TH61524A - อุปกรณ์สูดหายใจรับยาชนิดผง - Google Patents

อุปกรณ์สูดหายใจรับยาชนิดผง

Info

Publication number
TH61524A
TH61524A TH301002845A TH0301002845A TH61524A TH 61524 A TH61524 A TH 61524A TH 301002845 A TH301002845 A TH 301002845A TH 0301002845 A TH0301002845 A TH 0301002845A TH 61524 A TH61524 A TH 61524A
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
inhalation
assembly
powder
unique
drug
Prior art date
Application number
TH301002845A
Other languages
English (en)
Other versions
TH49100B (th
Inventor
พีนอน นายจอห์น
เชอร์กาออนคาร์ นายซาเมียร์
เจมส์ สมิธ นายคริสโตเฟอร์
เบิร์ก นายไซม่อน
วิลเลียม มิดเดิลตัน นายแม็กซ์
อาเฮิร์น นายเดวิด
นีล ซาร์คาร์ นายแม็ทธิว
อาร์เล็ตต์ นายเบน
เลสลีย์ ไลย์ นายเอ็มม่า
สมิธ นายไซม่อน
Original Assignee
นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์
นางสาวปรับโยชน์ ศรีกิจจาภรณ์
นายบุญมา เตชะวณิช
นายต่อพงศ์ โทณะวณิก
Filing date
Publication date
Application filed by นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์, นางสาวปรับโยชน์ ศรีกิจจาภรณ์, นายบุญมา เตชะวณิช, นายต่อพงศ์ โทณะวณิก filed Critical นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์
Publication of TH61524A publication Critical patent/TH61524A/th
Publication of TH49100B publication Critical patent/TH49100B/th

Links

Abstract

DC60 (27/10/46) อุปกรณ์สูดหายใจรับยาชนิดผงประกอบรวมด้วยภาชนะบรรจุ (7) สำหรับการกักเก็บตัวยา ที่เป็นผง ชิ้นประกอบเพื่อควบคุม ปริมาณตามกำหนด (15) ซึ่งมีร่องกำหนดปริมาณยา (18) เพื่อ ที่จะ รับการบรรจุด้วยปริมาณยาของตัวยาที่เป็นผง และส่วน ช่องปาก (3) ซึ่งเชื่อมต่อกับช่องสำหรับการสูด หายใจ (27) ของอุปกรณ์สูดหายใจรับยาชนิดผง นอกเหนือจากนั้น อุปกรณ์สูด หายใจรับยาชนิดผงนี้ ประกอบรวมด้วยชิ้นประกอบป้องกัน (19) ซึ่งเคลื่อนที่ได้ในลักษณะเลื่อนบนชิ้นประกอบเพื่อควบคุม ปริมาณยาตามกำหนด (15) ระหว่างตำแหน่งปิดที่ซึ่งชิ้นประกอบ ป้องกันนี้จะปิดคลุมร่องกำหนด ปริมาณยา (18) ของชิ้นประกอบ เพื่อควบคุมปริมาณตามกำหนด (15) นี้ เป็นอย่างน้อยถ้าชิ้นประกอบ เพื่อควบคุมปริมาณตามกำหนด (15) อยู่ในตำแหน่งการสูดหายใจ และตำแหน่งเปิดที่ซึ่งชิ้นประกอบ ป้องกันนี้จะเปิดให้ร่องกำหนดปริมาณยา (18) นี้เผยออก ซึ่ง ด้วยการเปิดนี้จะทำให้สามารถสูดหายใจ รับปริมาณยาของตัวยา ที่เป็นผงซึ่งมีอยู่ในร่องกำหนดปริมาณยา (18) นี้ ชิ้น ประกอบป้องกัน (19) นี้ ถ้าจะให้ดีแล้วควรได้รับการต่อคู่ ควบกับกลไกแบบกระตุ้นเร้าเมื่อมีการสูดหายใจ (21-23) ใน ลักษณะ วิธีที่ว่ากลไกแบบกระตุ้นเร้าเมื่อมีการสูดหายใจ (21-23) นี้จะเคลื่อนชิ้นประกอบป้องกัน (19) จาก ตำแหน่งปิด ของชิ้นประกอบป้องกันไปยังตำแหน่งเปิดของชิ้นประกอบป้องกัน เพียงแต่ให้มีแรงดูดจาก การสูดหายใจรับยาที่กระทำ โดยผู้ใช้เกินระดับที่กำหนดไว้ล่วงหน้าแล้ว สิ่งนี้จะขัด ขวางไม่ให้ปริมาณ ยาที่มีอยู่ในร่องกำหนดปริมาณยา (18) ตก ออกจากร่องกำหนดปริมาณยานี้ ยกเว้นจะไม่มีกระบวนการ สูดหาย ใจที่ริเริ่มโดยผู้ใช้ เพราะฉะนั้น อุปกรณ์สูดหายใจรับยา นี้สามารถปฏิบัติงานในลักษณะกลับบน ลงล่างได้อย่างน่าเชื่อ ถือได้เช่นกัน นอกเหนือจากนั้นแล้ว ชุดจัดเรียงของตัวแยก การเกาะรวมกลุ่ม (ไซโคลน) ซึ่งอาจได้รับการประกอบเข้าร่วม ในอุปกรณ์สูดหายใจรับยาเช่นนี้จะได้รับการนำเสนอ ซึ่งประกอบ รวมด้วยห้องหมุนวน (73) ซึ่งมีเส้นผ่าศูนย์กลางระหว่าง 6 มิลลิเมตรและ 8 มิลลิเมตร ถ้าจะให้ดีแล้วควรมีเส้นผ่า ศูนย์กลาง 8 มิลลิเมตร อุปกรณ์สูดหายใจรับยาชนิดผงประกอบรวมด้วยภาชนะบรรจุ (7) สำหรับการกักเก็บตัวยาที่ เป็นผง ชิ้นประกอบเพื่อควบคุม ปริมาณตามกำหนด (15) ซึ่งมีร่องกำหนดปริมาณยา (18) เพื่อ ที่จะ รับการบรรจุด้วยปริมาณยาของตัวยาที่เป็นผง และส่วน ช่องปาก (3) ซึ่งเชื่อมต่อกับช่องสำหรับการสูด หายใจ (27) ของอุปกรณ์สูดหายใจรับยาชนิดผง นอกเหนือจากนั้น อุปกรณ์สูด หายใจรับยาชนิดผงนี้ ประกอบรวมด้วยชิ้นประกอบป้องกัน (19) ซึ่งเคลื่อนที่ได้ในลักษณะเลื่อนบนชิ้นประกอบเพื่อควบคุม ปริมาณยาตามกำหนด (15) ระหว่างตำแหน่งปิดที่ซึ่งชิ้นประกอบ ป้องกันนี้จะปิดคลุมร่องกำหนด ปริมาณยา (18) ของชิ้นประกอบ เพื่อควบคุมปริมาณตามกำหนด (15) นี้ เป็นอย่างน้อยถ้าชิ้นประกอบ เพื่อควบคุมปริมาณตามกำหนด (15) อยู่ในตำแหน่งการสูดหายใจ และตำแหน่งเปิดที่ซึ่งชิ้นประกอบ ป้องกันนี้จะเปิดให้ร่องกำหนดปริมาณยา (18) นี้เผยออก ซึ่ง ด้วยการเปิดนี้จะทำให้สามารถสูดหายใจ รับปริมาณยาของตัวยา ที่เป็นผงซึ่งมีอยู่ในร่องกำหนดปริมาณยา (18) นี้ ชิ้น ประกอบป้องกัน (19) นี้ ถ้าจะให้ดีแล้วควรได้รับการต่อคู่ ควบกับกลไกแบบกระตุ้นเร้าเมื่อมีการสูดหายใจ (21-23) ใน ลักษณะ วิธีที่ว่ากลไกแบบกระตุ้นเร้าเมื่อมีการสูดหายใจ (21-23) นี้จะเคลื่อนชิ้นประกอบป้องกัน (19) จาก ตำแหน่งปิด ของชิ้นประกอบป้องกันไปยังตำแหน่งเปิดของชิ้นประกอบป้องกัน เพียงแต่ให้มีแรงดูดจาก การสูดหายใจรับยาที่กระทำ โดยผู้ใช้เกินระดับที่กำหนดไว้ล่วงหน้าแล้ว สิ่งนี้จะขัด ขวางไม่ให้ปริมาณ ยาที่มีอยู่ในร่องกำหนดปริมาณยา (18) ตก ออกจากร่องกำหนดปริมาณยานี้ ยกเว้นจะไม่มีกระบวนการ สูดหาย ใจที่ริเริ่มโดยผู้ใช้ เพราะฉะนั้น อุปกรณ์สูดหายใจรับยา นี้สามารถปฏิบัติงานในลักษณะกลับ บนลงล่างได้อย่างน่าเชื่อ ถือได้เช่นกัน นอกเหนือจากนั้นแล้ว ชุดจัดเรียงของตัวแยก การเกาะรวมกลุ่ม (ไซโคลน) ซึ่งอาจได้รับการประกอบเข้าร่วม ในอุปกรณ์สูดหายใจรับยาเช่นนี้จะได้รับการนำเสนอซึ่ง ประกอบ รวมด้วยห้องหมุนวน (73) ซึ่งมีเส้นผ่านศูนย์กลางระหว่าง 6 มิลลิเมตรและ 8 มิลลิเมตร ถ้าจะให้ดีแล้วควรมีเส้นผ่าน ศูนย์กลาง 8 มิลลิเมตร

Claims (8)

1. อุปกรณ์สูดหายใจรับยาชนิดผง ซึ่งประกอบด้วย - ภาชนะบรรจุ (7) สำหรับการกักเก็บตัวยาที่เป็นผง - ชิ้นประกอบเพื่อควบคุมปริมาณตามกำหนด (15) ซึ่งมีร่อง กำหนดปริมาณยา (18) ชิ้นประกอบเพื่อควบคุมปริมาณตามกำหนด (15) ซึ่งเคลื่อนที่ได้ระหว่างตำแหน่งการบรรจุ ที่ซึ่ง ร่อง กำหนดปริมาณยา (18) นี้อยู่ในแนวตรงกับช่องเปิดของภาชนะ บรรจุ (7) เพื่อที่จะบรรจุด้วย ปริมาณยาของตัวยาที่เป็นผง นี้ และตำแหน่งการสูดหายใจ ที่ซึ่งร่องกำหนดปริมาณยา (18) นี้อยู่ใน แนวตรงกับช่องสำหรับการสูดหายใจ (27) และ - ส่วนช่องปาก (3) ซึ่งเชื่อมต่อกับช่องสำหรับการสูดหายใจ (27) สำหรับทำให้สามารถ สูดหายใจรับปริมาณยาของตัวยาที่เป็น ผงซึ่งมีอยู่ในร่องกำหนดปริมาณยา (18) ของชิ้นประกอบเพื่อ ควบคุมปริมาณตามกำหนด (15) เมื่อชิ้นประกอบเพื่อควบคุม ปริมาณตามกำหนด (15) นี้อยู่ใน ตำแหน่งการสูดหายใจ จะมีลักษณะเฉพาะตรงที่ - ชิ้นประกอบป้องกัน (19) จะได้รับการจัดเตรียมให้มีอยู่ ระหว่างชิ้นประกอบเพื่อควบคุม ปริมาณตามกำหนด (15) และช่อง สำหรับการสูดหายใจ (27) ชิ้นประกอบป้องกัน (19) ซึ่ง เคลื่อนที่ ได้ระหว่างตำแหน่งปิด ที่ซึ่งชิ้นประกอบป้องกัน (19) จะปิดคลุมร่องกำหนดปริมาณยา (18) ของ ชิ้นประกอบเพื่อ ควบคุมปริมาณตามกำหนด (15) เป็นอย่างน้อยเมื่อชิ้นประกอบ เพื่อควบคุมปริมาณ ตามกำหนด (15) นี้อยู่ในตำแหน่งการสูดหาย ใจ ซึ่งด้วยเหตุนี้จะขัดขวางไม่ให้ตัวยาที่เป็นผงซึ่งมี อยู่ ในร่องกำหนดปริมาณยา (18) นี้เข้าไปในช่องสำหรับการสูด หายใจ (27) และตำแหน่งเปิด ที่ซึ่ง ชิ้นประกอบป้องกัน (19) นี้จะไม่ปิดคลุมร่องกำหนดปริมาณยา (18) ซึ่งด้วย เหตุนี้จะเปิดให้ร่อง กำหนดปริมาณยา (18) นี้เผยออกสู่ช่อง สำหรับการสูดหายใจ (27) เพื่อที่จะทำให้สามารถสูดหายใจรับ ปริมาณยาของตัวยาที่เป็นผงซึ่งมีอยู่ในร่องกำหนดปริมาณยา (18) นี้ 2. อุปกรณ์สูดหายใจรับยาชนิดผงตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ซึ่งมี ลักษณะเฉพาะตรงที่ อุปกรณ์สูดหายใจรับยาชนิดผงนี้ประกอบรวม ด้วยตัวกรอบ (1) และฝาครอบ (2) ซึ่งได้รับการต่อ คู่ควบใน ลักษณะหมุนได้กับตัวกรอบ (1) เพื่อที่ฝาครอบ (2) นี้จะ เคลื่อนที่ได้ระหว่างตำแหน่งปิด ที่ซึ่งฝาครอบจะปิดคลุมส่วน ช่องปาก (3) และตำแหน่งเปิด ที่ซึ่งฝาครอบจะเปิดให้ส่วน ช่องปาก (3) เผยออก 3. อุปกรณ์สูดหายใจรับยาชนิดผงตามข้อถือสิทธิข้อ 2 ซึ่งมี ลักษณะเฉพาะตรงที่ ตัวกรอบ (1) นี้ประกอบรวมด้วยหน้าต่าง (4) สำหรับการแสดงจำนวนปริมาณยาของตัวยาที่เป็นผงซึ่ง เหลือ อยู่ในภาชนะบรรจุ (7) หรือผ่านการสูดหายใจรับไปแล้ว จำนวน ปริมาณยาของตัวยาที่เป็นผง นี้จะได้รับการนับโดยหน่วยนับ ปริมาณยา (24-26) 4. อุปกรณ์สูดหายใจรับยาชนิดผงตามข้อถือสิทธิข้อ 2 หรือข้อ ถือสิทธิข้อ 3 ข้อใดข้อหนึ่ง ซึ่งมีลักษณะเฉพาะตรงที่ ตัว กรอบ (1) นี้ประกอบรวมด้วยช่องเปิด (5) สำหรับแสดงเครื่อง หมาย (38) ซึ่งแสดงให้เห็นถึงปริมาณยาของตัวยาที่เป็นผง ซึ่งมีอยู่ในร่องกำหนดปริมาณยา (18) ของ ชิ้นประกอบเพื่อควบ คุมปริมาณตามกำหนด (15) ว่าพร้อมสำหรับการสูดหายใจหรือผ่าน การสูด หายใจรับไปแล้ว 5. อุปกรณ์สูดหายใจรับยาชนิดผงตามข้อถือสิทธิก่อนหน้านี้ ข้อใดข้อหนึ่งซึ่งมีลักษณะเฉพาะ ตรงที่ ภาชนะบรรจุ (7) นี้ ประกอบรวมด้วยห้องตัวยา (8) สำหรับการกักเก็บตัวยาที่เป็น ผงและ ห้องสารดูดความชื้นรวม (9) สำหรับกักเก็บสารดูดความ ชื้น ห้องสารดูดความชื้นรวม (9) นี้ได้รับ การแยกต่างหากออก จากห้องตัวยา (8) โดยเมมเบรนชนิดยอมให้ซึมผ่านได้ (10) 6. อุปกรณ์สูดหายใจรับยาชนิดผงตามข้อถือสิทธิข้อ 5 ซึ่งมี ลักษณะเฉพาะตรงที่ เมมเบรนชนิด ยอมให้ซึมผ่านได้ (10) นี้มี สภาพยอมให้ซึมผ่านได้ซึ่งแตกต่างไปจากสภาพยอมให้ซึมผ่านได้ ของผนัง ภาชนะบรรจุ (7) ระหว่างห้องสารดูดความชื้นรวม (9) หรือห้องตัวยา (8) กับภายนอกอุปกรณ์สูด หายใจรับยาชนิดผงนี้ อย่างใดอย่างหนึ่ง 7. อุปกรณ์สูดหายใจรับยาชนิดผงตามข้อถือสิทธิข้อ 6 ซึ่งมี ลักษณะเฉพาะตรงที่ วัสดุของ เมมเบรนชนิดยอมให้ซึมผ่านได้ (10) นี้จะแตกต่างไปจากวัสดุของภาชนะบรรจุ (7) ระหว่าง ห้อง สารดูดความชื้นรวม (9) หรือห้องตัวยา (8) กับภายนอกของ อุปกรณ์สูดหายใจรับยาชนิดผงนี้ อย่างใดอย่างหนึ่ง 8. อุปกรณ์สูดหายใจรับยาชนิดผงตามข้อถือสิทธิข้อ 6 หรือข้อ ถือสิทธิข้อ 7 ข้อใดข้อหนึ่ง ซึ่งมีลักษณะเฉพาะตรงที่ ความ หนาของเมมเบรนชนิดยอมให้ซึมผ่านได้ (10) นี้จะเล็กกว่าผนัง ของ ภาชนะบรรจุ (7) ระหว่างห้องสารดูดความชื้นรวม (9) หรือ ห้องตัวยา (8) กับภายนอกของอุปกรณ์สูด หายใจรับยาชนิดผงนี้ อย่างใดอย่างหนึ่ง 9. อุปกรณ์สูดหายใจรับยาชนิดผงตามข้อถือสิทธิข้อ 5 ถึง 8 ข้อใดข้อหนึ่งซึ่งมีลักษณะเฉพาะ ตรงที่ ทั้งห้องตัวยา (8) และห้องสารดูดความชื้นรวม (9) นี้ได้รับการปิดผนึกโดยวิถี ทางการปิดผนึก (11,12) 1 0. อุปกรณ์สูดหายใจรับยาชนิดผงตามข้อถือสิทธิข้อ 5 ถึง 9 ข้อใดข้อหนึ่งซึ่งมีลักษณะเฉพาะ ตรงที่ ทั้งห้องตัวยา (8) นี้มีช่องเปิดสำหรับปริมาณยาในส่วนล่างสุดของห้องตัวยาโดย ที่ปริมาณยาของ ตัวยาที่เป็นผงนี้จะได้รับการบรรจุไปยังร่อง กำหนดปริมาณยา (18) ของชิ้นประกอบเพื่อควบคุม ปริมาณตาม กำหนด (15) โดยแรงโน้มถ่วงถ้าชิ้นประกอบเพื่อควบคุมปริมาณ ตามกำหนด (15) อยู่ใน ตำแหน่งบรรจุ 1 1. อุปกรณ์สูดหายใจรับยาชนิดผงตามข้อถือสิทธิข้อ 5 ถึง 10 ข้อใดข้อหนึ่งซึ่งมีลักษณะเฉพาะ ตรงที่ ห้องตัวยา (8) นี้ มีเส้นผ่านศูนย์กลางภาคตัดขวางซึ่งค่อยๆ ลดลงจากส่วนบนสุด ของห้องตัวยา ไปสู่ส่วนล่างสุดของห้องตัวยานี้ 1 2. อุปกรณ์สูดหายใจรับยาชนิดผงตามข้อถือสิทธิก่อนหน้านี้ ข้อใดข้อหนึ่งซึ่งมีลักษณะเฉพาะ ตรงที่ชิ้นประกอบเพื่อควบ คุมปริมาณตามกำหนด (15) นี้เป็นตัวเลื่อนซึ่งสามารถเคลื่อน ที่ได้ใน ลักษณะเลื่อนไประหว่างตำแหน่งการบรรจุ ที่ซึ่งร่อง กำหนดปริมาณยา (18) นี้หันหน้าไปทางช่องเปิด สำหรับปริมาณยา ของภาชนะบรรจุ (7) และตำแหน่งการสูดหายใจ ที่ซึ่งร่องกำหนด ปริมาณยา (18) นี้ จะหันหน้าไปทางช่องเปิดการสูดหายใจของ ห้องสำหรับการสูดหายใจ (27) 1 3. อุปกรณ์สูดหายใจรับยาชนิดผงตามข้อถือสิทธิข้อ 12 ซึ่ง มีลักษณะเฉพาะตรงที่ ตัวเลื่อน (15) นี้เคลื่อนที่ได้ใน ลักษณะเลื่อนในทิศทางตามแนวนอนในลักษณะที่ว่าร่องกำหนด ปริมาณยา (18) นี้ได้รับการจัดวางตำแหน่งอยู่ใต้ช่องเปิด สำหรับปริมาณยาของภาชนะบรรจุ (7) ถ้าตัวเลื่อน (15) นี้ อยู่ในตำแหน่งการบรรจุ ในขณะที่ร่องกำหนดปริมาณยา (18) ได้ รับการจัดวาง ตำแหน่งอยู่ใต้ช่องเปิดสำหรับการสูดหายใจของ ห้องสำหรับการสูดหายใจ (27) ถ้าตัวเลื่อน (15) นี้ อยู่ใน ตำแหน่งการสูดหายใจ 1 4. อุปกรณ์สูดหายใจรับยาชนิดผงตามข้อถือสิทธิข้อ 2 ถึง 4 ข้อใดข้อหนึ่งและหนึ่งใน ข้อถือสิทธิก่อนหน้านี้ จะมี ลักษณะเฉพาะตรงที่ ชิ้นประกอบเพื่อควบคุมปริมาณตามกำหนด (15) ได้รับการต่อคู่ ควบกับฝาครอบ (2) ในลักษณะที่ว่า การเปิดฝาครอบ (2) จะทำ ให้ชิ้นประกอบเพื่อควบคุมปริมาณตามกำหนด (15) เคลื่อนที่ จากตำแหน่ง การบรรจุไปสู่ตำแหน่งการสูดหายใจ ในขณะที่การปิด ฝาครอบ (2) ทำให้ชิ้นประกอบเพื่อควบคุม ปริมาณตามกำหนด (15) เคลื่อนที่จากตำแหน่งการสูดหายใจไปสู่ตำแหน่งการบรรจุ 1 5. อุปกรณ์สูดหายใจรับยาชนิดผงตามข้อถือสิทธิข้อ 14 ซึ่ง มีลักษณะเฉพาะตรงที่การต่อคู่ควบ ระหว่างชิ้นประกอบเพื่อควบ คุมปริมาณตามกำหนด (15) และฝาครอบ (2) นี้ประกอบรวมด้วย ส่วนยื่น (28) ซึ่งเกี่ยวประสานกับร่อง (31) 1 6. อุปกรณ์สูดหายใจรับยาชนิดผงตามข้อถือสิทธิข้อ 15 ซึ่ง มีลักษณะเฉพาะตรงที่ร่อง (31) ได้ รับการก่อขึ้นรูปที่พื้น ผิวด้านข้างของฝาครอบ (2) ในขณะที่ส่วนยื่น (28) ได้รับการ ก่อขึ้นรูปที่ด้านข้าง ของชิ้นประกอบเพื่อควบคุมปริมาณตาม กำหนด (15) 1 7. อุปกรณ์สูดหายใจรับยาชนิดผงตามข้อถือสิทธิข้อ 15 หรือ ข้อถือสิทธิข้อ 16 ซึ่งมีลักษณะ เฉพาะตรงที่ร่อง (31) นี้ ได้รับการกำหนดรูปร่างคล้ายรางลูกเบี้ยวแบบทำให้มีเค้าโครง 1 8. อุปกรณ์สูดหายใจรับยาชนิดผงตามข้อถือสิทธิข้อ 14 ถึง 17 ข้อใดข้อหนึ่งซึ่งมีลักษณะเฉพาะ ตรงที่การต่อคู่ควบ ระหว่างชิ้นประกอบเพื่อควบคุมปริมาณตามกำหนด (15) และฝา ครอบ (2) นี้เป็น ไปในลักษณะที่ว่าการเปิดฝาครอบ (2) ภายในช่วง ที่กำหนดล่วงหน้าของการเคลื่อนที่เชิงหมุนของ ฝาครอบ (2) จากตำแหน่งปิดของฝาครอบ (2) จะไม่ทำให้ชิ้นประกอบเพื่อควบ คุมปริมาณตามกำหนด (15) เคลื่อนที่จากตำแหน่งการบรรจุไปยัง ตำแหน่งการสูดหายใจ 1 9. อุปกรณ์สูดหายใจรับยาชนิดผงตามข้อถือสิทธิข้อ 18 ซึ่ง มีลักษณะเฉพาะตรงที่ช่วงที่กำหนด ล่วงหน้าของการเคลื่อนที่ เชิงหมุนของฝาครอบ (2) นี้จะสอดคล้องตรงกับมุมของการหมุนไป ถึง ประมาณ 30 องศาจากตำแหน่งปิดของฝาครอบ (2) 2 0. อุปกรณ์สูดหายใจรับยาชนิดผงตามข้อถือสิทธิข้อ 14 ถึง 19 ข้อใดข้อหนึ่ง ซึ่งมีลักษณะ เฉพาะตรงที่การต่อคู่ควบ ระหว่างชิ้นประกอบเพื่อควบคุมปริมาณตามกำหนด (15) และฝา ครอบ (2) นี้เป็นไปในลักษณะที่ว่าชิ้นประกอบเพื่อควบคุม ปริมาณตามกำหนด (15) นี้จะไปถึงตำแหน่งการสูด หายใจเรียบ ร้อยแล้ว โดยการเคลื่อนที่เชิงหมุนที่กำหนดไว้ล่วงหน้าของ ฝาครอบ (2) ก่อนที่ฝาครอบ (2) จะเปิดอย่างเต็มที่ 2 1. อุปกรณ์สูดหายใจรับยาชนิดผงตามข้อถือสิทธิข้อ 20 ซึ่ง มีลักษณะเฉพาะตรงที่การเคลื่อนที่ เชิงหมุนที่กำหนดไว้ล่วง หน้าของฝาครอบ (2) ที่ซึ่งชิ้นประกอบเพื่อควบคุมปริมาณตาม กำหนด (15) นี้จะไปถึงตำแหน่งการสูดหายใจ จะสอดคล้องตรงกับ มุมของการหมุนฝาครอบ (2) ประมาณ 90 องศาถึง 135 องศาจาก ตำแหน่งปิดของฝาครอบ (2) 2 2. อุปกรณ์สูดหายใจรับยาชนิดผงตามข้อถือสิทธิก่อนหน้านี้ ข้อหนึ่งซึ่งมีลักษณะเฉพาะ ตรงที่ร่องกำหนดปริมาณยา (18) นี้เป็นถ้วยกำหนดปริมาณยาซึ่งมีเค้าโครงรูปวงกลม 2 3. อุปกรณ์สูดหายใจรับยาชนิดผงตามข้อถือสิทธิข้อ 22 ซึ่ง มีลักษณะเฉพาะตรงที่ถ้วยกำหนด ปริมาณยา (18) นี้มีภาคตัด ขวางรูปครึ่งวงรี 2 4. อุปกรณ์สูดหายใจรับยาชนิดผงตามข้อถือสิทธิข้อ 22 หรือ ข้อถือสิทธิข้อ 23 ซึ่งมีลักษณะ เฉพาะตรงที่เส้นผ่านศูนย์ กลางของถ้วยกำหนดปริมาณยา (18) นี้ประมาณสามเท่าของความลึก ของ ถ้วยกำหนดปริมาณยา (18) 2 5. อุปกรณ์สูดหายใจรับยาชนิดผงตามข้อถือสิทธิก่อนหน้านี้ ข้อใดข้อหนึ่งซึ่งมีลักษณะเฉพาะ ตรงที่อุปกรณ์สูดหายใจรับ ยาชนิดผงนี้ประกอบรวมด้วยที่เก็บของเสีย และชิ้นประกอบ เพื่อควบคุม ปริมาณตามกำหนด (15) นี้ประกอบรวมด้วยช่องเปิด เพื่อที่จะทำให้ตัวยาชนิดผงที่เกินพอหรือเหลือ ค้างในช่อง สำหรับการสูดหายใจ (27) หรือบนชิ้นประกอบเพื่อควบคุมปริมาณ ตามกำหนด (15) นี้ สามารถตกผ่านช่องเปิดไปสู่ที่เก้บของเสีย นี้ 2 6. อุปกรณ์สูดหายใจรับยาชนิดผงตามข้อถือสิทธิก่อนหน้านี้ ข้อใดข้อหนึ่งซึ่งมีลักษณะเฉพาะ ตรงที่อุปกรณ์สูดหายใจรับ ยาชนิดผงนี้ประกอบรวมด้วยกลไกแบบกระตุ้นเร้าเมื่อมีการสูด หายใจ (21- 23) ซึ่งได้รับการต่อคู่ควบกับชิ้นประกอบป้องกัน (9) ในลักษณะที่ว่า ถ้าชิ้นประกอบป้องกัน (19) นี้ อยู่ใน ตำแหน่งปิด กลไกแบบกระตุ้นเร้าเมื่อมีการสูดหายใจ (21,23) นี้จะทำให้ชิ้นประกอบป้องกัน (19) เคลื่อนที่ไปสู่ตำแหน่ง เปิดถ้าแรงดูดจากการสูดหายใจซึ่งเป็นผลมาจากผู้ใช้เกินค่า ที่กำหนดไว้ ล่วงหน้า 2 7. อุปกรณ์สูดหายใจรับยาชนิดผงตามข้อถือสิทธิข้อ 26 ซึ่ง มีลักษณะเฉพาะตรงที่กลไกแบบ กระตุ้นเร้าเมื่อมีการสูดหายใจ นี้ประกอบรวมด้วยชิ้นประกอบแบบกระตุ้นเร้าเมื่อมีการสูดหาย ใจ (21) ซึ่งเคลื่อนที่ได้ระหว่างตำแหน่งที่หนึ่งและ ตำแหน่งที่สอง ชิ้นประกอบแบบกระตุ้นเร้าเมื่อมีการสูด หายใจ (21) ซึ่งได้รับการต่อคู่ควบกับชิ้นประกอบป้องกัน (19) นี้ ในลักษณะที่ว่า ถ้ามีแรงดูดจากการ สูดหายใจเกินค่าที่กำหนด ล่วงหน้า ชิ้นประกอบแบบกระตุ้นเร้าเมื่อมีการสูดหายใจ (21) จะได้รับการ เคลื่อนที่จากตำแหน่งที่หนึ่งไปยังตำแหน่งที่ สอง ด้วยเหตุนี้จะทำให้ชิ้นประกอบป้องกัน (19) เคลื่อนที่ จากตำแหน่งปิดไปสู่ตำแหน่งเปิด 2 8. อุปกรณ์สูดหายใจรับยาชนิดผงตามข้อถือสิทธิข้อ 27 ซึ่ง มีลักษณะเฉพาะตรงที่ ชิ้นประกอบแบบกระตุ้นเร้าเมื่อมีการสูด หายใจ (21) นี้เป็นฝาพับซึ่งซึ่งสามารถหมุนบนแกนได้ ระหว่าง ตำแหน่งที่หนึ่งและตำแหน่งที่สอง 2 9. อุปกรณ์สูดหายใจรับยาชนิดผงตามข้อถือสิทธิข้อ 28 ซึ่ง มีลักษณะเฉพาะตรงที่ ตำแหน่งที่หนึ่งนี้เป็นตำแหน่งทางแนว นอนของฝาพับ (21) ในขณะที่ตำแหน่งที่สองนี้เป็นตำแหน่งซึ่ง หมุนบนแกนเทียบกับตำแหน่งทางแนวนอนโดยการเคลื่อนที่เชิง หมุนของฝาพับรอบแกนการหมุน 3 0. อุปกรณ์สูดหายใจรับยาชนิดผงตามข้อถือสิทธิข้อ 27 ถึง 29 ข้อใดข้อหนึ่ง ซึ่งมีลักษณะเฉพาะ ตรงที่ตรงที่กลไกแบบ กระตุ้นเร้าเมื่อมีการสูดหายใจ (21-23) นี้ประกอบรวมด้วย วิถีทางแบบหยุ่นคืน สภาพ (23) ซึ่งจะได้รับการดึงโดยการ เคลื่อนที่ของชิ้นประกอบเพื่อควบคุมปริมาณตามกำหนด (15) จากตำแหน่งการบรรจุไปสู่ตำแหน่งการสูดหายใจและจะยอมให้ ปล่อยคายออกเมื่อมีการเคลื่อนที่ของ ชิ้นประกอบเพื่อควบคุม ปริมาณตามกำหนด (15) จากตำแหน่งการสูดหายใจไปสู่ตำแหน่งการ บรรจุ วิถีทางแบบหยุ่นคืนสภาพ (23) ซึ่งได้รับการจัดเรียงใน ลักษณะที่ว่าวิถีทางแบบหยุ่นคืนสภาพ (23) จะ ยึดชิ้นประกอบ แบบกระตุ้นเร้าเมื่อมีการสูดหายใจ (21) ในตำ แหน่งที่หนึ่งของชิ้นประกอบถ้าวิถีทาง แบบหยุ่นคืนสภาพ (23) ได้รับการปล่อยคาย ในขณะเดียวกันวิถีทางแบบหยุ่นคืนสภาพ (23) นี้จะ ปลดคลายชิ้นประกอบแบบกระตุ้นเร้าเมื่อมีการสูด หายใจ (21) ถ้าวิถีทางแบบหยุ่นคืนสภาพนี้ได้รับ การดึง ทั้ง นี้เพื่อจะปล่อยให้ชิ้นประกอบแบบกระตุ้นเร้าเมื่อมีการสูด หายใจ (21) นี้เคลื่อนที่จาก ตำแหน่งที่หนึ่งของชิ้นประกอบ ไปสู่ตำแหน่งที่สอง โดยแรงดูดจากการสูดหายใจซึ่งเกินค่าที่ กำหนด ล่วงหน้า 3 1. อุปกรณ์การสูดหายใจรับยาชนิดผงตามข้อถือสิทธิข้อ 30 ซึ่งมีลักษณะเฉพาะตรงที่ กลไกแบบกระตุ้นเร้าเมื่อมีการสูด หายใจ (21-23) นี้ประกอบรวมด้วยชิ้นประกอบเพื่อต่อคู่ควบ (22) ซึ่งต่อคู่ควบชิ้นประกอบแบบกระตุ้นเร้าเมื่อมีสูดหาย ใจ (21) นี้เข้ากับชิ้นประกอบป้องกัน (19) ซึ่งวิถีทางแบบ หยุ่นคืนสภาพ (23) นี้จะได้รับการจัดเรียงบนชิ้นประกอบ เพื่อต่อคู่ควบ (22) 3 2. อุปกรณ์การสูดหายใจรับยาชนิดผงตามข้อถือสิทธิข้อ 31 ซึ่งมีลักษณะเฉพาะตรงที่ วิถีทางแบบหยุ่นคืนสภาพ (23) นี้มี ปลายที่ต่อยาวออกไป (34) ซึ่งจะมาสัมผัสกับชิ้นประกอบเพื่อ ควบคุมปริมาณตามกำหนด (15) จากตำแหน่งการบรรจุไปยังตำแหน่ง การสูดหายใจ ด้วยเหตุนี้เป็น การดึงวิถีทางแบบหยุ่นคืนสภาพ (23) นี้ 3 3. อุปกรณ์การสูดหายใจรับยาชนิดผงตามข้อถือสิทธิข้อ 32 ซึ่งมีลักษณะเฉพาะตรงที่ ชื้นประกอบเพื่อควบคุมปริมาณตาม กำหนด (15) นี้ประกอบรวมด้วยร่อง (30) อย่างน้อยที่สุด หนึ่งร่อง ซึ่งก่อขึ้นรูปอยู่ที่ปลายด้านหน้าของชิ้นประกอบ เพื่อควบคุมปริมาณตามกำหนด (15) ปลายที่ต่อยาว ออกไป (34) ของวิถีทางแบบหยุ่นคืนสภาพ (23) นี้จะมาสัมผัสกับร่อง (30) ของชิ้นประกอบเพื่อ ควบคุมปริมาณตามกำหนด (15) เมื่อมีการ เคลื่อนที่ชิ้นประกอบเพื่อควบคุมปริมาณตามกำหนด (15) จาก ตำแหน่งการบรรจุไปสู่ตำแหน่งการสูดหายใจ 3 4. อุปกรณ์การสูดหายใจรับยาชนิดผงตามข้อถือสิทธิข้อ 31 ถึง 33 ข้อใดข้อหนึ่ง ซึ่งมีลักษณะ เฉพาะตรงที่วิถีทางแบบ หยุ่นคืนสภาพ (23) นี้มีส่วนปลาย (33) ซึ่งยึดชิ้นประกอบ แบบกระตุ้นเร้าเมื่อ มีการสูดหายใจ (21) ในตำแหน่งที่หนึ่ง ของชิ้นประกอบนี้เมื่อวิถีทางแบบหยุ่นคืนสภาพ (23) นี้ได้ รับ การปล่อยคาย และจะปลดปล่อยชิ้นประกอบแบบกระตุ้นเร้า เมื่อมีการสูดหายใจ (21) เมื่อชิ้นประกอบ แบบหยุ่นคืนสภาพ (23) นี้ได้รับการดึงโดยชิ้นประกอบเพื่อควบคุมปริมาณตาม กำหนด (15) นี้ 3 5. อุปกรณ์การสูดหายใจรับยาชนิดผงตามข้อถือสิทธิข้อ 31 ถึง 34 ข้อใดข้อหนึ่งซึ่งมีลักษณะ เฉพาะตรงที่ชิ้นประกอบ เพื่อต่อคู่ควบ (22) นี้เป็นก้ามปู 3 6. อุปกรณ์การสูดหายใจรับยาชนิดผงตามข้อถือสิทธิข้อ 31 ถึง 35 ข้อใดข้อหนึ่งซึ่งมีลักษณะ เฉพาะตรงที่ชิ้นประกอบ เพื่อต่อคู่ควบ (22) นี้มีแขน (43) ซึ่งได้รับการยึดอยู่ โดยชิ้นประกอบแบบ กระตุ้นเร้าเมื่อมีการสูดหายใจ (21) ถ้า ชิ้นประกอบแบบกระตุ้นเร้าเมื่อมีการสูดหายใจ (21) นี้อยู่ ใน ตำแหน่งที่หนึ่งของชิ้นประกอบนี้ และจะได้รับการปลดปล่อย โดยการเคลื่อนที่ชิ้นประกอบแบบ กระตุ้นเร้าเมื่อมีการสูดหาย ใจ (21) นี้จากตำแหน่งที่หนึ่งของชิ้นประกอบไปยังตำแหน่ง ที่สองของ ชิ้นประกอบ 3 7. อุปกรณ์การสูดหายใจรับยาชนิดผงตามข้อถือสิทธิข้อ 31 ถึง 36 ข้อใดข้อหนึ่งซึ่งมีลักษณะ เฉพาะตรงที่วิถีทางแบบ หยุ่นคืนสภาพ (23) นี้มีส่วนปลาย (32) วางพักอยู่ที่ชิ้น ประกอบเพื่อต่อคู่ควบ (22) ในลักษณะที่เมื่อมีการดึงวิถี ทางแบบหยุ่นคืนสภาพ (23) ชิ้นประกอบเพื่อต่อคู่ควบ (22) นี้จะได้ รับอิทธิพลให้เคลื่อนที่จากตำแหน่งแรกเริ่ม ที่ ซึ่งชิ้นประกอบป้องกัน (19) นี้อยู่ในตำแหน่งปิด ไปสู่ ตำแหน่งสุดท้าย ที่ซึ่งชิ้นประกอบป้องกัน (19) ได้รับการทำ ให้เคลื่อนที่ไปยังตำแหน่งเปิด 3 8. อุปกรณ์การสูดหายใจรับยาชนิดผงตามข้อถือสิทธิข้อ 36 ถึง 37 ข้อใดข้อหนึ่ง ซึ่งมีลักษณะ เฉพาะตรงที่กลไกแบบ กระตุ้นเร้าเมื่อมีการสูดหายใจ (21-23) นี้ได้รับการจัด เรียงในลักษณะที่จะทำ ให้สามารถมีเพียงการเคลื่อนที่ของชิ้น ประกอบเพื่อต่อคู่ควบ (22) จากตำแหน่งแรกเริ่ม ไปยังตำแหน่ง สุดท้ายนี้เท่านั้นถ้าแขน (43) ของชิ้นประกอบเพื่อต่อคู่ ควบ (22) นี้ได้รับการปลดปล่อยโดยการเคลื่อน ที่ของชิ้น ประกอบแบบกระตุ้นเร้าเมื่อมีการสูดหายใจ (21) จากตำแหน่ง ที่หนึ่งของชิ้นประกอบไปยัง ตำแหน่งที่สองของชิ้นประกอบ 3 9. อุปกรณ์การสูดหายใจรับยาชนิดผงตามข้อถือสิทธิข้อ 31 ถึง 38 ข้อใดข้อหนึ่ง ซึ่งมีลักษณะ เฉพาะตรงที่ ชิ้นประกอบ เพื่อต่อคู่ควบ (22) นี้ประกอบรวมด้วยส่วนต่อยาวออกไป (47) ซึ่งเกี่ยว ประสานกับช่องเปิด (39) ที่ก่อขึ้นรูปใน ชิ้นประกอบป้องกัน (19) 4 0. อุปกรณ์การสูดหายใจรับยาชนิดผงตามข้อถือสิทธิข้อ 39 และข้อถือสิทธิข้อ 37 หรือ ข้อถือสิทธิข้อ 38 ข้อใดข้อหนึ่ง ซึ่งมีลักษณะเฉพาะตรงที่ ส่วนต่อยาวออกไป (47) ของชิ้น ประกอบ เพื่อต่อคู่ควบ (22) นี้ได้รับการจัดเรียงเพิ่มเติม ในลักษณะเคลื่อนที่ได้ในช่องเปิดทางแนวยาว (29) ซึ่ง จะได้ รับการก่อขึ้นรูปในชิ้นประกอบเพื่อควบคุมปริมาณตามกำหนด (15) ตามทิศทางตามแนวยาว ของชิ้นประกอบ ในลักษณะที่ว่าส่วน ต่อยาวออกไป (47) ของชิ้นประกอบเพื่อต่อคู่ควบ (22) นี้ สามารถเคลื่อนที่ได้อิสระในช่องเปิดทางแนวยาว (29) ของชิ้น ประกอบเพื่อควบคุมปริมาณตาม กำหนด (15) จากตำแหน่งแรกเริ่ม ไปยังตำแหน่งสุดท้ายของชิ้นประกอบ ในขณะที่การ เคลื่อนที่ของ ชิ้นประกอบเพื่อควบคุมปริมาณตามกำหนด (15) จากตำแหน่งการสูดหายใจไปสู่ตำแหน่งการบรรจุ จะทำให้ส่วนต่อ ยาวออกไป (47) ของชิ้นประกอบเพื่อต่อคู่ควบ (22) นี้ไปต่อ ประชิดชนกับขอบของ ช่องเปิดทางแนวยาว (29) ซึ่งด้วยเหตุนี้ ทำให้มีการเคลื่อนที่ชิ้นประกอบเพื่อต่อคู่ควบ (22) กลับไป สู่ ตำแหน่งแรกเริ่มของชิ้นประกอบนี้ 4 1. อุปกรณ์การสูดหายใจรับยาชนิดผงตามข้อถือสิทธิข้อ 27 ถึง 40 ข้อใดข้อหนึ่งซึ่งมีลักษณะ เฉพาะตรงที่ชิ้นประกอบ แบบกระตุ้นเร้าเมื่อมีการสูดหายใจ (21) นี้ประกอบรวมด้วย เครื่องหมาย (38) ซึ่งมองเห็นได้ผ่านช่องเปิด (5) ของตัว กรอบ (1) ของอุปกรณ์การสูดหายใจรับยาชนิดผงนี้ถ้า ชิ้น ประกอบแบบกระตุ้นเร้าเมื่อมีการสูดหายใจ (21) นี้อยู่ใน ตำแหน่งที่หนึ่งของชิ้นประกอบ ในขณะ ที่เครื่องหมาย (38) จะ มองไม่เห็นผ่านช่องเปิด (5) ถ้าชิ้นประกอบแบบกระตุ้นเร้า เมื่อมีการสูดหายใจ (21) อยู่ในตำแหน่งที่สองของชิ้นประกอบ ดังนั้น เครื่องหมาย (38) นี้จะบ่งชี้ว่าปริมาณยาของตัวยา ที่ เป็นผงที่มีอยู่ในร่องกำหนดปริมาณยา (18) ของชิ้นประกอบ เพื่อควบคุมปริมาณตามกำหนด (15) นี้ พร้อมสำหรับการสูดหาย ใจหรือไม่ 4 2. อุปกรณ์การสูดหายใจรับยาชนิดผงตามข้อถือสิทธิข้อ 27 ถึง 41 ข้อใดข้อหนึ่ง ซึ่งมีลักษณะ เฉพาะตรงที่กลไกลแบบ กระตุ้นเร้าเมื่อมีการสูดหายใจ (21-23) จะได้รับการจัด เรียงในลักษณะที่กลไก แบบกระตุ้นเร้าเมื่อมีการสูดหายใจ (21-23) จะกั้นการเคลื่อนที่ของชิ้นประกอบป้องกัน (19) จาก ตำแหน่งปิดไปยังตำแหน่งเปิดถ้าผู้ใช้เป่าเข้าไปในส่วนช่อง ปาก (3) 4 3. อุปกรณ์สูดหายใจรับยาชนิดผงตามข้อถือสิทธิก่อนหน้านี้ ข้อใดข้อหนึ่ง ซึ่งมีลักษณะ เฉพาะตรงที่อุปกรณ์การสูดหายใจ รับยาชนิดผงนี้ประกอบรวมด้วยกลไกการนับปริมาณยา (24-26) ซึ่งนับจำนวนปริมาณของตัวยาที่เป็นผงซึ่งเหลืออยู่ในภาชนะบรรจุ (7) หรือได้ผ่านการสูดรับไป แล้ว กลไกการนับปริมาณยา (24-26) นี้ได้รับการจัดเรียงในลักษณะที่ว่ากลไกการนับ ปริมาณยานี้จะ ได้รับการกระตุ้นเร้าภายหลังการเสร็จสมบูรณ์ ของกระบวนการสูดหายใจรับยานี้แล้ว 4 4. อุปกรณ์การสูดหายใจรับยาชนิดผงตามข้อถือสิทธิข้อ 43 ซึ่งมีลักษณะเฉพาะตรงที่ กลไกการนับปริมาณยา (24-26) นี้ ประกอบรวมด้วยวงล้อ (24) ซึ่งได้กำหนดตัวเลขบนด้านหนึ่ง ซึ่ง หันไปทางหน้าต่าง (4) ของตัวกรอบ (1) ของอุปกรณ์การสูด หายใจรับยาชนิดผงนี้และจะได้รับการ หมุนไปในลักษณะเป็นขั้น พร้อมด้วยกระบวนการสูดหายใจแต่ละครั้ง 4 5. อุปกรณ์การสูดหายใจรับยาชนิดผงตามข้อถือสิทธิข้อ 44 ซึ่งมีลักษณะเฉพาะตรงที่ กลไกการนับปริมาณยา (24-26) นี้ ประกอบรวมด้วยวงล้อเพิ่มเติมอีกวงหนึ่ง (26) ซึ่งต่อคู่ควบ กับวง ล้อนี้โดยชุดจัดเรียงของเฟือง (25) วงล้อเพิ่มเติมอีก วงหนึ่งนี้ได้รับการกำหนดตัวเลขบนด้านหนึ่งซึ่ง หันไปทาง หน้าต่าง (4) ของตัวกรอบ (1) นี้เช่นกัน 4 6. อุปกรณ์การสูดหายใจรับยาชนิดผงตามข้อถือสิทธิข้อ 45 ซึ่งมีลักษณะเฉพาะตรงที่จะจัด เตรียมให้มีวงล้อ (24,26) เพื่อแสดงอันดับที่แตกต่างกันของขนาดของจำนวนปริมาณยา วง ล้อ (24,26) ซึ่งได้รับการจัดเรียงในลักษณะที่ว่าในแต่ละ กรณี หมายเลขของวงล้อ (24,26) ซึ่งได้อยู่ใน ตำแหน่งใกล้ชิด กันและกันจะมองเห็นได้ผ่านหน้าต่าง (4) ของตัวกรอบ (1) 4 7. อุปกรณ์การสูดหายใจรับยาชนิดผงตามข้อถือสิทธิข้อ 45 หรือข้อถือสิทธิข้อ 46 ซึ่งมีลักษณะ เฉพาะตรงที่ วงล้อเพิ่ม เติมอีกวงหนึ่ง (26) นี้ประกอบรวมด้วยแถวของตัวเลขตามทิศ ทางตามเส้นรอบ วงของวงล้อนี้สองแถว ทั้งสองแถวของตัวเลข (68) ซึ่งได้รับการจัดเตรียมเพื่อแสดงอันดับที่แตกต่าง กัน ของขนาดของจำนวนปริมาณยา 4 8. อุปกรณ์การสูดหายใจรับยาชนิดผงตามข้อถือสิทธิข้อ 45 ถึง 47 ข้อใดข้อหนึ่ง ซึ่งมีลักษณะ เฉพาะตรงที่วงล้อเพิ่ม เติมอีกวงหนึ่งนี้มีส่วนยื่น (69) ซึ่งทอดแนวจากส่วนรอบ รูปด้านนอกของวงล้อ ส่วนยื่น (69) นี้ได้รับการจัดเรียงใน ลักษณะที่ว่าส่วนยื่นนี้จะปิดคลุมส่วนหนึ่งของวงล้อ (24) ที่ ตำแหน่งซึ่งหันหน้าไปทางหน้าต่าง (4) ของตัวกรอบ (1) ใน ลักษณะวิธีที่ไม่มีตัวเลขของวงล้อ (24) และไม่มีตัวเลขของ วงล้อเพิ่มเติมอีกวงหนึ่ง (26) นี้ปรากฏให้เห็นได้ผ่านหน้า ต่าง (4) วงล้อเพิ่มเติม อีกวงหนึ่ง (26) นี้ไม่ได้รับการ จัดเตรียมให้มีตัวเลข (68) ในทิศทางตามแนวรัศมีของส่วนยื่น (69) นี้ 4 9. อุปกรณ์การสูดหายใจรับยาชนิดผงตามข้อถือสิทธิข้อ 44 ถึง 48 ข้อใดข้อหนึ่ง ซึ่งมีลักษณะ เฉพาะตรงที่กลไกการนับ ปริมาณยา (24-26) นี้ได้รับการจัดเรียงในลักษณะที่ว่าการ กระตุ้นต่อไปอีก ของกลไกการนับปริมาณยา (24-26) จะได้รับการ ขัดขวางถ้ากลไกการนับปริมาณยา (24-26) นี้ได้นับ ไปจนปริมาณ ยาทั้งหมดของตัวยาที่เป็นผงซึ่งมีอยู่ในภาชนะบรรจุ (7) ได้ รับการสูดรับไปเรียบร้อย แล้ว 5 0. อุปกรณ์การสูดหายใจรับยาชนิดผงตามข้อถือสิทธิข้อ 44 ถึง 49 ข้อใดข้อหนึ่ง ซึ่งมีลักษณะ เฉพาะตรงที่กลไกการนับ ปริมาณยา (24-26) นี้ได้รับการต่อคู่ควบกับชิ้นประกอบเพื่อ ควบคุมปริมาณ ตามกำหนด (15) ในลักษณะที่ว่ากลไกนี้จะได้รับการ กระตุ้นโดยการเคลื่อนที่ของชิ้นประกอบเพื่อ ควบคุมปริมาณตาม กำหนด (15) จากตำแหน่งแรกเริ่มไปสู่ตำแหน่งการบรรจุ 5 1. อุปกรณ์การสูดหายใจรับยาชนิดผงตามข้อถือสิทธิข้อ 44 ถึง 50 ข้อใดข้อหนึ่งและ ข้อถือสิทธิข้อ 31 ถึง 40 ข้อใดข้อหนึ่ง ซึ่งมีลักษณะเฉพาะตรงที่วงล้อ (24) นี้ได้ รับการจัดเตรียมให้มี ฟันขับ (58) จำนวนหนึ่งตามทิศทางเส้น รอบวงของวงล้อ และชิ้นประกอบเพื่อต่อคู่ควบ (22) ของ กลไก แบบกระตุ้นเร้าเมื่อมีการสูดหายใจ (21-23) นี้ประกอบรวม ด้วยส่วนยื่น (45) ซึ่งจะได้รับการ นำเข้าไปเกี่ยวประสานกับ หนึ่งในฟันขับ (58) นี้เพื่อที่จะหมุนวงล้อ (24) นี้ไป หนึ่งขั้น 5 2. อุปกรณ์การสูดหายใจรับยาชนิดผงตามข้อถือสิทธิข้อ 51 และข้อถือสิทธิข้อ 37,38 หรือ 40 ข้อใดข้อหนึ่งซึ่งมี ลักษณะเฉพาะตรงที่ ส่วนยื่น (45) นี้ได้รับการทำให้เคลื่อน ที่ไปฟันขับต่อไป (58) ของวงล้อ (24) และได้รับการนำเข้าไป เกี่ยวประสานกับฟันขับนี้เมื่อมีการเคลื่อนที่ของชิ้น ประกอบ เพื่อต่อคู่ควบ (22) จากตำแหน่งแรกเริ่มของชิ้น ประกอบไปยังตำแหน่งสุดท้ายของชิ้นประกอบ ส่วนยื่น (45) ของ ชิ้นประกอบเพื่อต่อคู่ควบ (22) ซึ่งหมุนวงล้อ (24) ไปหนึ่ง ขั้นเมื่อมีการเคลื่อนที่ของ ชิ้นประกอบเพื่อต่อคู่ควบ 22 จากตำแหน่งสุดท้ายของชิ้นประกอบกับไปยังตำแหน่งแรกเริ่มของ ชิ้นประกอบ 5 3. อุปกรณ์การสูดหายใจรับยาชนิดผงตามข้อถือสิทธิข้อ 51 หรือข้อถือสิทธิข้อ 52 ข้อใดข้อหนึ่ง ซึ่งมีลักษณะเฉพาะตรง ที่ ฟันขับ (58) แต่ละซี่ มีการลาดเอียงในทิศทางตามแนวเส้น รอบวงของวงล้อ (24) เพื่อที่เอื้อประโยชน์การเคลื่อนที่ของ ส่วนยื่น (45) ของชิ้นประกอบเพื่อต่อคู่ควบนี้เหนือฟันขับ (58) นี้ 5 4. อุปกรณ์การสูดหายใจรับยาชนิดผงตามข้อถือสิทธิก่อนหน้า นี้ข้อใดข้อหนึ่งซึ่งมีลักษณะ เฉพาะตรงที่ชิ้นประกอบป้อง กัน (19) นี้ได้รับการจัดเรียงบนชิ้นประกอบเพื่อควบคุม ปริมาณตาม กำหนดในลักษณะเคลื่อนที่แบบเลื่อนได้ระหว่าง ตำแหน่งปิดและตำแหน่งเปิดนี้ 5 5. อุปกรณ์การสูดหายใจรับยาชนิดผงตามข้อถือสิทธิก่อนหน้า นี้ข้อใดข้อหนึ่งซึ่งมีลักษณะ เฉพาะตรงที่จะจัดวางลิ้นทาง เดียวในช่องสำหรับการสูดหายใจ (27) 5 6. อุปกรณ์การสูดหายใจรับยาชนิดผงตามข้อถือสิทธิก่อนหน้า นี้ข้อใดข้อหนึ่งซึ่งมีลักษณะ เฉพาะตรงที่ได้จัดเตรียมให้ มีกลไกควบคุมด้วยมือ (38) สำหรับการกระตุ้นเร้าชิ้นประกอบ ป้องกัน (19) ด้วยมือเพื่อที่จะเคลื่อนชิ้นประกอบป้องกัน (19) จากตำแหน่งปิดไปยังตำแหน่งเปิด 5 7. อุปกรณ์การสูดหายใจรับยาชนิดผงตามข้อถือสิทธิข้อ 56 และข้อถือสิทธิข้อ 26 ถึง 42 หรือ ข้อ 51 ถึง 53 ข้อใดข้อ หนึ่งซึ่งมีลักษณะเฉพาะตรงที่จะจัดเตรียมใหมีกลไกควบคุม ด้วยมือ (38) เพื่อ กระตุ้นเร้ากลไกแบบกระตุ้นเร้าเมื่อมี การสูดหายใจ (21-23) นี้โดยควบคุมด้วยมือ 5 8. อุปกรณ์การสูดหายใจรับยาชนิดผงตามข้อถือสิทธิข้อ 56,57 และข้อถือสิทธิข้อ 41 ข้อใด ข้อหนึ่งซึ่งมีลักษณะเฉพาะตรง ที่กลไกควบคุมด้วยมือนี้ประกอบรวมด้วยเครื่องหมาย (38) สำหรับ การกดชิ้นประกอบแบบกระตุ้นเร้าเมื่อมีการสูดหายใจ (21) โดยควบคุมด้วยมือเพื่อที่จะกระตุ้นเร้า กลไกแบบกระตุ้น เร้าเมื่อมีการสูดหายใจ (21-23) และชิ้นประกอบป้องกัน (19) นี้โดยควบคุมด้วยมือ 5 9. ชุดจัดเรียงของตัวแยกการเกาะรวมกลุ่ม (16) สำหรับการ แยกการเกาะรวมกลุ่มตัวยาที่เป็นผง ซึ่งประกอบรวมด้วย ห้องหมุนวน (73) ซึ่งมีช่องเปิดสำหรับการจ่ายตัวยาที่เป็น ผงนี้ ทางเข้าของอากาศ (75) อย่างน้อยที่สุดหนึ่งทางสำหรับการ กำกับอากาศเข้าไปใน ห้องหมุนวน (73) ตามแนวเส้นส้มผัส และ ทางออก (74) สำหรับการนำอากาศออกพร้อมด้วยตัวยาที่เป็นผง ซึ่งผ่านการแยกการเกาะรวม กลุ่มแล้ว ทางออก (74) นี้ได้รับ การเว้นช่องห่างจากทางออกของอากาศ (75) นี้อย่างน้อยที่สุด หนึ่ง ช่องในทิศทางตามแนวแกนของชุดจัดเรียงตัวแยกการเกาะรวม กลุ่ม (16) นี้ ซึ่งมีลักษณะเฉพาะตรงที่ ห้องหมุนวน (73) นี้มีเส้นผ่านศูนย์กลาง d โดยที่ 6 มิลลิเมตร น้อยกว่าหรือเท่ากับ d น้อยกว่าหรือเท่ากับ 10 มิลลิเมตร 6 0. ชุดจัดเรียงของตัวแยกการเกาะรวมกลุ่มตามข้อถือสิทธิข้อ 59 ซึ่งมีลักษณะเฉพาะตรงที่ เส้นผ่านศูนย์กลางของห้องหมุนวน (73) นี้เป็นเส้นผ่านศูนย์กลางที่ใหญ่ที่สุดเท่าที่เป็นไป ได้ของ วงกลม (77) ซึ่งสามารถได้รับการวางด้านในห้องหมุนวน (73) นี้บนระนาบทางแนวนอนซึ่งตัดกับ ทางเข้าของอากาศ (75) อย่างน้อยที่สุดหนึ่งทางโดยไม่มีการทอดแนวเหนือห้องหมุนวน (73) นี้ 6 1. ชุดจัดเรียงของตัวแยกการเกาะรวมกลุ่มตามข้อถือสิทธิข้อ 60 ซึ่งมีลักษณะเฉพาะตรงที่ ห้องหมุนวน (73) นี้มีภาคตัด ขวางรูปวงรีอย่างเป็นสำคัญในระนาบทางแนวนอนนี้ 6 2. ชุดจัดเรียงของตัวแยกการเกาะรวมกลุ่มตามข้อถือสิทธิข้อ 59 ถึง 61 ข้อใดข้อหนึ่งซึ่งมี ลักษณะเฉพาะตรงที่ ห้องหมุน วน (73) ได้รับการออกแบบให้สมมาตรเชิงการหมุนเทียบกับแกน กลาง ทางแนวยาวของห้องหมุนวนนี้ 6 3. ชุดจัดเรียงของตัวแยกการเกาะรวมกลุ่มตามข้อถือสิทธิข้อ 59 ถึง 62 ข้อใดข้อหนึ่งซึ่งมี ลักษณะเฉพาะตรงที่ ห้องหมุน วน (73) นี้มีเส้นผ่านศูนย์กลาง d ประมาณ 8 มิลลิเมตร 6 4. ชุดจัดเรียงของตัวแยกการเกาะรวมกลุ่มตามข้อถือสิทธิข้อ 59 ถึง 63 ข้อใดข้อหนึ่งซึ่งมี ลักษณะเฉพาะตรงที่ จะจัด เตรียมให้มีทางเข้าของอากาศ (75) สองทางซึ่งอยู่ตรงข้ามกัน ตามแนวเส้น ผ่านศูนย์กลาง 6 5. ชุดจัดเรียงของตัวแยกการเกาะรวมกลุ่มตามข้อถือสิทธิข้อ 59 ถึง 64 ข้อใดข้อหนึ่งซึ่งมี ลักษณะเฉพาะตรงที่ทางเข้า ของอากาศ (75) อย่างน้อยที่สุดทางหนึ่งมีความกว้าง d/5 6 6. ชุดจัดเรียงของตัวแยกการเกาะรวมกลุ่มตามข้อถือสิทธิข้อ 59 ถึง 65 ข้อใดข้อหนึ่งซึ่งมี ลักษณะเฉพาะตรงที่ทางออก (74) นี้ได้รับการทำให้เกี่ยวสัมพันธ์กับช่องทางออกจำเพาะ (27) ซึ่งมี ภาคตัดขวางรูปวงกลม 6 7. ชุดจัดเรียงของตัวแยกการเกาะรวมกลุ่มตามข้อถือสิทธิข้อ 66 ซึ่งมีลักษณะเฉพาะตรงที่ ช่องทางออก (27) จะทอดแนวไปตาม แกนกลางทางแนวยาวของห้องหมุนวน (73) และอยู่ร่วมแกน เดียว กัน 6 8. ชุดจัดเรียงของตัวแยกการเกาะรวมกลุ่มตามข้อถือสิทธิข้อ 66 ถึง 67 ข้อใดข้อหนึ่ง ซึ่งมี ลักษณะเฉพาะตรงที่ช่องทาง ออก (27) นี้มีเส้นผ่านศูนย์กลางเท่ากับ 0.75d 6 9. ชุดจัดเรียงของตัวแยกการเกาะรวมกลุ่มตามข้อถือสิทธิข้อ 59 ถึง 68 ข้อใดข้อหนึ่งซึ่งมี ลักษณะเฉพาะตรงที่ทางเข้า ของอากาศ (75) อย่างน้อยที่สุดหนึ่งทางได้รับการทำให้ เกี่ยวสัมพันธ์กับ ท่อทางเข้าของอากาศจำเพาะ ห้องหมุนวน (73) ซึ่งได้รบการแยกออกต่างหากจากท่อทางเข้าของ อากาศอย่าง น้อยที่สุดหนึ่งทางโดยผนังด้านข้าง (78) ซึ่งอยู่ร่วมศูนย์ กับท่อทางเข้าของอากาศนี้ 7 0. ชุดจัดเรียงของตัวแยกการเกาะรวมกลุ่มตามข้อถือสิทธิข้อ 69 ซึ่งมีลักษณะเฉพาะตรงที่ ผนังด้านข้าง (78) นี้มีส่วน ปลายมนที่บริเวณใกล้กับทางเข้าของอากาศ (75) นี้ 7
1. ชุดจัดเรียงของตัวแยกการเกาะรวมกลุ่มตามข้อถือสิทธิข้อ 59 ถึง 70 ข้อใดข้อหนึ่งและ ข้อถือสิทธิข้อ 64 ซึ่งมีลักษณะ เฉพาะตรงที่ผนังด้านนอกของช่องทางเข้าของอากาศ (75) แต่ละ ทางจะ ได้รับการเชื่อมต่อกับทางเข้าของอากาศจำเพาะอีกทาง หนึ่งโดยส่วนผนังรูปครึ่งวงกลมอย่างเป็น สำคัญ (79) ของห้อง หมุนวน (73) ศูนย์กลางของครึ่งวงกลมจำเพาะของส่วนผนัง (79) นี้จะได้รับการ จัดวางตำแหน่งอยู่บนเส้นผ่านศูนย์กลางของ ห้องหมุนวน (73) ซึ่งเชื่อมต่อทางเข้าของอากาศ (75) ทั้ง สองซึ่งกันและกัน 7
2. ชุดจัดเรียงของตัวแยกการเกาะรวมกลุ่มตามข้อถือสิทธิข้อ 71 ซึ่งมีลักษณะเฉพาะตรงที่ส่วน ผนังรูปครึ่งวงกลมอย่างเป็น สำคัญ (79) แต่ละส่วนจะได้รับการจัดวางตำแหน่งไม่ร่วมศูนย์ กลางกับ วงกลมทางแนวนอน (77) ซึ่งกำหนดเส้นผ่านศูนย์กลางของ ห้องหมุนวน (73) นี้ 7
3. ชุดจัดเรียงของตัวแยกการเกาะรวมกลุ่มตามข้อถือสิทธิข้อ 59 ถึง 72 ข้อใดข้อหนึ่งซึ่งมี ลักษณะเฉพาะตรงที่ ทางเข้า ของอากาศ (75) อย่างน้อยที่สุดหนึ่งทางนี้ได้รับการทำให้ เกี่ยวสัมพันธ์ กับท่อทางเข้าของอากาศจำเพาะ พื้นผิวด้านบน สุดของท่อทางเข้าของอากาศนี้จะได้รับการทำให้เผย ออกเพื่อ ที่ทำให้มีการเข้ามาของอากาศไปในท่อทางเข้าของอากาศ 7
4. ชุดจัดเรียงของตัวแยกการเกาะรวมกลุ่มตามข้อถือสิทธิข้อ 73 ซึ่งมีลักษณะเฉพาะตรงที่พื้นผิว ด้านบนสุดของท่อทางเข้า ของอากาศนี้ได้รับการทำให้เผยออกมากกว่ามุมประมาณ 80 องศา ตามทิศ ทางตามแนวเส้นรอบวงของท่อทางเข้าของอากาศนี้ 7
5. ชุดจัดเรียงของตัวแยกการเกาะรวมกลุ่ม (16) สำหรับการ แยกการเกาะรวมกลุ่มของตัวยาที่ เป็นผง ซึ่งประกอบรวมด้วย ห้องหมุนวน (73) ซึ่งมีช่องเปิดสำหรับการจ่ายตัวยาที่เป็น ผงนี้ ทางเข้าของอากาศ (75) อย่างน้อยที่สุดสองทางสำหรับการ กำกับอากาศเข้าไปยังห้องหมุนวน (73) นี้ตามแนวเส้นสัมผัส และ ทางออก (74) สำหรับการนำอากาศออกพร้อมด้วยตัวยาที่เป็นผง ซึ่งผ่านการแยกการเกาะรวม กลุ่มแล้ว ทางออก (74) นี้ได้รับ การเว้นช่องจากทางเข้าของอากาศ (75) ในทิศทางตามแนวแกนของ ชุดจัดเรียงของตัวแยกการเกาะรวมกลุ่ม (16) ซึ่งมีลักษณะ เฉพาะตรงที่ ผนังด้านนอกของทางเข้าของอากาศ (75) แต่ละทางได้รับการ เชื่อมต่อกับทางเข้าของอากาศ (75) อื่น โดยส่วนผนังรูปโค้ง (79) ของห้องหมุนวน (73) ซึ่งแต่ละส่วนผนังรูปโค้ง (79) จะ ได้รับการ จัดให้อยู่ในตำแหน่งไม่ร่วมศูนย์กับวงกลมทางแนว นอน (77) ซึ่งกำหนดเป็นเส้นผ่านศูนย์กลาง (d) ของห้องหมุน วน (73) 7
6. ชุดจัดเรียงของตัวแยกการเกาะรวมกลุ่มตามข้อถือสิทธิข้อ 75 ซึ่งมีลักษณะเฉพาะตรงที่ ทางเข้าของอากาศ (75) นี้ได้รับ การจัดเรียงไปตามวงกลม (77) ซึ่งกำหนดเส้นผ่านศูนย์กลาง (d) ของ ห้องหมุนวน (73) นี้ 7
7. ชุดจัดเรียงของตัวแยกการเกาะรวมกลุ่มตามข้อถือสิทธิข้อ 75 หรือข้อถือสิทธิข้อ 76 ข้อใด ข้อหนึ่งซึ่งมีลักษณะเฉพาะ ตรงที่ ชุดจัดเรียงของตัวแยกการเกาะรวมกลุ่ม (16) นี้เป็น ชุดจัดเรียงของ ตัวแยกการเกาะรวมกลุ่มตามข้อถือสิทธิข้อ 59 ถึง 74 ข้อใดข้อหนึ่ง 7
8. อุปกรณ์การสูดหายใจรับยาตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ถึง 58 ข้อใดข้อหนึ่งซึ่งมีลักษณะเฉพาะตรงที่ ช่องสำหรับการสูดหาย ใจ (27) นี้ประกอบรวมด้วยชุดจัดเรียงของตัวแยกการเกาะรวม กลุ่มตาม ข้อถือสิทธิข้อ 59 ถึง 77 ข้อใดข้อหนึ่ง
TH301002845A 2003-07-30 อุปกรณ์สูดหายใจรับยาชนิดผง TH49100B (th)

Publications (2)

Publication Number Publication Date
TH61524A true TH61524A (th) 2004-04-09
TH49100B TH49100B (th) 2016-04-08

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
JP5297719B2 (ja) 解凝集装置
JP4497730B2 (ja) 複合薬剤用の粉末吸入器
US11324900B2 (en) Hinged capsule inhaler
US4570630A (en) Medicament inhalation device
CA2642023C (en) Improvements in or relating to dry powder inhaler devices
KR100805992B1 (ko) 건조 분말 흡입기
AU640764B2 (en) Device for the administration of powdered medicinal substances
US6065472A (en) Multidose powder inhalation device
US20020108611A1 (en) Inhalation device and method
EP1387656B1 (en) Medicament container
CA2369726C (en) Powder inhaler for combined medicament
KR20070027691A (ko) 건식 파우더 흡입기
RU2015116757A (ru) Устройство для доставки лекарственного средства для лечения пациентов с заболеваниями органов дыхания
KR20160030086A (ko) 흡입식 약학적 조성물 및 그를 포함하는 흡입기 장치
TH49100B (th) อุปกรณ์สูดหายใจรับยาชนิดผง
TH61524A (th) อุปกรณ์สูดหายใจรับยาชนิดผง
US20200121870A1 (en) Low-cost single use powder inhaler
US20240042147A1 (en) Dry powder inhaler
RU2529696C1 (ru) Ингалятор для порошковых лекарственных форм