคุมไม่ให้หมุนต้านชิ้นส่วนเพลาที่หนึ่ง ดังกล่าว แต่จะเคลื่อนที่ได้ในทิศทางตามแนวแกนของมัน และ (b) ชิ้นส่วนยืดหยุ่นที่หนึ่ง ซึ่งถูกจัดไว้ระหว่าง (i) ชิ้นส่วนเพลาที่สอง ดังกล่าวหรือชิ้นส่วนเพลาที่หนึ่งดังกล่าว และ (ii) ชิ้นส่วนเพลาที่สาม 2. ตัวปรับความตึง ที่ (1) มีโครงสร้างในลักษณะที่ (a) ชิ้นส่วนเพลาที่หนึ่งและที่สอง ซึ่งถูกยึดเข้าด้วยกันโดยส่วนสกรูและ สปริงบิด ซึ่งกดชิ้นส่วนเพลาที่หนึ่งตามเข็มนาฬิากาหรือเข็มนาฬิกา เพื่อที่จะทำให้มันหมุน จะ ถูกบรรจุอยู่ในโครง และ (b) ชิ้นส่วนเพลาที่สองถูกควบคุมไม่ให้หมุน เพื่อว่าการหมุนและแรงกด ของสปริงบิดจะถูกแปลงเป็นแรงที่ขับชิ้นส่วนเพลาที่สอง และ (2) มีลักษณะเฉพาะที่ว่า กลไกการส่งแรงบิดต้านทาน ซึ่งให้แรงบิดต้านทานการ เคลื่อนที่ไปมาเสมอในทั้งทิศทางเดินหน้าและถอยหลังของชิ้นส่วนเพลาที่สอง ซึ่งถูกจัดไว้ ระหว่างชิ้นส่วนเพลาที่หนึ่งดังกล่าวและชิ้นส่วนเพลาที่สองดังกล่าว และ (3) กลไกการส่งแรงบิดต้านทานดังกล่าว ประกอบรวมด้วย (a) ชิ้นส่วนเพลาที่สามตัวหนึ่งเป็นอย่างน้อยที่สุด ซึ่งถูกขันสกรูโดยใช้ ส่วนสกรูของชิ้นส่วนเพลาที่หนึ่งดังกล่าว และถูกควบคุมไม่ให้หมุนต้านชิ้นส่วนเพลาที่หนึ่ง ดังกล่าว แต่จะเคลื่อนที่ได้ในทิศทางตามแนวแกนของมัน (b) ชิ้นส่วนสำหรับต่อ ซึ่งถูกต่อกับชิ้นส่วนเพลาที่สองดังกล่าว ขณะที่ถูก สอดโดยชิ้นส่วนเพลาที่หนึ่งดังกล่าว และถูกควบคุมไม่ให้หมุนต้านชิ้นส่วนเพลาที่หนึ่งดังกล่าว แต่จะเคลื่อนที่ในทิศทางตามแนวแกนไปตามชิ้นส่วนเพลาที่สองดังกล่าว และ (c) ชิ้นส่วนยืดหยุ่นที่หนึ่ง ซึ่งถูกจัดไว้ระหว่างชิ้นส่วนสำหรับต่อและ ชิ้นส่วนเพลาที่สามดังกล่าว 3. ตัวปรับความตึง ที่ (1) มีโครงสร้างในลักษณะที่ (a) ชิ้นส่วนเพลาที่หนึ่งและที่สอง ซึ่งถูกยึดเข้าด้วยกันโดยใช้ส่วนสกรูและ สปริงบิด ซึ่งกดชิ้นส่วนเพลาที่หนึ่งตามเข็มนาฬิกาหรือทวนเข็มนาฬิกา เพื่อที่จะทำให้มันหมุน จะ ถูกบรรจุอยู่ในโครง และ (b) ชิ้นส่วนเพลาที่สองถูกควบคุมไม่ให้หมุน เพื่อว่าการหมุนของแรงกด ของสปริงบิดจะถูกแปลงเป็นแรงที่ขับชิ้นส่วนเพลาที่สอง และ (2) มีลักษณะเฉพาะที่ว่า กลไกการส่งแรงบิดต้านทาน ซึ่งให้แรงบิดต้านทานการ เคลื่อนที่ไปมาเสมอ ในทั้งทิศทางเดินหน้าและถอยหลังของชิ้นส่วนเพลาที่สอง ซึ่งถูกจัดไว้ ระหว่างชิ้นส่วนเพลาที่หนึ่งดังกล่าวและชิ้นส่วนเพลาที่สองดังกล่าว และที่ (3) กลไกการส่งแรงบิดต้านทานดังกล่าว ประกอบรวมด้วย (a) ชิ้นส่วนเพลาที่สามตัวหนึ่งเป็นอย่างน้อยที่สุด ซึ่งถูกขันสกรูโดยใช้ ส่วนสกรูของชิ้นส่วนเพลาที่สองดังกล่าว และถูกควบคุมไม่ให้หมุนต้านชิ้นส่วนเพลาที่สอง ดังกล่าว แต่จะเคลื่อนที่ได้ในทิศทางตามแนวแกนของมัน และ (b) ชิ้นส่วนยืดหยุ่นที่หนึ่ง ซึ่งถูกจัดไว้ระหว่างชิ้นส่วนเพลาที่หนึ่งดังกล่าว และชิ้นส่วนเพลาที่สามดังกล่าว 4. ตัวปรับความตึงตามที่กำหนดไว้ในข้อถือสิทธิข้อ 2 แต่ที่ซึ่ง กลไกการส่งแรงบิด ต้านทานดังกล่าวประกอบรวมด้วย ชิ้นส่วนยืดหยุ่นที่สอง ซึ่งถูกจัดไว้ระหว่างชิ้นส่วนเพลาที่หนึ่ง ดังกล่าวและชิ้นส่วนเพลาที่สามดังกล่าว 5. ตัวปรับความตึงตามที่กำหนดไว้ในข้อถือสิทธิข้อ 1 แต่ที่ซึ่งชิ้นส่วนยืดหยุ่นที่หนึ่ง ดังกล่าวเป็นสปริงขด ที่ (1) ถูกจัดวางไว้ระหว่างชิ้นส่วนเพลาที่หนึ่งและชิ้นส่วนเพลาที่สาม ในขณะที่ มันถูกบีบอัด และ (2) สร้างแรงบิดต้านทานอย่างต่อเนื่องระหว่างส่วนเพลาที่หนึ่งและชิ้นส่วน เพลาที่สาม อย่างอิสระจากโหลดอินพุทภายนอก 6. ตัวปรับความตึงตามที่กำหนดไว้ในข้อถือสิทธิข้อ 1 แต่ที่ซึ่งชิ้นส่วนยืดหยุ่นที่หนึ่ง ดังกล่าวเป็นสปริงขด ที่ (1) ถูกจัดวางไว้ระหว่างชิ้นส่วนเพลาที่สองและชิ้นส่วนเพลาที่สาม ในขณะที่มัน ถูกบีบอัด และ (2) สร้างแรงบิดต้านทานอย่างต่อเนื่องระหว่างชิ้นส่วนเพลาที่สองและชิ้นส่วน เพลาที่สาม อย่างอิสระจากโลหดอินพุทภายนอก 7. ตัวปรับความตึงตามที่กำหนดไว้ในข้อถือสิทธิข้อ 2 แต่ที่ซึ่งชิ้นส่วนยืดหยุ่นที่หนึ่ง ดังกล่าวเป็นสปริงขด ที่ (1) ถูกจัดวางไว้ระหว่างชิ้นส่วนสำหรับต่อดังกล่าวและชิ้นส่วนเพลาที่สาม ในขณะที่มันถูกบีบอัด และ (2) สร้างแรงบิดต้านทานอย่างต่อเนื่องระหว่างชิ้นส่วนเพลาที่สองและชิ้นส่วน เพลาที่สามผ่านชิ้นส่วนสำหรับต่อ อย่างอิสระจากโหลดอินพุทภายนอก 8. ตัวปรับความตึงตามที่กำหนดไว้ในข้อถือสิทธิข้อ 4 แต่ที่ซึ่งชิ้นส่วนยืดหยุ่นที่สอง ดังกล่าวเป็นสปริงขด ที่ (1) ถูกจัดวางไว้ระหว่างชิ้นส่วนเพลาที่หนึ่งดังกล่าวและชิ้นส่วนเพลาที่สาม ดังกล่าว ภายใต้สภาวะที่ถูกบีบอัด และ (2) สร้างแรงบิดต้านทานระหว่างชิ้นส่วนเพลาที่หนึ่งและชิ้นส่วนเพลาที่สาม โดยถูกบีบอัดจากโหลดอินพุทภายนอก 9. ตัวปรับความตึงตามที่กำหนดไว้ในข้อถือสิทธิข้อ 1 ถึงข้อถือสิทธิข้อ 3 ข้อใดข้อ หนึ่ง แต่ที่ซึ่งชิ้นส่วนยืดหยุ่นที่หนึ่งดังกล่าว จะเป็นสปริงบีบอัด สปริงแบบจาน บางที่เกิดจากการ พิมพ์ขึ้นรูป หรือเรซินที่เกิดจากการพิมพ์ขึ้นรูป 1 0. ตัวปรับความตึงตามที่กำหนดไว้ในข้อถือสิทธิข้อ 4 แต่ที่ซึ่งชิ้นส่วนยืดหยุ่นที่สอง ดังกล่าว จะเป็นทั้งสปริงบีบอัด สปริงแบบจาน ยางที่เกิดจากการพิมพ์ขึ้นรูป หรือเรซินที่เกิดจาก การพิมพ์ขึ้นรูป 1
1. ตัวปรับความตึงตามที่กำหนดไว้ในข้อถือสิทธิข้อ 1 ถึงข้อถือสิทธิข้อ 10 ข้อใดข้อ หนึ่ง แต่ที่ซึ่งความดันของไหลจากแหล่งความดันของไหลจะกระทำในทิศทางซึ่งชิ้นส่วนเพลาที่ สองดังกล่าวเคลื่อนที่ในทิศทางดังกล่าว
TH401002986A 2004-08-03 ตัวปรับความตึง TH40867B (th)

Publications (2)

Publication Number Publication Date
TH68800A true TH68800A (th) 2005-05-18
TH40867B TH40867B (th) 2014-07-10

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
US4826471A (en) Automatic power transmission belt tensioner
CA2674943C (en) Tensioner and installation assembly
US4472162A (en) Belt tensioner
ATE450430T1 (de) Lenksäule für ein kraftfahrzeug
ATE490425T1 (de) Betätigungsglied
JP2009527698A (ja) 力制限テンショニングアーム
CN100387453C (zh) 车窗调整器线缆张紧装置、车窗调整器及无框车门
US20040152548A1 (en) Ratcheting pivot arm tensioner with blacklash
JP2004521277A (ja) モータ/ジェネレータを備える補機ベルト伝動システム
ATE479030T1 (de) Federvorrichtung für ein kraftfahrzeug einschliesslich druckfeder mit variabler federcharakteristik
US4249425A (en) Automatic belt tensioning mechanism
WO2006028921A3 (en) Torsional force linear tensioner
JP2021514043A (ja) 摺動プーリを備えるベルトテンショナ
US20080081718A1 (en) Load dependent belt tensioner
ATE316483T1 (de) Anordnung eines motors an einer stützwinde
US7946938B2 (en) Tensioner
GB2233063A (en) A transmission system comprising a tensioner
DE502004010851D1 (de) Innenspanner zum Spannen einer Schraubendruckfeder
TH68800A (th) ตัวปรับความตึง
JP6433712B2 (ja) 荷重付加装置
CN109154366B (zh) 具有改进布置的张紧器臂部和偏置构件的用于附件传动设备的张紧器
JPH02102956A (ja) オートテンショナー
TH40867B (th) ตัวปรับความตึง
GB2259964A (en) Chain tensioner
KR102394862B1 (ko) 기어 박스의 토션바 체결 구조