TH64114B - The use of dimethyl disulfide for methionine production in microorganisms. - Google Patents

The use of dimethyl disulfide for methionine production in microorganisms.

Info

Publication number
TH64114B
TH64114B TH601003362A TH0601003362A TH64114B TH 64114 B TH64114 B TH 64114B TH 601003362 A TH601003362 A TH 601003362A TH 0601003362 A TH0601003362 A TH 0601003362A TH 64114 B TH64114 B TH 64114B
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
dmds
methionine
microorganisms
methyl
sulfhydrylase
Prior art date
Application number
TH601003362A
Other languages
Thai (th)
Other versions
TH103188A (en
TH103188B (en
Inventor
คลอพพ์ร็อกก์ นางคอรินน่า
วิลเลียมส์ นายมาร์ค
เซลเดอร์ นายออสคาร์
เฮอรอล์ด นายอันเดรีย
โรเจอร์ส โยคัม นายอาร์
ชโรเดอร์ นายฮาร์ทวิก
Original Assignee
นางสาวปรับโยชน์ ศรีกิจจาภรณ์
นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์
นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์ นางสาวปรับโยชน์ ศรีกิจจาภรณ์ นายรุทร นพคุณ
นายรุทร นพคุณ
Filing date
Publication date
Application filed by นางสาวปรับโยชน์ ศรีกิจจาภรณ์, นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์, นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์ นางสาวปรับโยชน์ ศรีกิจจาภรณ์ นายรุทร นพคุณ, นายรุทร นพคุณ filed Critical นางสาวปรับโยชน์ ศรีกิจจาภรณ์
Publication of TH103188A publication Critical patent/TH103188A/en
Publication of TH103188B publication Critical patent/TH103188B/en
Publication of TH64114B publication Critical patent/TH64114B/en

Links

Abstract

DC60 (15/06/59) การประดิษฐ์นี้แสดงลักษณะกระบวนการที่ได้รับการปรับปรุง และสิ่งมีชีวิตเพื่อการผลิต เมธิโอนีน การประดิษฐ์ได้แสดงว่าสิ่งมีชีวิต เดลตาmetF หรือสิ่งมีชีวิต เดลตาmetE เดลตาmetH ตัวอย่างเช่น สายพันธ์กลายของ C. glutamicum หรือ E. coli สามารถใช้แหล่งซัลไฟด์ที่ปิดด้วยเมธิล เช่น ไดเมธิล ไดซัลไฟด์ (DMDS) เป็นแหล่งของทั้งหมู่กำมะถัน และเมธิล โดยการเลี่ยงผ่านความต้องการกิจกรรม ของ MetH/MetE และ MetF และความต้องการที่จะรีดิวซ์ซัลเฟต เพื่อการสังเคราะห์เมธิโอนีน ที่ยังได้ บรรยายในสิทธิบัตรคือข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ MetY (ที่ยังเรียกว่า MetZ) เป็นเอนไซม์ที่รวมเข้าแหล่ง เมธิล แคปด์ ซัลไฟด์ เช่น DMDS เข้าในเมธิโอนีน สายพันธ์ เดลตาmetF เดลตาmetB ของ C. glutamicum สามารถใช้แหล่งเมธิล แคปด์ ซัลไฟด์ เช่น DMDS เป็นแหล่งของทั้งหมู่กำมะถัน และเมธิล ยิ่งไปกว่านั้น การผลิตเมธีโอนีน โดยสิ่งมีชีวิตโปรโทโทรปิกที่ได้ถูกทำวิศวกรรมที่ผลิตเกิน O-อะซีทิล-โฮโมซีรีน ได้ถูกปรับปรุงโดยการเติมแหล่งเมธิล แคปด์ ซัลไฟด์ เช่น DMDS แก้ไขบทสรุปการประดิษฐ์ 15/06/59 การประดิษฐ์นี้แสดงลักษณะกระบวนการที่ได้รับการปรับปรุง และสิ่งมีชีวิตเพื่อการผลิต เมธิโอนีน การประดิษฐ์ได้แสดงว่าสิ่งมีชีวิต (สูตร)metF หรือสิ่งมีชีวิต (สูตร)metE (สูตร)metH ตัวอย่างเช่น สายพันธ์กลายของ C. glutamicum หรือ E. coli สามารถใช้แหล่งเมธิล แคปด์ ซัลไฟด์ เช่น ไดเมธิล ไดซัลไฟด์ (DMDS) เป็นแหล่งของทั้งหมู่กำมะถัน และเมธิล โดยการเลี่ยงผ่านความต้องการกิจกรรม ของ MetH/MetE และ MetF และความต้องการที่จะรีดิวซ์ซัลเฟต เพื่อการสังเคราะห์เมธิโอนีน ที่ยังได้ บรรยายในสิทธิบัตรคือข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ MetY (ที่ยังเรียกว่า MetZ) เป็นเอนไซม์ที่รวมเข้าแหล่ง เมธิล แคปด์ ซัลไฟด์ เช่น DMDS เข้าในเมธิโอนีน สายพันธ์ (สูตร)metF (สูตร)metB ของ C. glutamicum สามารถใช้แหล่งเมธิล แคปด์ ซัฟไฟด์ เช่น DMDS เป็นแหล่งของทั้งหมู่กำมะถัน และเมธิล ยิ่งไปกว่านั้น การผลิตเมธีโอนีน โดยสิ่งมีชีวิตโปรโทโทรปิกที่ได้ถูกทำวิศวกรรมที่ผลิตเกิน O-อะซีทิล-โฮโมซีรีน ได้ถูกปรับปรุงโดยการเติมแหล่งเมธิล แคปด์ ซัลไฟด์ เช่น DMDS ---------------------------------------------------------------------- การประดิษฐ์นี้แสดงลักษณะกระบวนการที่ได้รับการปรับปรุง และสิ่งมีชีวิตเพื่อการผลิต เมธิโอนีน การประดิษฐ์ได้แสดงว่าสิ่งมีชีวิต (สูตร)metF หรือสิ่งมีชีวิต (สูตร)metE (สูตร)metH ตัวอย่างเช่น สายพันธ์กลายของ C. glutamicum หรือ E. coli สามารถใช้แหล่งซัลไฟด์ที่ปิดด้วยเมธิล เช่น ไดเมธิล ไดซัลไฟด์ (DMDS) เป็นแหล่งของทั้งหมู่กำมะถันและเมธิล โดยการเลี่ยงผ่านความต้องการกิจกรรม ของ MetH/MetE และ MetF และความต้องการที่จะรีดิวซ์ซัลเฟต เพื่อการสังเคราะห์เมธิโอนีน ที่ยัง ได้บรรยายในสิทธิบัตรคือข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ MetY (ที่ยังเรียกว่า MetZ) เป็นเอนไซม์ที่รวมเข้าแหล่ง ซัลไฟด์ที่ปิดด้วยเมธิล เช่น DMDS เข้าในเมธิโอนีน สายพันธ์ (สูตร)metF (สูตร)metB ของ C. glutamicum สามารถใช้แหล่งซัลไฟด์ที่ปิดด้วยเมธิล เช่น DMDS เป็นแหล่งของทั้งหมู่กำมะถันและเมธิล ยิ่งไป กว่านั้น การผลิตเมธีโอนีน โดยสิ่งมีชีวิตโปรโทโทรปิกที่ได้ถูกทำวิศวกรรมที่ผลิตเกิน O-อะซีทิล- โฮโมซีรีน ได้ถูกปรับปรุงโดยการเติมแหล่งซัลไฟด์ที่ปิดด้วยเมธิล เช่น DMDS DC60 (15/06/16) This invention characterizes the improved process. and methionine-producing organisms. Fabrication has shown that deltametF or deltametE deltametH organisms, for example, mutants of C. glutamicum or E. coli, can Use a methyl enclosed sulfide source such as dimethyl disulfide (DMDS) as a source of both sulfur and methyl groups by bypassing the activity requirements of MetH/MetE and MetF and want to reduce sulfate Also described in the patent are information related to MetY (also referred to as MetZ), an enzyme that incorporates methyl capd sulfide sources such as DMDS into methionine. Neene, deltametF, deltametB of C. glutamicum can use a methyl capd sulfide source such as DMDS as a source of both sulfur and methyl groups. Methionine production by prototropic organisms that have been over-engineered O-acetyl-homoserine It has been enhanced by adding a methyl capd sulfide source such as DMDS. Revised Invention Summary 15/06/16 This invention characterizes the improved process. and organisms for the production of methionine. Inventions have shown that organisms (formula)metF or organisms (formula)metE (formula)metH, for example, mutants of C. glutamicum or E. coli, can Use a methyl capd disulfide source such as dimethyl disulfide (DMDS) as a source of both sulfur and methyl groups by bypassing the activity requirements of MetH/MetE and MetF and want to reduce sulfate Also described in the patent are information related to MetY (also referred to as MetZ), an enzyme that incorporates methyl capd sulfide sources such as DMDS into methionine. The nine strain (formula)metF (formula)metB of C. glutamicum can use a methyl capd sulfide source such as DMDS as a source of both sulfur and methyl groups. Methionine production by prototropic organisms that have been over-engineered O-acetyl-homoserine It is enhanced by adding a methyl capd sulfide source such as DMDS ------------------------------- --------------------------------------- This invention characterizes the improved process. and organisms for the production of methionine. Inventions have shown that organisms (formula)metF or organisms (formula)metE (formula)metH, for example, mutants of C. glutamicum or E. coli, can Use a methyl enclosed sulfide source such as dimethyl disulfide (DMDS) as a source of both sulfur and methyl groups. By bypassing the activity requirements of MetH/MetE and MetF and the need to reduce sulfate. Also described in the patent is information related to MetY (also referred to as MetZ), an enzyme integrated into the source. Methyl-enclosed sulfides, such as DMDS, enter methionine. The metF (formula) metB species of C. glutamicum can use a methyl-enclosed sulfide source such as DMDS as the source. of both the sulfur and methyl groups. Moreover, the production of metheonine The engineered prototropic organisms that overproduce O-acetyl-homocerine were enhanced by the addition of a methyl enclosed sulfide source such as DMDS.

Claims (6)

ข้อถือสิทธฺ์ (ทั้งหมด) ซึ่งจะไม่ปรากฏบนหน้าประกาศโฆษณา :แก้ไข 15/06/59 1. วิธีการการผลิตเมธิโอนีน, ที่ประกอบรวมด้วยการเพาะเลี้ยงจุลชีพที่ผลิตเมธิโอนีนโดยมี สารประกอบเมธิล แคปด์ ซัลโฟด์ (meathyl capped sulfde compound) อยู่ด้วย, เพื่อว่าเมธิโอนีนได้ถูก ผลิตขึ้น, ที่ซึ่งสารประกอบเมธิล แคปด์ ซัลไฟด์ คือ H3C-(S)n-CH3 และ n คือ 2-50 2. วิธีการการผลิตเมโธโอนีน, ที่ประกอบรวมด้วยการเพาะเลี้ยงจุลชีพที่ผลิตเมธิโอนีนโดยมี ไดเมธิล ไดซัลโฟด์ (DMDS), เพื่อว่าเมธิโอนีนได้ถูกผลิตขึ้น 3. วิธีการของข้อถือสิทธที่ 1 หรือ 2, โดยที่มี DMDS อยู่ที่ 0.02% หรือสูงกว่าในการเพาะเลี้ยง 4. วิธีการของข้อถือสิทธที่ 1 หรือ 2, โดยที่มี DMDS อยู่ที่ 0.06% หรือสูงกว่าในการเพาะเลี้ยง 5. วิธีการของการผลิตเมธิโอนีน, ที่ประกอบรวมด้วยการเพาะเลี้ยงจุลชีพที่ผลิตเมธิโอนีน โดยมี ระบบขนส่งไดเมธิล ไดซัลไฟด์ (DMDS) ที่ปลดปล่อยอย่างช้าๆ, ในลักษณะซึ่งเมธิโอนีนถูกผลิตขึ้น 6. วิธีการของข้อถือสิทธิที่ 5, โดยที่ระบบขนส่ง DMDS ที่ปลดปล่อยอย่างช้าๆ ประกอบรวม ด้วยของเหลวที่ผสทกันไมได้กับน้ำ, แต่ละลายใน DMDS 7. วิธีการของข้อถือสิทธิที่ 6, โดยที่ระบบขนส่ง DMDS ที่ปลดปล่อยอย่างช้าๆ ประกอบ รวมด้วยของเหลวที่เลือกได้จากกลุ่มที่ประกอบด้วย: น้ำมันสัตว์, น้ำมันแร่, น้ำมันทางเคมี, น้ำมันพืช, น้ำมันสังเคราะห์, ตัวทำละลายอินทรีย์, คลอโร-คาร์บอน, ฟลูออโร-คาร์บอน, คลอโร-ฟลูออโร- คาร์บอน หรือการรวมกันของมัน 8. วิธีการของข้อถือสิทธิที่ 5, โดยที่ระบบขนส่ง DMDS ที่ปลดปล่อยอย่างช้าๆ คือ การป้อน DMDS ที่ถูกควบคุมอย่างช้าๆ 9. วิธีการของถือสิทธิที่ 5, โดยที่ระบบขนส่ง DMDS ที่ปลดปล่อยอย่างช้าๆ คือ การไหลหรือ การแพร่ของ DMDS ผ่านเมมเบรนที่สามารถซึมผ่านได้ต่อ DMDS 1 0. วิธีการของข้อถือสิทธิที่ 5, โดยที่ระบบขนส่ง DMDS ที่ปลดปล่อยอย่างช้าๆ ประกอบรวม ด้วยการป้อน DMDS ในสถานะแก๊ส 1 1. วิธีการของข้อถือสิทธิที่ 10, โดยที่ DMDS ในสถานะแก๊สได้ถูกสร้างขึ้นโดยการระเหย หรือต้ม DMDS ที่เป็นของเหลว 1 2. วิธีการของข้อถือสิทธิ์ที่ 10, โดยที่ DMDS ในสถานะแก๊สได้ถูกสร้างขึ้นโดยการให้ ฟองอากาศ หรือออกซิเจนผ่าน DMDS ที่เป็นของเหลว 1 3. วิธีการของข้อถือสิทธิที่ 2 และ ข้อใดข้อหนึ่ง, โดยที่จุลชีพที่ผลิตเมธิโอนีนอยู่ในสกุล Corynebacterium 1 4. วิธีการของข้อถือสิทธิที่ 2 และ ข้อใดข้อหนึ่ง, โดยที่จุลชีพผลิตเมธิโอนีน คือ Corynebacterium glutamicum 1 5. วิธีการของข้อถือสิทธิที่ 2 และ 5 ข้อใดข้อหนึ่ง, โดยที่จุลชีพที่ผลิตเมธิโอนีนถูกเลือกได้จาก กลุ่มทีประกอบด้วยแบคทีเรียแกรม-ลบ, แบคทีเรีย-บวก, ยีสต์ และอาร์เคีย 1 6. วิธีการของข้อถือสิทธิที่ 2 และ 5 ข้อใดข้อหนึ่ง, โดยที่จุลชีพที่ผลิตเมธิโอนีนมีเอนไซม์ที่ สังเคราะห์เมธิโอนีนทางชีวภาพถูกดีเรกกิวเลทอย่างน้อยที่สุดหนึ่งชนิด 1 7. วิธีการของข้อถือสิทธิที่ 16, โดยที่จุลชีพดังกล่าวมี O-อะซีทิล-โฮโมซีรัน ซัลฟ์ไฮดริเลส หรือ O-ซัลซินิล-ไฮโมซีรีน ซัลฟ์ไฮดริเลสที่ถูกดีเรกกิวเลท 1 8. วิธีการของข้อถือสิทธิที่ 2 และ 5 ข้อใดข้อหนึ่ง, โดยที่จุลชีพที่ผลิตเมธิโอนีนมีเอนไซม์ที่ สังเคราะห์เมธิโอนีนทางชีวภาพอย่างน้อยสองชนิดที่ถูกดีเรกกิวเลท 1 9. วิธีการของข้อถือสิทธิที่ 18, โดยที่จุลชีพดังกล่าวมีโฮโมซีรีน อะซีทิลทรานสเฟอเรส หรือ โฮโมซีรีน ซัคซินิลทรานสเฟอเรสที่ถูกดีเรกกิวเลท และโฮโมซีรีน ดีไฮโดรจีเนสที่ถูกดีเรกกิวเลท 2 0. วิธีการของข้อถือสิทธิที่ 18, โดยที่จุลชีพดังกล่าวมี O-อะซีทิล-โฮโมซีรีน ซัลฟ์ไฮดริเลส ที่ถูกดีเรกกิวเลท และโฮโมซีรีน อะซีทิลทรานสเฟอเรสที่ถูกดีเรกกิวเลท หรือ O-ซัคซินิล-โฮโมซีรีน ซัลฟ์ไฮดริเลสที่ถูกดีเรกกิวเลท และโฮโมซีรีน ซัคซินิลทรานสเฟอเรสที่ถูกดีเรกกิวเลท 2 1. วิธีการการผลิตเมธิโอนีน, ที่ประกอบรวมด้วยการเพาะเลี้ยงจุลชีพที่มีวิถีการสังเคราะห์ เมธิโอนีนทางชีวภาพที่ถูกดีเรกกิวเลทโดยมีไดเมธิล ไดซัลไฟด์ (DMDS) อยู่ด้วย, เพื่อว่าเมธิโอนีน ได้ถูกผลิตขึ้น 2 2. วิธีการของข้อถือสิทธิที่ 21 โดยที่จุลชีพอยู่ในสกุล Corynebacterium 2 3. วิธีการของข้อถือสิทธิที่ 21, โดยที่จุลชีพ คือ Corynebacterrium glutamicum 2 4. วิธีการของข้อถือสิทธิที่ 21, โดยที่จุลชีพอยู่ในสกุล Escherichaia 2 5. วิธีการของข้อถือสิทธิที่ 21, โดยที่จุลชีพถูกเลือกได้จากกลุ่มที่ประกอบด้วย: แบคทีเรีย แกรม-ลบ, แบคทีเรียแกรม-บวก, ยีสต์ และอาร์เคีย 2 6. วิธีการของข้อถือสิทธิที่ 21, โดยที่จุลชีพดังกล่าวมี O-อะซีทิล-โฮโมซีรีน ซัลฟ์ไฮดริเลส หรือ O-ซัคซินิล-โฮโมซีรีน ซัลฟ์ไฮดริเลสที่ถูกดีเรกกิวเลท 2 7. วิธีการของข้อถือสิทธิที่ 21, โดยที่จุลชีพดังกล่าวมีโฮโมซีรีน อะซีทิลทรานสเฟอเรส หรือ โฮโมซีรีน ซัลซินิลทรานสเฟอเรสที่ถูกดีเรกกิวเลท และโฮโมซีรีน ดีไฮโดรจีเนสที่ถูกดีเรกกิวเลท 2 8. วิธีการของข้อถือสิทธิที่ 21, โดยที่จุลชีพดังกล่าวมี O-อะซีทิล-โฮโมซีรันซัลฟ์ไฮดริเลส ที่ถูกดีเรกกิวเลท และโฮโมซีรีน อะซีทิลทรานสเฟอเรสที่ถูกดีเรกกิวเลท หรือ O-ซัคซินิล-โฮโมซีรีน ซัลฟ์ไฮดริเลสที่ถูกดีเรกกิวเลท และโฮโมซีรีนซัคซินิลทรานสเฟอเรสที่ถูกดีเรกกิวเลท 2 9. วิธีการของข้อถือสิทธิที่ 21, ที่ยังประกอบรวมด้วยขั้นตอนของการแยกเมธิโอนีน 3 0. จุลชีพพรีคอมบิแนนท์ที่ผลิตเมธิโอนีนโดยมีไดเมธิล ไดซัลไฟด์ (DMDS), จุลชีพดังกล่าว มีวิถีการสังเคราะห์เมธิโอนีนทางชีวภาพที่ถูกดีเรกกิวเลท 3 1. จุลชีพของข้อถือสิทธิที่ 30 อยู่ในสกุล Corynebacterium 3 2. จุลชีพของข้อถือสิทธิที่ 31 ซึ่งคือ Corynebacterium glutamicum 3 3. จุลชีพของข้อถือสิทธิที่ 30 อยู่ในสกุล Escherichia ------------------------------------------------------------------------ 1. วิธีของการผลิตเมธิโอนีนที่ประกอบรวมด้วยการเพาะเลี้ยงจุลชีพที่ผลิตเมธิโอนีน เมื่อมีสารประกอบซัลไฟด์ที่ปิดด้วยเมธิล ดังเช่น เมธิโอนีนได้ถูกผลิตขึ้น 2. วิธีของข้อถือสิทธิที่ 1 โดยที่สารประกอบซัลไฟด์ที่ปิดด้วยเมธิลเลือกได้จากกลุ่มที่ ประกอบด้วยไดเมธิลไดซัลไฟด์ (DMDS), ไดเมธิลไตรซัลไฟด์, ไดเมธิลเตตระซัลไฟด์ และพอลิเมอร์ ของซัลไฟด์ที่มีน้ำหนักโมเลกุลที่สูงกว่า ซึ่งปลายของมันถูกปิดด้วยหมู่เมธิล 3. วิธีของการผลิตเมธิโอนีนที่ประกอบรวมด้วยการเพาะเลี้ยงจุลชีพที่ผลิตเมธิโอนีน เมื่อมี ไดเมธิลไดซัลไฟด์ (DMDS) จนกระทั่งเมธิโอนีน ได้ถูกผลิตขึ้น 4. วิธีของข้อถือสิทธิที่ 1-3 ข้อใดข้อหนึ่ง โดยที่ DMDS มีอยู่ที่ 0.02% หรือสูงกว่าในการ เพาะเลี้ยง 5. วิธีของข้อถือสิทธิที่ 1-3 ข้อใดข้อหนึ่ง โดยที่ DMDS มีอยู่ที่ 0.06% หรือสูงกว่าในการ เพาะเลี้ยง 6. วิธีของการผลิตเมธิโอนีนที่ประกอบรวมด้วยการเพาะเลี้ยงจุลชีพที่ผลิตเมธิโอนีนเมื่อมี ระบบขนส่งไดเมธิลไดซัลไฟด์ (DMDS) ที่ปลดปล่อยอย่างช้าๆ จนกระทั่งเมธิโอนีนได้ถูกผลิตขึ้น 7. วิธีตามข้อถือสิทธิที่ 6 โดยที่ระบบขนส่ง DMDS ที่ปลดปล่อยอย่างช้าๆ คือ Amberlite TM XAD4 8. วิธีตามข้อถือสิทธิที่ 7 โดยที่ระบบขนส่ง DMDS ที่ปลดปล่อยอย่างช้าๆ ปลดปล่อย DMDS ที่ระดับ 0.1% หรือสูงกว่าในการเพาะเลี้ยง 9. วิธีตามข้อถือสิทธิที่ 7 โดยที่ระบบขนส่ง DMDS ที่ปลดปล่อยอย่างช้าๆ ปลดปล่อย DMDS ที่ระดับ 0.3% หรือสูงกว่าในการเพาะเลี้ยง 1 0. วิธีตามข้อถือสิทธิที่ 6 โดยที่ระบบขนส่ง DMDS ที่ปลดปล่อยอย่างช้าๆ ประกอบรวม ด้วยของเหลวที่ผสมกันไม่ได้กับน้ำ แต่ละลายใน DMDS 1 1. วิธีตามข้อถือสิทธิที่ 10 โดยที่ระบบขนส่ง DMDS ที่ถูกปลดปล่อยอย่างช้าๆ ประกอบ รวมด้วยของเหลวที่เลือกได้จากกลุ่มที่ประกอบด้วยน้ำมันสัตว์, น้ำมันแร่, น้ำมันทางเคมี, น้ำมันพืช, น้ำมันสังเคราะห์, ตัวทำละลายอินทรีย์, คลอโร-คาร์บอน, ฟลูออโร-คาร์บอน, คลอโร-ฟลูออโร- คาร์บอน หรือการรวมกันของมัน 1 2. วิธีตามข้อถือสิทธิที่ 6 โดยที่ระบบขนส่ง DMDS ที่ปลดปล่อยอย่างช้าๆ คือการป้อน DMDS ที่ถูกควบคุมอย่างงช้าๆ 1 3. วิธีตามข้อถือสิทธิที่ 6 โดยที่ระบบขนส่ง DMDS ที่ปลดปล่อยอย่างช้าๆ คือการไหลหรือ การแพร่ของ DMDS ผ่านเมมเบรนที่ให้ซึมผ่านได้ต่อ DMDS 1 4. วิธีตามข้อถือสิทธิที่ 6 โดยที่ระบบขนส่ง DMDS ที่ปลดปล่อยอย่างช้าๆ ประกอบรวม ด้วยการป้อน DMDS ในสถานะแก๊ส 1 5. วิธีตามข้อถือสิทธิที่ 14 โดยที่ DMDS ในสถานะแก๊สได้ถูกสร้างขึ้นโดยการระเหยหรือ ต้ม DMDS ที่เป็นของเหลว 1 6. วิธีตามข้อถือสิทธิที่ 14 โดยที่ DMDS ในสถานะแก๊สได้ถูกสร้างขึ้นโดยการให้ฟอง อากาศ หรือออกซิเจนผ่าน DMDS ที่เป็นของเหลว 1 7. วิธีตามข้อถือสิทธิที่ 1, 2, 3 หรือ 6 ข้อใดข้อหนึ่ง โดยที่จุลชีพที่ผลิตเมธิโอนีนอยู่ในสกุล Corynebacterium 1 8. วิธีตามข้อถือสิทธิที่ 1, 2, 3 หรือ 6 ข้อใดข้อหนึ่ง โดยที่จุลชีพที่ผลิตเมธิโอนีนอยู่ในสกุล Corynebacterium glutamicum 1 9. วิธีตามข้อถือสิทธิที่ 1, 2, 3 หรือ 6 ข้อใดข้อหนึ่ง โดยที่จุลชีพที่ผลิตเมธิโอนีนเลือกได้ จากลุ่มที่ประกอบด้วยแบคทีเรียแกรมลบ, แบคทีเรียแกรมบวก, ยีส์ และ อาร์เคีย 2 0. วิธีตามข้อถือสิทธิที่ 1, 2, 3 หรือ 6 ข้อใดข้อหนึ่ง โดยที่จุลชีพที่ผลิตเมธิโอนีนมีเอนไซม์ ที่ผลิตเมธิโอนีนทางชีวภาพได้ถูกทำให้ไม่มีการควบคุม 2 1. วิธีตามข้อถือสิทธิที่ 20 โดยที่จุลชีพดังกล่าวมี O-อะซีทิล-โฮโมซีรีนซัลฟ์ไฮดริเลส หรือ O-ซัคซินิล-โฮโมซีรีนซัลฟ์ไฮดริเลส ที่ถูกทำให้ไม่มีการควบคุม 2 2. วิธีตามข้อถือสิทธิที่ 1, 2, 3 หรือ 6 ข้อใดข้อหนึ่ง โดยที่จุลชีพที่ผลิตเมธิโอนีนมีเอนไซม์ ที่ผลิตเมธิโอนีนทางชีวภาพอย่างน้อยสองชนิดที่ได้ถูกทำให้ไม่มีการควบคุม 2 3. วิธีตามข้อถือสิทธิที่ 22 โดยที่จุลชีพดังกล่าวมีโฮโมซีรีนอะซีทิลทรานสเฟอเรส หรือ โฮโมซีรีนซัคซินิลทรานสเฟอเรส ที่ถูกทำให้ไม่มีการควบคุม และโฮโมซีรีนดีไฮโดรจีเนสที่ถูกทำให้ ไม่มีการควบคุม 2 4. วิธีตามข้อถือสิทธิที่ 22 โดยที่จุลชีพดังกล่าวมี O-อะซีทิล-โฮโมซีรีนซัลฟ์ไฮดริเลส ที่ถูกทำให้ไม่มีการควบคุม และโฮโมซีรีนอะซีทิลทรานสเฟอเรส ที่ถูกทำให้ไม่มีการควบคุม หรือ O-ซัคซินิล-โฮโมซีรีนซัลฟ์ไฮดริเลส ที่ถูกทำให้ไม่มีการควบคุม และโฮโมซีรีนซัคซินิล ทรานสเฟอเรสที่ถูกทำให้ไม่มีการควบคุม 2 5. วิธีการผลิตเมธิโอนีนที่ประกอบรวมด้วยการเพาะเลี้ยงจุลชีพที่มีวิถีการสังเคราะห์ เมธิโอนีนทางชีวภาพ ที่ถูกทำให้ไม่มีการควบคุมเมื่อมีไดเมธิลไดซัลไฟด์ (DMDS) จนกระทั้ง เมธิโอนีนได้ถูกผลิตขึ้น 2 6. วิธีตามข้อถือสิทธิที่ 25 โดยที่จุลชีพอยู่ในสกุล Corynebacterium 2 7. วิธีตามข้อถือสิทธิที่ 25 โดยที่จุลชีพอยู่ในสกุล Corynebacterium glutamicum 2 8. วิธีตามข้อถือสิทธิที่ 25 โดยที่จุลชีพอยู่ในสกุล Escherichia 2 9. วิธีตามข้อถือสิทธิที่ 25 โดยที่จุลชีพเลือกได้จากกลุ่มที่ประกอบด้วยแบคทีเรียแกรมลบ, แบคทีเรียแกรมบวก, ยีสต์ และอาร์เคีย 3 0. วิธีตามข้อถือสิทธิที่ 25 โดยที่จุลชีพดังกล่าวมี O-อะซีทิล-โฮโมซีรีนซัลฟ์ไฮดริเลส หรือ O-ซัคซินิล-โฮโมซีรีนซัลฟ์ไฮดริเลส ที่ถูกทำให้ไม่มีการควบคุม 3 1. วิธีตามข้อถือสิทธิที่ 25 โดยที่จุลชีพดังกล่าวมีโฮโมซีรีนอะซีทิลทรานสเฟอเรส หรือ โฮโมซีรีนซัคซินิลทรานสเฟอเรส ที่ถูกทำให้ไม่มีการควบคุม และโฮโมซีรีนดีไฮโดรจีเนสที่ถูกทำให้ ไม่มีการควบคุม 3 2. วิธีตามข้อถือสิทธิที่ 25 โดยที่จุลชีพดังกล่าวมี O-อะซีทิล-โฮโมซีรีนซัลฟ์ไฮดริเลส ที่ถูกทำให้ไม่มีการควบคุม และโฮโมซีรีนอะซีทิลทรานสเฟอเรส ที่ถูกทำให้ไม่มีการคบวคุม หรือ O-ซัคซินิล-โฮโมซีรีนซัลฟ์ไฮดริเลส ที่ถูกทำให้ไม่มีการควบคุม และโฮโมซีรีนซัคซินิล ทรานสเฟอเรส ที่ถูกทำให้ไม่มีการควบคุม 3 3. วิธีตามข้อถือสิทธิที่ 25 ที่ยังประกอบรวมด้วยขั้นตอนของการแยกเมธิโอนีน 3 4. องค์ประกอบที่ประกอบรวมด้วยเมธิโอนีนที่แยกได้ตามข้อถือสิทธิที่ 33 3 5. ผลิตภัณฑ์ที่มีเมธิโอนีนที่สังเคราะห์ตามวิธีของข้อใดข้อหนึ่งของข้อถือสิทธิข้างต้น 3 6. จุลชีพรีคอมบิแนนท์ที่อยู่ในสกุล Corynebacterium เพื่อการผลิตเมธิโอนีน เมื่อมีไดเมธิล ไดซัลไฟด์ (DMDS) จุลชีพดังกล่าวมีวิถีการสังเคราะห์เมธิโอนีนทางชีวภาพที่ถูกทำให้ไม่มีการ ควบคุม 3 7. จุลชีพรีคอมบิแนนท์ที่อยู่ในสกุล Corynebacterium glutamicum เพื่อการผลิตเมธิโอนีน เมื่อมีไดเมธิลไดซัลไฟด์ (DMDS) จุลชีพดังกล่าวมีวิถีการสังเคราะห์เมธิโอนีนทางชีวภาพที่ถูกทำให้ ไม่มีการควบคุม 3 8. จุลชีพรีคอมบิแนนท์ที่อยู่ในสกุล Escherichia เพื่อการผลิตเมธิโอนีน เมื่อมีไดเมธิล ไดซัลไฟด์ (DMDS) จุลชีพดังกล่าวมีวิถีการสังเคราะห์เมธิโอนีนทางชีวภาพที่ถูกทำให้ไม่มีการ ควบคุม 3 9. วิธีเพื่อการปรับปรุงการใช้ DMDS เพื่อการผลิตเมธิโอนีนที่ประกอบรวมด้วยการคัดเลือก ออกโซโทรปเมธิโอนีนที่เติบโตหรือเติบโตเร็วกว่าบนอาหารสูตรต่ำที่ขาดเมธิโอนีนแต่มี DMDS 4 0. จุลชีพที่ได้จากวิธีการคัดเลือกของข้อถือสิทธิที่ 39 หรือลูกหลานของจุลชีพดังกล่าว 4Disclaimer (all) which will not appear on the announcement page: EDIT 15/06/16 1. Methionine production method, which consists of culturing methionine-producing microorganisms. With Methylcapide sulfide (meathyl capped sulfde compound) is included, so that methionine is produced, where methylcapide sulfide is H3C- (S ) n-CH3 and n are 2-50 2. Methionine production method, combining methionine-producing microorganisms with dimethyl disulfide (DMDS ), So that methionine was produced 3. Method of 1st or 2nd duty, with DMDS of 0.02% or higher in culture. 1 or 2, with DMDS 0.06% or higher in culture 5. Methods of methionine production, consisting of methionine-producing microorganisms cultured with a system. Transport of slow-release dimethyl disulfide (DMDS), in a manner in which methionine is produced. 6. Method of claim 5, where the slow-release DMDS transport system is composed of methionine. Combined with liquids that are incompatible with water, but dissolved in DMDS 7. Method of claim 6, where the slow-release DMDS transport system consists of a liquid of choice from a group containing: oil. Animal, mineral oil, chemical oil, vegetable oil, synthetic oil 8) Method of claim 5, whereby the transport system is used as a means of transporting the organic solvent, chloro-carbon, fluoro-carbon, chloro-fluoro-carbon or its combination. Slow release DMDS is the regulated slow feed of the DMDS 9. The method of holding rights 5, where the slow release DMDS transport system is the flow or diffusion of the DMDS through the permeable membrane. Continued DMDS 1 0. Claim Method 5, where the slow release DMDS transport system incorporates DMDS input in the gas state 1 1. Claim Method 10, where DMDS in State Gas is generated by evaporating or boiling liquid DMDS 1 2. Method of Proposition 10, where gas-state DMDS is generated by air bubbles or oxygen through liquid DMDS 1 3. Method of claim 2 and any one, where methionine-producing microorganisms are in the genus Corynebacterium 1 4. Method of claim 2 and any one, where the microorganisms producing methionine is Corynebacterium glutamicum 1 5. Method of either claim 2 and 5, where Methionine-producing microorganisms were selected from The group consists of Gram-Negative, Bacteri-Positive, Yeast and Archea 1 6. Method of one of the 2nd and 5th Clause, where methionine-producing microorganisms contain the enzyme that Biosynthesis of methionine was at least one type of deregulate 1 7. Method of claim 16, whereby the microorganisms have O-acetyl-homosyran Sulfhydrylase or O-Sulfinil-Hymoserene Dehydrated sulfhydrylase 1 8. Method of either Clause 2 and 5, where methionine-producing microorganisms contain the enzyme that Biosynthesis of at least two biodegradable methionine delegated 1 9. Method of claim 18, whereby the microorganisms contain homosirine. Acetyltransferase or homocerene, succinyl transferase, de-regulated and homocerene dehydrogenase Derekulet 2 0. Method of claim 18, whereby such microorganisms have O-acetyl-homosyrine Sulfhydrylase Dereggulate and homosyrene acetyltransferase dereggulate or O-succinil-homosyrine De-regulated sulfhydrylate and de-regulated homocyrene succinyl transferase 2 1. Methi production method. Onene, which consists of microorganism culture with a synthetic pathway. Biodegradable methionine with dimethyl disulfide (DMDS), so that methionine Was produced 2 2. Method of claim 21 where the microorganisms belong to the genus Corynebacterium 2 3. Method of claim 21, where the microorganism is Corynebacterrium glutamicum 2 4. Method of claim 21, where the microbes belong to the genus Escherichaia 2 5. Method of claim 21, Where the microorganisms were selected from a group consisting of: Gram-Negative Bacteria, Gram-Positive Bacteria, Yeast and Archea 2 6. Method of claim 21, whereby the microorganism had O-acetyl-homosyrine Sulfhydrylase or O-succinil-homosyrine Defined sulfhydrylase 2 7. Method of claim 21, whereby the microorganisms contain homosirine Acetyltransferase or homocerene, sulfinyl transferase, de-regulated, and corrected homoseri dehydrogenase Derekulet 2 8. Method of claim 21, whereby such microorganisms have O-acetyl-homosyran sulfhydrylase Dereggulate and homosyrene acetyltransferase dereggulate or O-succinil-homosyrine Dehydrated sulfhydrylate And homocyrin succinyl transferase 2 9. The method of claim 21, which also includes the process of methio extraction. Nene 3 0. Pre-combinant microorganisms that produce methionine with dimethyl disulfide (DMDS), such microorganisms. Biological methionine biosynthesis pathway is derekulate 3 1. The microbes of claim 30 belong to the genus Corynebacterium 3 2. The microbes of claim 31, which is Corynebacterium glutamicum 3 3. The microbe of claim 30 is in the genus Escherichia --------------------------------------- --------------------------------- 1. Method of methionine production that consists of cultivating Cultivate methionine-producing microorganisms When methyl sulfide compounds such as methionine are produced 2. Method of claim 1 where methyl sulfide compounds are selectable from the group. that Contains dimethyl disulfide (DMDS), dimethyl trisulfide, dimethyl tetrosulfide, and a molecular weight sulfide polymer. Higher Its ends are closed with methyl groups. 3. Method of methionine production consists of microorganisms that produce methionine in the presence of dimethyl disulfide (DMDS). ) Until methionine 4. Any of the 1-3 Claim Method, where DMDS is 0.02% or higher in culture 5. Any of the 1-3 Claim Method by The DMDS was present at 0.06% or higher in culture. 6. Methionine production method consists of microorganism culture that produces methionine when available. Slow-release dimethyl disulfide (DMDS) transport system Until methionine was produced. 7. Method according to claim 6, where the slow-release DMDS transport system was Amberlite TM XAD4. Discharge DMDS at 0.1% or higher in culture 9. Method according to claim 7, where the slow-release DMDS transport system releases DMDS of 0.3% or higher in culture 1 0. Privilege 6 where the slow-release DMDS transport is composed of a liquid that is incompatible with water but dissolves in DMDS 1. 1. Method according to claim 10, where the slow-release DMDS transport system integrates. With selectable liquids from animal oil, mineral oil, chemical oil, vegetable oil, synthetic oil, organic solvent, chloro-carbon, fluorocarbon, chloro-fluoro- Carbon or its combination 1 2. Method according to claim 6, whereby the slow-release DMDS transport system is the slow feeding of the regulated DMDS 1 3. The method of claim 6, whereby the transport system Slowly releasing DMDS This is the flow or diffusion of DMDS through a permeable membrane per DMDS 1 4. Method according to claim 6, where the slow-release DMDS transport system consists of a DMDS feeding in the gas state 1 5. Method according to claim 14, where the gas-state DMDS is generated by evaporating or boiling the liquid DMDS 1 6. Method according to claim 14, wherein the gas-state DMDS is generated by supplying Air bubbles or oxygen through liquid DMDS 1 7. Any of the methods in Claim 1, 2, 3 or 6. Where methionine-producing microorganisms are in the genus Corynebacterium 1 8. Any method according to claim 1, 2, 3 or 6. Where methionine-producing microorganisms are in the genus Corynebacterium glutamicum 1 9. Any method according to claim 1, 2, 3 or 6. Where methionine-producing microorganisms are selectable From a group consisting of gram-negative, gram-positive, yeast and archaea 2 0. Any method according to claim 1, 2, 3 or 6. Where the methionine-producing microorganisms have enzymes The biological production of methionine was uncontrolled. 2 1. Method of claim 20, whereby the microorganisms have O-acetyl-homosyrine sulfhydrylase or O-succinil-homosyrine sulfhydrylase That were left uncontrolled 2 2. one of the methods of claim 1, 2, 3 or 6 Where the methionine-producing microorganisms have enzymes 2 3. Method according to claim 22, whereby the microorganisms contain homocyrene acetyltransfer. Race or homosyrine succinil transferase Out of control And made homocerene dehydrogenase Uncontrolled 2 4. Method according to claim 22, whereby such microorganisms have O-acetyl-homosyrine sulfhydrylase Out of control And homocerene acetyltransferase Uncontrolled or O-succinil-homoserene sulfhydrylase Out of control And homosyrine succinil Uncontrolled transferase 2 5. Methionine production method comprising of microorganism culture with synthetic pathway. Biological methionine That was uncontrolled when dimethyl disulfide (DMDS) was present until methionine was produced. 2. 6. Method according to claim 25, where the microorganisms belong to the genus. Corynebacterium 2 7. Method according to claim 25 where the microorganisms belong to the genus. Corynebacterium glutamicum 2 8. Method according to claim 25, where the microorganisms belong to the genus Escherichia 2 9. Method according to claim 25 where the microorganisms can be selected from the group containing gram-negative, gram-positive, yeast and Archia 3 0. Method according to claim 25, whereby such microorganisms have O-acetyl-homosyrine sulfhydrylase or O-succinil-homosyrine sulfhydrylase 3 1. Method according to claim 25, whereby the microorganisms contain homocyrene, acetyltransferase or homocerene succinyltrans. Sferes Out of control And made homocerene dehydrogenase Uncontrolled 3 2. Method according to claim 25 whereby the microorganisms have O-acetyl-homosyrine sulfhydrylase Out of control And homocerene acetyltransferase That were made without the control or O-succinil-homoserene sulfhydrylase Out of control And uncontrolled homocyrin succinyl transferase 3 3. Method according to claim 25, which also includes the methionine separation phase 3 4 Methionine-containing constituents isolated under claim 33 3. 5. Products containing methionine synthesized by any of the above claims 3 6. Microbial Recombinant in the genus Corynebacterium For the production of methionine In the presence of dimethyl disulfide (DMDS), the microorganisms have an uncontrolled pathway for biological methionine synthesis. 3 7. Recombinant microorganisms belonging to the genus. Corynebacterium glutamicum for methionine production. In the presence of dimethyl disulfide (DMDS), the microorganisms have a biologically modified pathway of methionine synthesis. Uncontrolled 3 8. Recombinant Escherichia microorganisms for methionine production. In the presence of dimethyl disulfide (DMDS), the microorganism has an uncontrolled pathway for biosynthesis of methionine. 3 9. Methods for improving DMDS utilization for methio production. Neen that consists of selection Oxotroph methionine that grows or grows faster on low-methionine-deficient diets but contains DMDS 4.0. Microorganisms obtained from the selection method of claim 39 or the offspring of microorganisms. Such 4 1. จีนที่แยกได้ที่อนุพันทธ์จากจุลชีพที่ได้จากวิธีการคัดเลือกของข้อถือสิทธิที่ 39 41. China isolated at the microbe derivative obtained by the selection method of claim 39 4. 2. วิธีเพื่อการบ่งชี้อัลลีลกลายพันธ์ที่ประมวลรหัส O-อะซีทิลโฮโมซีรีนซัลฟ์ไฮดริเลส หรือ O-ซัคซินิลโฮโมซีรีนซัลฟ์ไฮดริเลส ที่ต้านทานต่อการยับยั้งแบบป้อนกลับโดยเมธิโอนีนที่ประกอบ รวมด้วย a) การสัมผัสจุลชีพที่อาศัย DMDS และพลาสมิดที่ประมวลรหัส O-อะซีทิลโฮโมซีรีนซัลฟ์ไฮดริเลส หรือ O-ซัคซินิลโฮโมซีรีนซัลฟ์ไฮดริเลส เพื่อการเติบโตบนอาหารปลอดเมธิโอนีน ที่มีอะนาลอก เมธิโอนีนที่ยับยั้งการเติบโตของสิ่งมีชีวิตดังกล่าว b) การคัดเลือกแวเรียนต์สายพันธุ์กลายของสิ่งมีชีวิตดังกล่าวที่ต้านทานต่ออะนาลอกดังกล่าว c) การแยกแวเรียนต์สายพันธุ์กลายดังกล่าว โดยที่ฟีโนไทป์ที่ต้านทานได้ถูกประมวลรหัสโดย พลาสมิดดังกล่าว และ d) การหาลำดับดีเอ็นเอของส่วนที่สัมพันธ์กันของพลาสมิดดังกล่าวเพื่อบ่งชี้พลาสมิดกลายพันธ์ที่มี ลำดับที่ได้เปลี่ยนแปลงในบริเวณที่เป็นรหัสสำหรับ O-อะซีทิลโฮโมซีรีนซัลฟ์ไฮดริเลส หรือ O-ซัคซินิลโฮโมซีรีนซัลฟ์ไฮดริเลส ดังกล่าว จนกระทั่งอัลลีลกลายพันธ์ที่ประมวลรหัส O-อะซีทิล โฮโมซีรีนซัลฟ์ไฮดริเลส หรือ O-ซัคซินิลโฮโมซีรีนซัลฟ์ไฮดริเลส ที่ต้านทานต่อการยับยั้งแบบป้อน กลับโดยเมธิโอนีนได้ถูกบ่งชี้ 42. Method for identifying coded mutant alleles O-acetylhydrylase or O-succinyl homoserene sulfhydrylase A) exposure to DMDS-dependent microorganisms and coded plasmids. O-acetylhydrylase or O-succinyl homoserene sulfhydrylase B) Selection of mutant mutants of the organisms that are resistant to methionine-free diets containing methionine analogs that inhibit the growth of such organisms. C) the separation of the mutant variant. Where the resistant phenotypes are coded by And d) DNA sequencing of the relative parts of the plasmid to indicate the presence of mutant plasmids. The order has been changed in the code area for O-acetylhydrylase, or O-succinyl homoseri, sulfhydrase until the mutated alleles that are processed Code O-acetylhydrylase or O-succinyl homoseri sulfhydrylase Resistance to feed inhibition Methionine was identified 4. 3. วิธีตามข้อถือสิทธิที่ 42 โดยที่สิ่งมีชีวิตดังกล่าวขาดเมธิโอนีนซินเธส (MetE และ/หรือ MetH) หรือเมธิลเตตระไฮโดรโฟเลทรีดักเทส (MetF) และอาหารปลอดเมธิโอนีนดังกล่าวมีไดเมธิล ไดซัลไฟด์ (DMDS) 43.Method according to claim 42, where the organism lacks methionine synthase (MetE and / or MetH) or methyl tetrahydrophyleductase (MetF). And the aforementioned methionine-free food contains dimethyl disulfide (DMDS) 4 4. วิธีของข้อถือสิทธิที่ 42 หรือ 43 โดยที่สิ่งมีชีวิตดังกล่าวคือสายพันธุ์ของ Corynebacterium glutamicum 44. Method of claim 42 or 43, whereby the organism is a species of Corynebacterium glutamicum 4 5. วิธีของข้อถือสิทธิที่ 42 หรือ 43 โดยที่สิ่งมีชีวิตดังกล่าวคือสายพันธุ์ของ Escherichia coli 45. Method of claim 42 or 43, where the organism is Escherichia coli 4 species. 6. เอมไซม์ O-อะซีทิลโฮโมซีรีนซัลฟ์ไฮดริเลส หรือ O-ซัคซินิลโฮโมซีรีนซัลฟ์ไฮดริเลส กลายพันธ์ที่แยกได้โดยวิธีตามข้อถือสิทธิที่ 426. Enzyme O-acetylhydrylase or O-succinyl homosyrene sulfhydrylase Mutations isolated by means of claim 42
TH601003362A 2006-07-18 The use of dimethyl disulfide for methionine production in microorganisms. TH64114B (en)

Publications (3)

Publication Number Publication Date
TH103188A TH103188A (en) 2010-08-11
TH103188B TH103188B (en) 2010-08-11
TH64114B true TH64114B (en) 2018-08-08

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
CA2615315C (en) Use of dimethyl disulfide for methionine production in microorganisms
Halet et al. Poly-β-hydroxybutyrate-accumulating bacteria protect gnotobiotic Artemia franciscana from pathogenic Vibrio campbellii
Gęsicka et al. Recent trends in methane to bioproduct conversion by methanotrophs
RU2346038C2 (en) Fermentative method of producing amino acids and amino acid derivatives from phosphoglycerate family
Nanninga et al. Properties of Desulfovibrio carbinolicus sp. nov. and other sulfate-reducing bacteria isolated from an anaerobic-purification plant
RU2613365C1 (en) Strain of methane-oxidizing bacteria methylococcus capsulatus gbs-15 for obtaining of microbial protein mass
Hidalgo‐Ahumada et al. Novel energy conservation strategies and behaviour of Pelotomaculum schinkii driving syntrophic propionate catabolism
US9062340B2 (en) Process for the selection of PHB-producing methanotrophic cultures
CN1989252A (en) Microorganisms for producing sulphur-containing compounds
US8802399B2 (en) Method for production of natural L-cysteine by fermentation
CN103361389A (en) Method for aerobic production of alanine or a compound arising using alanine
Rodríguez et al. Molecular analysis of the biomass of a fluidized bed reactor treating synthetic vinasse at anaerobic and micro-aerobic conditions
Balk et al. Desulfatirhabdium butyrativorans gen. nov., sp. nov., a butyrate-oxidizing, sulfate-reducing bacterium isolated from an anaerobic bioreactor
CN110656057B (en) Heterotrophic nitrification-aerobic denitrification paracoccus strain, seed liquid, preparation method and application thereof
RU2458981C2 (en) Method of producing l-cysteine using bacteria of enterobacteriaceae family
Van der Maarel et al. Demethylation of dimethylsulfoniopropionate to 3-S-methylmercaptopropionate by marine sulfate-reducing bacteria
Park et al. Whole-genome sequence of purple non-sulfur bacteria, Rhodobacter sphaeroides strain MBTLJ-8 with improved CO2 reduction capacity
Liu et al. The effect of anaerobic–aerobic and feast–famine cultivation pattern on bacterial diversity during poly-β-hydroxybutyrate production from domestic sewage sludge
Edwin et al. Phylogenetic and morphological diversity of culturable cyanobacteria from Lake Magadi in Kenya
Hocking et al. Assessment of the carbon monoxide metabolism of the hyperthermophilic sulfate-reducing archaeon Archaeoglobus fulgidus VC-16 by comparative transcriptome analyses
Herath et al. Transcriptional response of Desulfatibacillum alkenivorans AK-01 to growth on alkanes: insights from RT-qPCR and microarray analyses
den Camp et al. Anammox
Giannetto et al. Using carbon dioxide to maintain an elevated oleaginous microalga concentration in mixed-culture photo-bioreactors
TH64114B (en) The use of dimethyl disulfide for methionine production in microorganisms.
TH103188A (en) The use of dimethyl disulfide for methionine production in microorganisms.