TH63583B - เครื่องตรวจจับภาพและอุปกรณ์ควบคุมการสวิตช์ของเครื่องสวิตช์กำลังที่ใช้อุปกรณ์ตรวจจับสภาพ - Google Patents

เครื่องตรวจจับภาพและอุปกรณ์ควบคุมการสวิตช์ของเครื่องสวิตช์กำลังที่ใช้อุปกรณ์ตรวจจับสภาพ

Info

Publication number
TH63583B
TH63583B TH501001910A TH0501001910A TH63583B TH 63583 B TH63583 B TH 63583B TH 501001910 A TH501001910 A TH 501001910A TH 0501001910 A TH0501001910 A TH 0501001910A TH 63583 B TH63583 B TH 63583B
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
time
contact
deflection
information
solenoid
Prior art date
Application number
TH501001910A
Other languages
English (en)
Other versions
TH73373A (th
Inventor
ทาเคอูซิ โตชิเอะ
มัตซูนากะ โตชิฮิโร
โฮริโนอูชิ คัสซูฮิโกะ
ซึกิมา มิตซูรุ
มารูยามา อากิฮิโกะ
Original Assignee
นายชวลิต อัตถศาสตร์
Filing date
Publication date
Application filed by นายชวลิต อัตถศาสตร์ filed Critical นายชวลิต อัตถศาสตร์
Publication of TH73373A publication Critical patent/TH73373A/th
Publication of TH63583B publication Critical patent/TH63583B/th

Links

Abstract

DC60 การประดิษฐ์นี้มีวัตถุประสงค์ที่จะจัดให้มีเครื่องตรวจจับสถานะที่ไม่ต้องใช้การปรับทางแสง และที่มีขนาดเล็กลงได้ รูปคลื่นของกระแสสำหรับกระตุ้นขดลวดแม่เหล็กไฟฟ้าสำหรับเปิดของชุดปฏิบัติงานด้วย แม่เหล็กไฟฟ้าที่ทำหน้าที่ขับหน้าสัมผัสที่เคลื่อนตัวของอุปกรณ์สวิตชิ่ง ดังแสดงด้วยกระแส J ของรูป ที่ 5 จะรวมถึงจุดเบี่ยงตัว P ที่เกิดขึ้นหลังค่ามากที่สุด imax และจุดเบี่ยงตัวนี้จะเกิดขึ้นที่ช่วงเวลาที่ หน้าสัมผัสเข้ามาจับคู่กัน โดยนัยนี้จึงมีความเป็นไปได้ที่จะหาปริมาณการสึกของหน้าสัมผัสจากการ เปลี่ยนแปลงตลอดเวลาของเวลา tp ดังนั้น ตำแหน่งของจุดเบี่ยงตัว P จะได้จากวิถีทางค้นหาจุดเบี่ยง ตัว ตัวอย่างเช่น โดยการปรับอัตราของการเปลี่ยนแปลงของกระแส (di/dt) และปริมาณการสึกของ หน้าสัมผัสจะหาได้จากวิถีทางคำนวณการสึกของหน้าสัมผัสจากการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาของเวลา tp เมื่อจุดเบี่ยงตัวเกิดขึ้น โดยที่แม้ว่าวิธีการทั้งสองไม่ได้มีแสดงไว้ นอกจากนี้ ยังมีความเป็นไปได้ที่ จะขจัดความจำเป็นในการใช้วิถีทางตรวจวัดทางกล เช่น วิถีทางตรวจวัดทางแสง ซึ่งจะทำให้เครื่องนี้มี ขนาดเล็กลงได้ และมีราคาไม่แพง ช่วงชัก ST ของแกนเหล็กตัวที่เคลื่อนตัวสำหรับขับที่เชื่อมกับ หน้าสัมผัสตัวที่เคลื่อนตัวจะเป็นดังแสดงในรูปเขียน ที่ซึ่ง Act3 จะแสดงจุดสิ้นสุดของการเปิด การประดิษฐ์นี้มีวัตถุประสงค์ที่จะจัดให้มีเครื่องตรวจจับสถานะที่ไม่ต้องใช้การปรับทางแสง และที่มีขนาดเล็กลงได้ รูปคลื่นของกระแสสำหรับกระตุ้นขดลวดแม่เหล็กไฟฟ้าสำหรับเปิดของชุดปฏิบัติงานด้วย แม่เหล็กไฟฟ้าที่ทำหน้าที่ขับหน้าสัมผัสที่เคลื่อนตัวของอุปกรณ์สวิตชิ่ง ดังแสดงด้วยกระแส J ของรูป ที่ 5 จะรวมถึงจุดเบี่ยงตัว P ที่เกิดขึ้นหลังค่ามากที่สุด imax และจุดเบี่ยงตัวนี้จะเกิดขึ้นที่ช่วงเวลาที่ หน้าสัมผัสเข้ามาจับคู่กัน โดยนัยนี้จึงมีความเป็นไปได้ที่จะหาปริมาณการสึกของหน้าสัมผัสจากการ เปลี่ยนแปลงตลอดเวลาของเวลา tp ดังนั้น ตำแหน่งของจุดเบี่ยงตัว P จะได้จากวิถีทางค้นหาจุดเบี่ยง ตัว ตัวอย่างเช่น โดยการปรับอัตราของการเปลี่ยนแปลงของกระแส (di/dt) และปริมาณการสึกของ หน้าสัมผัสจะหาได้จากวิถีทางคำนวณการสึกของหน้าสัมผัสจากการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาของเวลา tp เมื่อจุดเบี่ยงตัวเกิดขึ้น โดยที่แม้ว่าวิธีการทั้งสองไม่ได้มีแสดงไว้ นอกจากนี้ ยังมีความเป็นไปได้ที่ จะขจัดความจำเป็นในการใช้วิถีทางตรวจวัดทางกล เช่น วิถีทางตรวจวัดทางแสง ซึ่งจะทำให้เครื่องมือนี้มี ขนาดเล็กลงได้ และมีราคาไม่แพง ช่วงชัก ST ของแกนเหล็กตัวที่เคลื่อนตัวสำหรับขับที่เชื่อมกับ หน้าสัมผัสตัวที่เคลื่อนตัวจะเป็นดังแสดงในรูปเขียน ที่ซึ่ง Act3 จะแสดงจุดสิ้นสุดของการเปิด

Claims (9)

1. เครื่องมือตรวจจับสถานะ ที่ซึ่งมีติดตั้งอยู่ในระบบปฏิบัติงานด้วยแม่เหล็กไฟฟ้า ที่ซึ่ง ประกอบด้วยแกนเหล็กตัวที่อยู่กับที่; แกนเหล็กตัวที่เคลื่อนที่ ที่มีโครงสร้างเคลื่อนตัวได้กับแกนเหล็ก ตัวที่อยู่กับที่ดังกล่าว และขดลวดแม่เหล็กไฟฟ้าที่ถูกกระตุ้นให้ทำงาน โดยแหล่งกำเนิดกำลังขับเคลื่อน ให้มันทำงาน และทำให้แกนเหล็กตัวที่เคลื่อนที่ดังกล่าวเคลื่อนตัวไป โดยที่ตามวิธีการนี้จะเป็นการขับ ให้อุปกรณ์ใช้งานที่เชื่อมต่อกับแกนเหล็กตัวที่เคลื่อนที่ดังกล่าวทำงาน เครื่องตรวจจับสถานะจะประกอบด้วยวิธีทางวัด สำหรับวัดกระแสที่ไหลผ่านขดลวด แม่เหล็กไฟฟ้าหรือแรงดันที่จะถูกสร้างขึ้นที่ขดลวดแม่เหล็กไฟฟ้าดังกล่าว และวิธีทางค้นหาเพื่อให้ ได้สารสนเทศของการเปลี่ยนแปลงในรูปคลื่นของเอาท์พุทจากวิถีทางวัดนี้ และจะประมาณสถานะ ของอุปกรณ์ใช้งานหรือระบบปฏิบัติงานด้วยแม่เหล็กไฟฟ้า บนพื้นฐานของสารสนเทศของการ เปลี่ยนแปลงจากวิถีทางค้นหาดังกล่าว
2. เครื่องตรวจจับสถานะ ตามที่ระบุไว้ในข้อถือสิทธิข้อ 1 ที่ซึ่ง วิถีทางค้นหาดังกล่าวจะ ประกอบด้วยวิถีทางค้นหาจุดเบี่ยงตัว สำหรับค้นหาจุดเบี่ยงตัวที่อยู่บนเส้นคาแร็กเทอริสติกของ เอาท์พุท - เวลาที่แสดงการเปลี่ยนแปลงไปตามเวลาของค่าเอาท์พุทที่ได้จากวิถีทางวัดดังกล่าว และจะ ได้สารสนเทศชนิดหนึ่ง เป็นอย่างน้อยที่สุดของ จากสารสนเทศของเวลา, สารสนเทศของค่าของ กระแส และสารสนเทศของค่าของแรงดันที่จุดเบี่ยงตัวดังกล่าว
3. เครื่องตรวจจับสถานะ ตามที่ระบุไว้ในข้อถือสิทธิข้อ 2 ที่ซึ่ง วิถีทางค้นหาจุดเบี่ยงตัว ดังกล่าวจะรวมถึงฟังก์ชันทำหน้าที่ค้นหาตำแหน่งหนึ่งของจุดเบี่ยงตัวจุดอื่นๆ บนพื้นฐานของปริมาณ ชดเชยที่ได้กำหนดขึ้นเบื้องต้นจากตำแหน่งหนึ่งของจุดเบี่ยงตัว ตัวหนึ่ง
4. เครื่องตรวจจับสถานะ ตามที่ระบุไว้ในข้อถือสิทธิข้อที่ 2 ที่ซึ่ง วิถีทางค้นหาจุดเบี่ยงตัว ดังกล่าวจะได้ค่าเวลาเมื่อจุดเบี่ยงตัวดังกล่าวเกิดขึ้นบนพื้นฐานของอัตราของการเปลี่ยนแปลงไปตาม เวลาของเส้นคาแร็กเทอริสติกของเอาท์พุท - เวลาดังกล่าว
5. เครื่องตรวจจับสถานะ ตามที่ระบุไว้ในข้อถือสิทธิข้อ 2 ที่ซึ่ง วิถีทางค้นหาจุดเบี่ยงตัว ดังกล่าวจะใช้เส้นคาแร็กเทอริสติกของเอาท์พุท - เวลากับเส้นเคิร์ฟประมาณค่าที่อยู่ในรูปของฟังก์ชัน พอลินอเมียล และจะได้ค่าเวลาเมื่อจุดเบี่ยงตัวเกิดขึ้น บนพื้นฐานของเส้นเคิร์ฟประมาณค่าดังกล่าว
6. เครื่องตรวจจับสถานะ ตามที่ระบุไว้ในข้อถือสิทธิข้อ 1 ที่ซึ่ง วิถีทางค้นหาดังกล่าวจะ สามารถค้นหาสารสนเทศชนิดหนึ่ง เป็นอย่างน้อยที่สุด ของสารสนเทศของค่ากระแส และสารสนเทศ ของค่าแรงดันที่จุดเวลาของลักษณะ ซึ่งจะอยู่ในรูปของสารสนเทศของการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว โดย จุดเวลาดังกล่าวจะเป็นจุดหลังจากที่ช่วงเวลาตามที่กำหนดได้ผ่านพ้นไปแล้วจากจุดเวลาจุดใดจุดหนึ่ง เป็นอย่างน้อยที่สุด ของจุดเวลาเริ่มต้นการกระตุ้น โดยแหล่งกำเนิดกำลังขับเคลื่อนเข้าไปดังกล่าว และ จุดเวลาที่ซึ่งจุดเบี่ยงตัวดังกล่าวตามข้อถือสิทธิข้อ 2 มีตำแหน่งอยู่บนเส้นคาแร็กเทอริสติกของ เอาท์พุท - เวลาที่แสดงถึงการเปลี่ยนแปลงไปตามเวลาของค่าเอาท์พุทที่ได้จากวิถีทางวัดดังกล่าว
7. เครื่องตรวจจับสถานะ ตามที่ระบุไว้ในข้อถือสิทธิข้อ 6 ที่ซึ่ง ตามแต่ละกลุ่มจำนวนหนึ่ง ที่ประกอบด้วยแฟกเตอร์ของสถานะไม่น้อยกว่าหนึ่งตัว ที่ถูกกำหนดขึ้นให้เป็นแฟกเตอร์ของสถานะ จำนวนหนึ่งที่ทำให้สถานะของอุปกรณ์ใช้งานดังกล่าว หรือระบบปฏิบัติงานด้วยแม่เหล็กไฟฟ้าที่อยู่ บนพื้นฐานของสารสนเทศของเส้นคาแร็กเทอริสติกของเอาท์พุท - เวลาที่สามารถหาได้ โดยการทำ ให้ปริมาณของสถานะของแฟกเตอร์ของสถานะดังกล่าวที่อยู่ในกลุ่มดังกล่าวเปลี่ยนแปลงภายในช่วง ตามที่กำหนดไว้ก่อน; วิถีทางค้นหาดังกล่าวจะค้นหาโซนของเวลา ที่ซึ่ง การเปลี่ยนแปลงในเอาท์พุทที่เกิดจาก การเปลี่ยนแปลงในปริมาณของสถานะของแฟกเตอร์ของสถานะดังกล่าว บนสารสนเทศ คาแร็กเทอริสติกของเอาท์พุท - เวลาดังกล่าวของกลุ่มหนึ่งของแฟกเตอร์ของสถานะตัวหนึ่งมีค่า มากกว่าค่า A ที่ได้กำหนดไว้เบื้องต้นบนพื้นฐานของความคลาดเคลื่อนจากการวัด และการ เปลี่ยนแปลงในเอาท์พุทที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงในปริมาณของสถานะของแฟกเตอร์ของสถานะ ดังกล่าวบนสารสนเทศของเส้นคาแร็กเทอริสติกของเอาท์พุท - เวลาของกลุ่มหนึ่งของแฟกเตอร์ของ สถานะตัวหนึ่ง เป็นอย่างน้อยที่สุดอีกตัวหนึ่งที่มีค่าน้อยกว่าค่า B ที่กำหนดขึ้นไว้เบื้องต้น มีค่าน้อย กว่าค่า A ดังกล่าว และจะเลือกจุดเวลาจุดหนึ่ง เป็นอย่างน้อยที่สุด เป็นจุดเวลาของลักษณะดังกล่าว สำหรับโซนของเวลาแต่ละโซนที่ถูกแยกออกมาแล้ว
8. การตรวจจับสถานะของอุปกรณ์สวิตชิ่งกำลัง ตามที่ระบุไว้ในข้อถือสิทธิข้อ 8 ที่ซึ่ง ระบบปฏิบัติงานด้วยแม่เหล็กไฟฟ้าดังกล่าวจะเป็นตัวขับหน้าสัมผัสที่เคลื่อนตัวของหน้าสัมผัส สวิตชิ่งของอุปกรณ์สวิตชิ่งกำลังที่เป็นอุปกรณ์ใช้งานดังกล่าว และจะประกอบด้วยวิถีทางวัดกระแส สำหรับวัดกระแสที่ไหลผ่านขดลวดแม่เหล็กไฟฟ้าดังกล่าวที่เป็นวิถีทางวัดดังกล่าว; และ วิถีทางค้นหาดังกล่าวจะประกอบด้วยวิถีทางค้นหาจุดเบี่ยงตัวที่หนึ่ง เพื่อที่จะให้ได้เวลา ที่เป็นเวลาตั้งต้นของการเคลื่อนตัวเข้าสัมผัสกัน เมื่อจุดเบี่ยงตัวที่หนึ่งที่ปรากฏขึ้นหลังค่าที่มากที่สุด ของรูปคลื่นของกระแสที่ได้จากวิถีทางของการวัดกระแสดังกล่าวเกิดขึ้น และวิถีทางค้นหาจุดเบี่ยงตัว ที่สอง เพื่อที่จะให้ได้เวลาที่เป็นเวลาสิ้นสุดของการเคลื่อนตัวเข้าสัมผัส เมื่อจุดเบี่ยงตัวที่สองที่เกิดขึ้น หลังเวลาเริ่มต้นเคลื่อนตัวเข้าสัมผัสกันดังกล่าว และที่ซึ่งรูปคลื่นของกระแสดังกล่าวมีค่าน้อยที่สุดได้ เกิดขึ้น โดยจะเป็นส่วนใดส่วนหนึ่ง เป็นอย่างน้อยที่สุด
9. เครื่องตรวจจับสถานะของอุปกรณ์สวิตชิ่งกำลัง ตามที่ระบุไว้ในข้อถือสิทธิข้อ 8 ที่ซึ่ง ประกอบด้วยวิถีทางตรวจจับปริมาณของคาแร็กเทอริสติก เพื่อหาค่าเปลี่ยนแปลงในปริมาณค่าแร็ก เทอริสติกของอุปกรณ์สวิตชิ่งกำลังดังกล่าว จากการเปลี่ยนแปลงไปตามเวลาของเวลาเริ่มต้นเคลื่อน ตัวเข้าสัมผัสกันดังกล่าว และเวลาสิ้นสุดเคลื่อนตัวเข้าสัมผัสกันดังกล่าว อย่างใดอย่างหนึ่ง เป็นอย่าง น้อยที่สุด 1
0. เครื่องตรวจจับสถานะของอุปกรณ์สวิตชิ่งกำลัง ตามที่ระบุไว้ในข้อถือสิทธิข้อ 9 ที่ซึ่ง ขดลวดแม่เหล็กไฟฟ้าดังกล่าวจะเป็นขดลวดแม่เหล็กไฟฟ้าสำหรับเปิด; วิถีทางค้นหาจุดเบี่ยงตัวที่ หนึ่งดังกล่าวจะค้นหาเวลาเริ่มต้นเคลื่อนตัวเข้าสัมผัสกันดังกล่าว ที่เป็นเวลาเริ่มต้นเคลื่อนตัวเข้า สัมผัสกันที่หนึ่ง เมื่อขดลวดแม่เหล็กไฟฟ้าสำหรับเปิดดังกล่าวถูกกระตุ้นที่ช่วงเวลาตามที่กำหนดไว้ ก่อนที่หนึ่ง และจะหาเวลาเริ่มต้นเคลื่อนตัวเข้าสัมผัสกันดังกล่าว ที่เป็นเวลาเริ่มต้นเคลื่อนตัวเข้า สัมผัสกันที่สอง เมื่อขดลวดแม่เหล็กไฟฟ้าสำหรับเปิดดังกล่าวถูกกระตุ้นที่ช่วงเวลาตามที่กำหนดไว้ ก่อนที่สอง ต่อจากช่วงเวลาตามที่กำหนดไว้ก่อนที่หนึ่งดังกล่าว และวิถีทางตรวจจับปริมาณคาแร็กเท อริสติกที่หาค่าปริมาณการสึกกร่อนของหน้าสัมผัสสวิตชิ่งดังกล่าว ที่เป็นปริมาณคาแร็กเทอริสติก ดังกล่าวบนพื้นฐานของเวลาเริ่มต้นเคลื่อนตัวเข้าสัมผัสกันที่หนึ่งและที่สองดังกล่าว 1
1. เครื่องตรวจจับสถานะของอุปกรณ์สวิตชิ่งกำลัง ตามที่ระบุไว้ในข้อถือสิทธิข้อ 9 ที่ซึ่ง ขดลวดแม่เหล็กไฟฟ้าดังกล่าวจะเป็นขดลวดแม่เหล็กไฟฟ้าสำหรับเปิด และวิถีทางค้นหาจุดเบี่ยงตัวที่ สองดังกล่าวจะหาค่าเวลาสิ้นสุดการเคลื่อนตัวเข้าสัมผัสดังกล่าว เป็นเวลาสิ้นสุดการเคลื่อนตัวเข้า สัมผัสกันที่หนึ่ง เมื่อขดลวดแม่เหล็กไฟฟ้าสำหรับเปิดดังกล่าวถูกกระตุ้นที่เวลาตามที่กำหนดไว้ ก่อนที่หนึ่ง และจะหาเวลาสิ้นสุดการเคลื่อนตัวเข้าสัมผัสกันดังกล่าว เป็นเวลาสิ้นสุดการเคลื่อนตัวเข้า สัมผัสกันที่สอง เมื่อขดลวดแม่เหล็กไฟฟ้าสำหรับเปิดดังกล่าวถูกกระตุ้นที่ช่วงเวลาตามที่กำหนดไว้ ก่อนที่สอง ต่อจากช่วงเวลาตามที่กำหนดไว้ก่อนที่หนึ่งดังกล่าว และวิถีทางตรวจจับปริมาณคาแร็กเท อริสติกดังกล่าวที่จะหาปริมาณการสึกกร่อนของหน้าสัมผัสสวิตชิ่งดังกล่าว ที่เป็นปริมาณคาแร็กเทอริ สติกดังกล่าวบนพื้นฐานของเวลาสิ้นสุดการเคลื่อนตัวเข้าสัมผัสกันที่หนึ่งและที่สองดังกล่าว 1
2. เครื่องตรวจจับสถานะของอุปกรณ์สวิตชิ่งกำลัง ตามที่ระบุไว้ในข้อถือสิทธิข้อ 9 ที่ซึ่ง ขดลวดแม่เหล็กไฟฟ้าดังกล่าวจะเป็นขดลวดแม่เหล็กไฟฟ้าสำหรับเปิด และจะประกอบด้วยทั้งวิถีทาง ค้นหาจุดเบี่ยงตัวที่หนึ่งดังกล่าว และวิถีทางค้นหาจุดเบี่ยงตัวที่สองดังกล่าว ที่ช่วงเวลาตามที่กำหนด ไว้ก่อนที่หนึ่ง โดยวิถีทางค้นหาจุดเบี่ยงตัวที่หนึ่งดังกล่าวจะหาค่าเวลาเริ่มต้นเคลื่อนตัวเข้าสัมผัสกัน ดังกล่าว เป็นเวลาเริ่มต้นเคลื่อนตัวเข้าสัมผัสกันที่หนึ่ง เมื่อขดลวดแม่เหล็กไฟฟ้าสำหรับเปิดดังกล่าว ถูกกระตุ้น และวิถีทางค้นหาจุดเบี่ยงตัวที่สองที่จะหาค่าเวลาสิ้นสุดของการเคลื่อนตัวเข้าสัมผัสกัน ดังกล่าว เป็นเวลาสิ้นสุดการเคลื่อนตัวเข้าสัมผัสกันที่หนึ่งที่ช่วงเวลาที่กำหนดที่สอง ต่อจากเวลาที่ กำหนดที่หนึ่งดังกล่าว และวิถีทางค้นหาจุดเบี่ยงตัวที่หนึ่งดังกล่าวจะหาค่าเวลาเริ่มต้นเคลื่อนตัวเข้า สัมผัสกันดังกล่าว เป็นเวลาเริ่มต้นเคลื่อนตัวเข้าสัมผัสกันที่สอง เมื่อขดลวดแม่เหล็กไฟฟ้าสำหรับเปิด ดังกล่าวถูกกระตุ้น และวิถีทางค้นหาจุดเบี่ยงตัวที่สองดังกล่าวที่จะหาค่าเวลาสิ้นสุดการเคลื่อนตัวเข้า สัมผัสกันดังกล่าว เป็นเวลาสิ้นสุดการเคลื่อนตัวเข้าสัมผัสกันที่สอง และวิถีทางตรวจจับคาแร็กเทอริ สติกดังกล่าวจะได้ค่าความแตกต่างของเวลาที่หนึ่ง ซึ่งเป็นความแตกต่างระหว่างเวลาสิ้นสุดของการ เคลื่อนตัวเข้าสัมผัสกันที่หนึ่งดังกล่าว และเวลาเริ่มต้นเคลื่อนตัวเข้าสัมผัสกันที่หนึ่งดังกล่าว และจะ ได้ความแตกต่างของเวลาที่สอง ซึ่งเป็นความแตกต่างระหว่างเวลาสิ้นสุดการเคลื่อนตัวเข้าสัมผัสกันที่ สองดังกล่าว และเวลาเริ่มต้นเคลื่อนตัวเข้าสัมผัสกันที่สองดังกล่าว และจะได้ปริมาณการสึกของ หน้าสัมผัสสวิตชิ่งดังกล่าว เป็นปริมาณของคาแร็กเทอริสติกดังกล่าว ที่อยู่บนพื้นฐานของความ แตกต่างของเวลาที่หนึ่งและที่สองดังกล่าว 1
3. เครื่องตรวจจับสถานะของอุปกรณ์สวิตชิ่งกำลัง ตามที่ระบุไว้ในข้อถือสิทธิข้อ 9 ที่ซึ่งจะ จัดให้มีวิถีทางค้นหาจุดเบี่ยงตัวทั้งที่หนึ่งและที่สองดังกล่าว และวิถีทางตรวจจับปริมาณ คาแร็กเทอริสติกดังกล่าว จะหาค่าเวลาของการเคลื่อนตัวของหน้าสัมผัสตัวที่เคลื่อนตัวดังกล่าวเป็น ปริมาณของคาแร็กเทอริสติกดังกล่าว บนพื้นฐานของเวลาเริ่มต้นเคลื่อนตัวเข้าสัมผัสกันดังกล่าวและ เวลาสิ้นสุดของการเคลื่อนตัวเข้าสัมผัสกันดังกล่าว 1
4. เครื่องควบคุมสวิตชิ่งของอุปกรณ์สวิตชิ่งกำลังที่ใช้เครื่องตรวจจับสถานะ ตามที่ระบุไว้ ในข้อถือสิทธิข้อ 2 ที่ซึ่ง ระบบปฏิบัติงานด้วยแม่เหล็กไฟฟ้าดังกล่าวจะเป็นตัวขับหน้าสัมผัสที่เคลื่อน ตัวของหน้าสัมผัสสวิตชิ่งของอุปกรณ์สวิตชิ่งกำลัง ที่เป็นอุปกรณ์ใช้งานดังกล่าว ที่จะมีขดลวด แม่เหล็กไฟฟ้าสำหรับเปิดและขดลวดแม่เหล็กไฟฟ้าสำหรับปิด ที่ได้รับการกระตุ้นด้วยชาร์จไฟฟ้าที่ ชาร์จเข้าไปในคาปาซิเตอร์ เป็นขดลวดแม่เหล็กไฟฟ้าดังกล่าว และจะประกอบด้วยวิถีทางวัดกระแส สำหรับวัดกระแสที่ไหลผ่านขดลวดแม่เหล็กไฟฟ้าดังกล่าว; ที่ซึ่ง วิถีทางค้นหาดังกล่าวจะประกอบด้วยวิถีทางค้นหาจุดเบี่ยงตัวที่หนึ่ง ที่หาค่าเวลาที่ เป็นเวลาเริ่มต้นการเคลื่อนตัวเข้าสัมผัสกัน เมื่อจุดเบี่ยงตัวที่หนึ่งเกิดขึ้น โดยจุดดังกล่าวจะปรากฏต่อ จากค่ามากที่สุดของรูปคลื่นของกระแสที่ได้จากวิถีทางของการวัดกระแสดังกล่าว และวิถีทางค้นหา จุดเบี่ยงตัวที่สอง ที่หาค่าเวลาเป็นเวลาสิ้นสุดการเคลื่อนตัวเข้าสัมผัสกัน เมื่อจุดเบี่ยงตัวที่สองที่เกิดขึ้น ตามหลังเวลาเริ่มต้นเคลื่อนตัวเข้าสัมผัสกันดังกล่าว และที่ซึ่งตัวแบบคลื่นของกระแสดังกล่าวมีค่า น้อยที่สุดได้เกิดขึ้น อย่างใดอย่างหนึ่ง; และ ที่ซึ่ง จะมีการใช้วิถีทางคาดการณ์ช่วงเวลาของการปิด เพื่อคาดการณ์ช่วงเวลาสิ้นสุดของ การปิด เมื่อขดลวดแม่เหล็กไฟฟ้าสำหรับปิดดังกล่าวถูกกระตุ้นถัดมา บนพื้นฐานของเวลาเริ่มต้น เคลื่อนตัวเข้าสัมผัสกันดังกล่าวและเวลาสิ้นสุดของการเคลื่อนตัวเข้าสัมผัสกันดังกล่าว ส่วนหนึ่ง และ ที่ซึ่ง อย่างน้อยที่สุดแล้ว แรงดันชาร์จของคาปาซิเตอร์ดังกล่าวและสารสนเทศของอุณหภูมิของ อุปกรณ์สวิตชิ่งกำลังดังกล่าวอย่างใดอย่างหนึ่ง และวิถีทางควบคุมช่วงเวลา สำหรับควบคุมช่วงเวลา ของการกระตุ้นขดลวดแม่เหล็กไฟฟ้าสำหรับปิดดังกล่าวถัดมา บนพื้นฐานของช่วงเวลาคาดการณ์การ สิ้นสุดของการปิดดังกล่าว 1
5. เครื่องควบคุมสวิตชิ่งของอุปกรณ์สวิตชิ่งกำลังที่ใช้เครื่องตรวจจับสถานะ ตามที่ระบุไว้ ในข้อถือสิทธิข้อ 14 ที่ซึ่งจะประกอบด้วยวิถีทางสำหรับวัดแรงดันของขดลวดแม่เหล็กไฟฟ้าดังกล่าว เมื่อกระแสที่อ่อนเป็นอย่างยิ่งตามที่กำหนดไว้ก่อนถูกส่งเข้าไปในขดลวดแม่เหล็กไฟฟ้าดังกล่าวแล้ว และจะได้ค่าคาแร็กเทอริสติกของการเปลี่ยนแปลงของความต้านทานในขดลวดของขดลวด แม่เหล็กไฟฟ้าดังกล่าวจากค่าของกระแสคูณแรงดันดังกล่าว และจะได้สารสนเทศของอุณหภูมิของ ขดลวดแม่เหล็กไฟฟ้าสำหรับปิดดังกล่าว บนพื้นฐานของคาแร็กเทอริสติกของการเปลี่ยนแปลงใน ความต้านทานของขดลวดดังกล่าว 1
6. เครื่องควบคุมสวิตชิ่งของอุปกรณ์สวิตชิ่งกำลังที่ใช้เครื่องตรวจจับสถานะ ตามที่ระบุไว้ ในข้อถือสิทธิข้อ 14 ที่ซึ่ง อุปกรณ์ฮอลล์จะถูกนำมาติดตั้งบนแกนเหล็กดังกล่าวที่ประกอบกันขึ้นเป็น วงจรแม่เหล็ก และจะมีการใช้วิถีทางวัดคาแร็กเทอริสติกของการเปลี่ยนแปลงของแรงดันของอุปกรณ์ ฮอลล์ดังกล่าว ภายใต้เงื่อนไขที่ฟลักซ์แม่เหล็กคงที่ และจะได้สารสนเทศของอุณหภูมิของขดลวด แม่เหล็กไฟฟ้าสำหรับปิดดังกล่าว บนพื้นฐานของคาแร็กเทอริสติกของการเปลี่ยนแปลงของแรงดัน ดังกล่าว 1
7. เครื่องตรวจจับสถานะ ที่ซึ่งอย่างน้อยที่สุดแล้ว จุดเบี่ยงตัวดังกล่าวจุดใดจุดหนึ่ง ตามที่ ระบุไว้ในข้อถือสิทธิข้อ 2 หรือข้อ 3 และจุดเวลาของลักษณะ ตามที่ระบุไว้ในข้อถือสิทธิข้อ 6 จะมีจุด เวลาที่แยกมาบนเส้นคาแร็กเทอริสติกของเอาท์พุท - เวลาดังกล่าว หลังจากที่สิ้นสุดการเคลื่อนตัวของ แกนเหล็กตัวที่เคลื่อนตัวดังกล่าวแล้ว 1
8. เครื่องตรวจจับสถานะ ตามที่ระบุไว้ในข้อถือสิทธิข้อ 2 ที่ซึ่ง วิถีทางค้นหาดังกล่าวจะ ประกอบด้วยวิถีทางตรวจวัดจุดคร่อมที่ศูนย์ สำหรับจำแนกกระแสที่ไหลผ่านขดลวดแม่เหล็กไฟฟ้า ดังกล่าว หรือเป็นแรงดันที่เกิดขึ้นที่ขดลวดแม่เหล็กไฟฟ้าดังกล่าว และจะให้เอาท์พุทเป็นสัญญาณ พัลส์ที่จุดคร่อมศูนย์ของเอาท์พุทความต่างศักย์ของมัน และจะได้สารสนเทศของเวลาของจุดเบี่ยงตัว กับสัญญาณพัลส์ดังกล่าว 1
9. เครื่องตรวจจับสถานะที่มีวิถีทางาทำงาน สำหรับทำงานกับการเปลี่ยนแปลงอย่างหนึ่ง เป็นอย่างน้อยที่สุด ในปริมาณของสถานะ, พารามิเตอร์ที่ใช้ขับ และอายุการใช้งานที่เหลือของอุปกรณ์ ใช้งานดังกล่าวหรือระบบปฏิบัติงานด้วยแม่เหล็กไฟฟ้า บนพื้นฐานของสารสนเทศชนิดหนึ่ง เป็น อย่างน้อยที่สุด ของสารสนเทศของเวลา, สารสนเทศของค่ากระแส และสารสนเทศของค่าแรงดันที่จุด เบี่ยงตัวดังกล่าว ตามที่ระบุไว้ในข้อถือสิทธิข้อ 2 หรือข้อ 3 และสารสนเทศของค่ากระแส และ สารสนเทศของค่าแรงดันที่จุดเวลาของลักษณะ ตามที่ระบุไว้ในข้อถือสิทธิข้อ 6 2
0. เครื่องตรวจจับสถานะ ตามที่ระบุไว้ในข้อถือสิทธิข้อ 19 ที่ซึ่งจัดให้มีวิถีทางของการส่ง สัญญาณ สำหรับรับส่งสัญญาณเมื่อปริมาณการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาของการเปลี่ยนแปลงในค่า ดังกล่าวเกินค่าตามที่กำหนดไว้ก่อน
TH501001910A 2005-04-27 เครื่องตรวจจับภาพและอุปกรณ์ควบคุมการสวิตช์ของเครื่องสวิตช์กำลังที่ใช้อุปกรณ์ตรวจจับสภาพ TH63583B (th)

Publications (2)

Publication Number Publication Date
TH73373A TH73373A (th) 2005-12-08
TH63583B true TH63583B (th) 2018-07-10

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
KR101360754B1 (ko) 전자기 스위칭 장치의 콘택 부식을 결정하는 방법 및그러한 방법에 따라 동작하는 메커니즘을 포함하는 전자기스위칭 장치
US7936549B2 (en) State grasp device, and switching control device of power switching apparatus employing the state grasp device
US9097766B2 (en) Electromagnetic opening/closing device
KR101887345B1 (ko) 전기자가 멈춤부에 닿는 시간을 결정하기 위한 액추에이터의 변형된 전기적 작동
CN100580474C (zh) 状态把握装置以及使用了该状态把握装置的电力开关设备的开关控制装置
US10228076B2 (en) Electrical determining of characteristic values of magnetic switch valves
KR20130129214A (ko) 선형으로 이동할 수 있는 가이드 부재의 표시된 위치를 검출하기 위한 위치 측정 시스템 및 관련된 측정 방법
CN103240470B (zh) 检测加工状态求出加工间隙的平均电压的电火花线切割机
JP5225198B2 (ja) 開閉装置又は電磁操作装置の状態把握装置
CN109072800A (zh) 用于螺线管操作的燃料喷射器的阀打开时间的检测
CN103949733A (zh) 检测加工状态的电火花线加工机
CN105793675A (zh) 用于操作磁感应测量系统的方法
US20130197837A1 (en) Ascertaining the Ballistic Trajectory of an Electromagnetically Driven Armature of a Coil Actuator
TW201632727A (zh) 活塞泵的操作方法及控制裝置
US20230052987A1 (en) System and method for solenoid valve optimization and measurement of response deterioration
CN110573718A (zh) 流体喷射装置的指纹识别
US10563633B2 (en) Determining a lift of a solenoid valve
EP0558190A1 (en) Electromagnetic contactor with condition sensing
US20140002946A1 (en) Electromagnetic opening/closing device
EP2814044A1 (en) Method and apparatus for determining the condition of a control element
CN100461323C (zh) 控制电开关设备的装置和方法
TH73373A (th) เครื่องตรวจจับภาพและอุปกรณ์ควบคุมการสวิตช์ของเครื่องสวิตช์กำลังที่ใช้อุปกรณ์ตรวจจับสภาพ
TH63583B (th) เครื่องตรวจจับภาพและอุปกรณ์ควบคุมการสวิตช์ของเครื่องสวิตช์กำลังที่ใช้อุปกรณ์ตรวจจับสภาพ
CN103954845A (zh) 一种基于电阻的中低速磁浮列车悬浮电磁铁电感参数在线检测方法
JP5995420B2 (ja) コンデンサ容量測定装置及びコンデンサ容量測定装置を備えた電力用機器