TH67976A - การใช้ไอโซเจ็นนีสำหรับการออกแบบระบบรหัสลับ - Google Patents

การใช้ไอโซเจ็นนีสำหรับการออกแบบระบบรหัสลับ

Info

Publication number
TH67976A
TH67976A TH401003085A TH0401003085A TH67976A TH 67976 A TH67976 A TH 67976A TH 401003085 A TH401003085 A TH 401003085A TH 0401003085 A TH0401003085 A TH 0401003085A TH 67976 A TH67976 A TH 67976A
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
pair
curve
key
computer
isogeny
Prior art date
Application number
TH401003085A
Other languages
English (en)
Other versions
TH53420B (th
Inventor
วาย. โจ เดวิด
เว็นเคทซัน รามาราธนาม
Original Assignee
นายธีรพล สุวรรณประทีป
นางสาวสยุมพร สุจินตัย
Filing date
Publication date
Application filed by นายธีรพล สุวรรณประทีป, นางสาวสยุมพร สุจินตัย filed Critical นายธีรพล สุวรรณประทีป
Publication of TH67976A publication Critical patent/TH67976A/th
Publication of TH53420B publication Critical patent/TH53420B/th

Links

Abstract

DC60 (08/09/47) เทคนิคที่ถูกเปิดเผยจะทำให้เกิดระบบการเข้ารหัสคีย์สาธารณะ นอกจากนี้แล้ว ไอโซเจนนีของ ความหลากหลายแบบอาบีล เลียน (เช่น เส้นโค้งอิลิปติกในกรณีหนึ่งมิติ) จะถูกนำไปใน การทำให้เกิด ระบบการเข้ารหัสคีย์สาธารณะ ยกตัวอย่างเช่นไอ โซเจนนีอนุญาตให้มีการใช้เส้นโค้งหลายเส้น แทนที่ จะใช้ เพียงแต่เส้นเดียวในการทำให้เกิดการเข้ารหัสลับอย่างปลอด ภัยยิ่งขึ้น เทคนิคนี้สามารถประยุกต์ กับลายเซ็นดิจิตอล และ/หรือระบบการเข้ารหัสโดยการพิสูจน์ตัวตน (IBE) มากกว่า นี้แล้ว ไอโซเจนนียัง สามารถนำไปประยุกต์ใช้ที่ต่างๆเช่น ลายเซ็นบอด, ระบบลำดับชั้น, และอื่นๆ นอกจากนี้ วิธีการ สร้าง ไอโซเจนนียังได้ถูกเปิดเผยด้วย เทคนิคที่ถูกเปิดเผยจะทำให้เกิดระบบการเข้ารหัสคีย์สาธารณะ นอกจากนี้แล้ว ไอโซเจนนีของ ความหลากหลายแบบอาบีล เลียน (เช่น เส้นโค้งอิลิปติกในกรณีหนึ่งมิติ) จะถูกนำไปใน การทำให้เกิด ระบบการเข้ารหัสคีย์สาธารณะ ยกตัวอย่างเช่นไอ โซเจนนีอนุญาตให้มีการใช้เส้นโค้งหลายเส้น แทนที่ จะใช้ เพียงแต่เส้นเดียวในการทำให้เกิดการเข้ารหัสสลับอย่างปลอด ภัยยิ่งขึ้น เทคนิดนี้สามารถประยุกต์ กับลายเซ็นดิจิคตอล และ/หรือระบบการเข้ารหัสโดยการพิสูจน์ตัวตน (IBE) มากกกว่า นี้แล้ว ไอโซเจนนียัง สามารถนำไปประยุกต์ใช้ที่ต่างๆเช่น ลายเซ็นบอด, ระบบลำดับชั้น, และอื่นๆ นอกจากนี้ วิธีการ สร้าง ไอโซเจนนียังได้ถูกเปิดเผยด้วย

Claims (9)

ข้อถือสิทธฺ์ (ทั้งหมด) ซึ่งจะไม่ปรากฏบนหน้าประกาศโฆษณา : 1. วิธีที่ประกอบรวมด้วย: การเผยแแพร่(104)คีย์สาธารณะที่กำหนดโดยไอโซเจ็นนี (isogeny) ()ที่ ส่งจำนวนที่มากกว่าหนึ่งของจุดจากความหลากหลายอาบีลเลียน (Abelian)ที่หนึ่ง (E1)ไปยังความ หลากหลายอาบีลเลียนที่สอง (E2)และ การถอดรหัส (108) ข้อความเข้ารหัสโดยใช้คีย์เข้ารหัสที่กำหนดโดยไอโซ เจ็นนี 2. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิ 1 ในขณะที่ คีย์เข้ารหัสอย่างน้อย หนึ่งคีย์ หรือ คีย์ถอดรหัส เป็นคีย์ส่วนตัว และคีย์ส่วนตัว เป็นคู่ไอ โซเจนนีของไอ โซเจนนี 3. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิ 1 ในขณะที่ ไอ โซเจนนีถูกสร้างด้วย เทคนิดที่ถูกเลือกมาจาก กลุ่มที่ประกอบไปด้วยการสร้างผลคูณ เชิงซ้อน, การสร้างเชิงเส้นอิสระ และการผสมของมัน 4. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิ 1 ในขณะที่การสร้างการส่งจุดหลาย จุดจากเส้นโค้งอิลิปติก เส้นแรกไปสู่เส้นโค้งอิลิปติกที่สอง 5. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิ 1 ในขณะที่การถอดรหัสถูกกระทำ ด้วยการเข้าคู่แบบเชิงเส้นคู่ 6. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิ 5 ในขณะที่การเข้าคู่แบบเชิงเส้น คู่เป็นการเข้าคู่ที่ถูกเลือกมา ขากกลุ่มประกอบไปด้วย คู่แวร์, คู่เทต, และคู่กำลังสอง 7. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิ 1 ในขณะที่กรรมวิธีถูกประยุกโดย ใช้ความหลากหลายอาบีล เลียน 8. กรรมวิธีเหมือนกับข้อ 1 ในขณะที่ใช้วิธีในการเซ็นข้อความ 9. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิ 1 ในขณะที่ใช้วิธีในการเข้ารหัส แบบพิสูจน์ตัวตน 1 0. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิ 1 ประกอบด้วยการรวมมอดูลาไอโซ เจนนีในการให้ไอโซเจน นีที่ไม่เปิดเผยเส้นโค้งระหว่างทาง 1 1. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิ 1 ประกอบด้วยการใช้การส่งเทรซลง ไปยังฟิลด์พื้นฐานใน การทำให้จุดสั้นลงบนเส้นโค้งอิลิปติก ที่ถูกส่งโดยไอโซเจนนี 1 2. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิ 1 ประกอบด้วยการใช้การส่งเทรซใน การทำให้จุดสั้นลงบน ความหลากหลายแบบอาบีลเลียน 1 3. กรรมวิธีประกอบด้วย การเผยแพร่คีย์สาธารณะที่สอดคล้องกับไอโซนเจนนีที่ส่งจุด หลายหลายจุดจากเส้นโค้งอิลิปต เส้นแรกไปสู่เส้นโค้งอิลิปติก ที่สอง การถอดรหัสข้อความที่เข้ารหัสด้วยคีย์เข้ารหัสให้สอดคล้อง กับไอโซเจนนี 1 4. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิ 13 ในขณะที่คีย์ถอดรหัสเป็นคู่ ไอ โซเจนนีของ ไอ โซเจนนี 1 5. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิ 13 ในขณะไอโซเจนนีถูกสร้างด้วย เทคนิคที่ถูกเลือกมาจาก กลุ่มที่ประกอบไปด้วยการสร้างผลคูณ เชิงซ้อน, การสร้างเชิงเส้นอิสระ และการผสมของมัน 1 6. กรรมวิธี 13 ในขณะที่การสร้างการส่งจุดหลายจุดจากเส้น โค้งอิลิปติกเส้นแรกไปสู่ เส้นโค้งอิลิปติกที่สอง 1 7. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิเหมือนกับข้อ 13 ในขณะที่การถอด รหัสถูกกระทำด้วยการเข้า คู่แบบเชิงเส้นคู่ 1 8. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิ 17 ในขณะที่การเข้าคู่แบบเชิง เส้นคู่เป็นการเข้าคู่ที่ถูกเลือก มาขากกลุ่มประกอบไปด้วย คู่แวร์, คู่เทต, และคู่กำลังสอง 1 9. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิ 13 ในขณะที่กรรมวิธีถูกประยุก โดยใช้ความหลากหลายอาบีล เลียน 2 0. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิ 13 ในขณะที่ใช้วิธีในการเซ็นข้อ ความ 2 1. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิ 13 ในขณะที่ใช้วิธีในการเข้า รหัสแบบพิสูจน์ตัวตน 2 2. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิ 13 ประกอบด้วยการรวมมอดูลาไอโซ เจนนีในการให้ไอโซ เจนนีที่ไม่เปิดเผยเส้นโค้งระหว่างทาง 2 3. ระบบประกอบด้วย: หน่วยประมวลผลแรก หน่วยความจำแรกที่ร่วมกับหน่วยประมวลผลแรก, หน่วยความจำ แรกเก็บคีย์ สาธารณะที่สอดคล้องกับไอโซเจนนีที่ส่งจุดหมาย จุดจากเส้น โค้งอิลิปติกเส้นแรก ไปสู่เส้นโค้ง อิลิปติกที่สอง หน่วยประมวลผลที่สอง หน่วยความจำที่สองร่วมกับหน่วยประมวลผลที่สอง, หน่วยความ จำที่สองเก็บข้อ ความเข้ารหัสและคีย์ถอดรหัสที่สอดคล้องกับ ไอ โซเจนนีที่ใช้ในการถอดรหัสข้อความเข้ารหัส ในขณะที่ข้อความที่ถูกเข้ารหัสถูกเข้ารหัสด้วยคีย์เข้า รหัส 2 4. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิ 23 ในขณะที่คีย์เข้ารหัสอย่าง น้อยหนึ่งคีย์ หรือ คีย์ถอดรหัส เป็นคีย์ส่วนตัว และคีย์ ส่วนตัวเป็นคู่ไอโซเจนนีของ ไอ โซเจนนี 2 5. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิ 23 ในขณะที่การสร้างการส่งจุด หลายจุดจากเส้นโค้งอิลิปติก เส้นแรกไปสู่เส้นโค้งอิลิปติก ที่สอง 2 6. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิ 23 ในขณะที่การถอดรหัสถูกกระทำ ด้วยการเข้าคู่แบบเชิงเส้น คู่ 2 7. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิ 26 ในขณะที่การเข้าคู่แบบเชิง เส้นคู่เป็นการเข้าคู่ที่ถูกเลือกมา ขากกลุ่มประกอบไปด้วย คู่แวร์, คู่เทต, และคู่กำลังสอง 2 8. สื่อที่คอมพิวเตอร์อ่านได้หนึ่งสื่อหรือมากกว่าที่มีคำ สั่งถูกเก็บ ไว้ ซึ่งเมื่อถูกกระทำ จะ ทำให้คอมพิวเตอร์ทำใน สิ่งต่อ ไปนี้: การเผยแพร่คีย์สาธารณะที่สอดคล้องกับ ไอ โซเจนนีที่ส่งจุก หลายหลายจุดจากเส้น โค้งอิลิปต เส้นแรกไปสู่เส้นโค้งอิลิปติก ที่สอง การถอดรหัสข้อความที่เข้ารหัสด้วยคีย์เข้ารหัสให้สอดคล้อง กับ ไอ โซเจนนี 2 9. สื่อที่คอมพิวเตอร์อ่าน ได้หนึ่งสื่อหรือมากกว่าตามข้อ ถือสิทธิ 28 ในขณะที่คีย์เข้ารหัส อย่างน้อยหนึ่งคีย์ หรือ คีย์ถอดรหัสเป็นคีย์ส่วนตัว และคีย์ส่วนตัวเป็นคู่ ไอ โซ เจนนีของไอโซเจนนี 3 0. สื่อที่คอมพิวเตอร์อ่านได้หนึ่งสื่อหรือมากกว่าตามข้อ ถือสิทธิ 28 ในขณะที่ไอโซเจนนี ถูกสร้างด้วยเทคนิคที่ถูก เลือกมาจากกลุ่มที่ประกอบไปด้วยการสร้างผลคูณเชิงซ้อน, การ สร้างเชิงเส้น อิสระ และการผสมของมัน 3
1. สื่อที่คอมพิวเตอร์อ่านได้หนึ่งสื่อหรือมากกว่าตามข้อ ถือสิทธิ า 28 ในขณะที่การสร้าง การส่งจุดหลายจุดจากเส้น โค้งอิลิปติกเส้นแรกไปสู่เส้น โค้งอิลิปติกที่สอง 3
2. สื่อที่คอมพิวเตอร์อ่านได้หนึ่งสื่อหรือมากกว่าตามข้อ ถือสิทธิ 28 ในขณะที่การถอด รหัสถูกกระทำด้วยการเข้าคู่แบบ เชิงเส้นคู่ 3
3. สื่อที่คอมพิวเตอร์อ่านได้หนึ่งสื่อหรือมากกว่าตามข้อ ถือสิทธิ 32 ในขณะที่การเข้าคู่ แบบเชิงเส้นคู่เป็นการเข้า คู่ที่ถูกเลือกมาขากกลุ่มประกอบ ไปด้วย คู่แวร์, คู่เทต, และคู่กำลังสอง 3
4. สื่อที่คอมพิวเตอร์อ่านได้หนึ่งสื่อหรือมากกว่าตามข้อ ถือสิทธิ 28 ในขณะที่กรรมวิธีถูก ประยุกโดยใช้ความหลากหลาย อาบีลเลียน 3
5. สื่อที่คอมพิวเตอร์อ่านได้หนึ่งสื่อหรือมากกว่าตามข้อ ถือสิทธิ 28 ประกอบด้วยการใช้ การส่งเทรซลงไปยังฟิลด์พื้น ฐานในการทำให้จุดสั้นลงบนเส้น โค้งอิลิปติกที่ถูกส่ง โดย ไอ โซ เจนนี 3
6. สื่อที่คอมพิวเตอร์อ่านได้หนึ่งสื่อหรือมากกว่าตามข้อ ถือสิทธิ 28 ประกอบด้วยการ รวมมอดูลาไอโซเจนนีในการให้ ไอ โซ เจนนีที่ไม่เปิดเผยเส้นโค้งระหว่างทาง 3
7. สื่อที่คอมพิวเตอร์อ่านได้หนึ่งสื่อหรือมากกว่าตามข้อ ถือสิทธิ 28 ประกอบด้วยการใช้ การส่งเทรซในการทำให้จุดสั้ง ลงบนความหลากหลายแบบอาบีลเลียน 3
8. สื่อที่คอมพิวเตอร์อ่านได้หนึ่งสื่อหรือมากกว่าตามข้อ ถือสิทธิ 28 ในขณะที่ใช้วิธีใน การเซ็นข้อความ 3
9. สื่อที่คอมพิวเตอร์อ่านได้หนึ่งสื่อหรือมากกว่าตามข้อ ถือสิทธิ 28 ในขณะที่ใช้วิธีใน การเข้ารหัสแบบพิสูจน์ตัวตน
TH401003085A 2004-08-11 การใช้ไอโซเจ็นนีสำหรับการออกแบบระบบรหัสลับ TH53420B (th)

Publications (2)

Publication Number Publication Date
TH67976A true TH67976A (th) 2005-03-18
TH53420B TH53420B (th) 2017-01-19

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
EP3091690B1 (en) Rsa decryption using multiplicative secret sharing
CN102546181B (zh) 基于密钥池的云存储加解密方法
CA2652084C (en) A method and apparatus to provide authentication and privacy with low complexity devices
US20060177051A1 (en) Cryptographic applications of the Cartier pairing
RU2004132057A (ru) Использование изогений для разработки криптосистем
US7986780B2 (en) Privacy-preserving substring creation
US20060026426A1 (en) Identifier-based signcryption with two trusted authorities
Devi et al. A review on DES, AES and blowfish for image encryption & decryption
CN102594551B (zh) Rfid标签隐私数据可靠统计方法
Singh et al. An ASCII value based text data encryption System
CN105721156A (zh) 用于模幂加密方案的通用编码函数
Suguna et al. A study on symmetric and asymmetric key encryption algorithms
CN116830523A (zh) 阈值密钥交换
CN110519040B (zh) 基于身份的抗量子计算数字签名方法和系统
US20040120519A1 (en) Method for enhancing security of public key encryption schemas
CN109413299A (zh) 线性正则变换和混沌双随机相位编码双图像加密方法
Abusukhon et al. Analyzing the efficiency of Text-to-Image encryption algorithm
JP7384216B2 (ja) 電子透かしシステム、電子透かし方法及びプログラム
Suresh et al. VLSI implementation of text to image encryption algorithm based on private key encryption
CN112395590A (zh) 电子签名的复用方法、装置、设备及存储介质
TH53420B (th) การใช้ไอโซเจ็นนีสำหรับการออกแบบระบบรหัสลับ
TH67976A (th) การใช้ไอโซเจ็นนีสำหรับการออกแบบระบบรหัสลับ
Rahouma Reviewing and applying security services with non-english letter coding to secure software applications in light of software trade-offs
Adeniyi et al. Secure Sensitive Data Sharing Using RSA and ElGamal Cryptographic Algorithms with Hash Functions. Information 2022, 13, 442
Chaudhary et al. A security solution for the transmission of confidential data and efficient file authentication based on DES, AES, DSS and RSA