TH614A - ขั้วไฟฟ้า - Google Patents

ขั้วไฟฟ้า

Info

Publication number
TH614A
TH614A TH8201000038A TH8201000038A TH614A TH 614 A TH614 A TH 614A TH 8201000038 A TH8201000038 A TH 8201000038A TH 8201000038 A TH8201000038 A TH 8201000038A TH 614 A TH614 A TH 614A
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
particles
matrix
particle
electrode
cell
Prior art date
Application number
TH8201000038A
Other languages
English (en)
Other versions
TH699B (th
TH614EX (th
Inventor
เฟเบียน นายปีเตอร์
มุลเลอร์ นายธีโอ
Original Assignee
นายโรจน์วิทย์ เปเรร่า
Filing date
Publication date
Application filed by นายโรจน์วิทย์ เปเรร่า filed Critical นายโรจน์วิทย์ เปเรร่า
Publication of TH614EX publication Critical patent/TH614EX/th
Publication of TH614A publication Critical patent/TH614A/th
Publication of TH699B publication Critical patent/TH699B/th

Links

Abstract

ขั้วไฟฟ้าแบบผสมประกอบไปด้วย ฐานที่เป็นตัวนำไฟฟ้ากับสารอีเล็คโทรไลท์เฉื่อย สารตัวนำไฟฟ้าตัวเร่งปฏิกิริยาไฟฟ้า ซึ่ง เคลือบโดยการพ่นความร้อน (thermal spraying) ชั้นดังกล่าว เป็น ผงของวัตถุเมทริกซ์ ซึ่งเลือกจากกลุ่มที่ประกอบด้วย ออกไซด์ ไนไตรด์ ฟอสไฟด์ ซิลิไซด์ โบไรด์ และคาร์ไบด์ของโลหะที่ เลือก จากกลุ่มที่ประกอบด้วยโลหะกลุ่มพลาตินัม และโลหะกลุ่มเหล็ก และ ออกไซด์ของมันและมีขนาดอนุภาคเล็กกว่าอย่างน้อยขนาดกำลัง หนึ่ง ของอนุภาคเมทริกซ์และเซลล์อีเล็คโทรไลท์ที่มีขั้วไฟฟ้าดัง กล่าว และขบวนการแยกสารด้วยไฟฟ้าที่ใช้ขั้วไฟฟ้าดังกล่าว

Claims (2)

ข้อถือสิทธฺ์ (ทั้งหมด) ซึ่งจะไม่ปรากฏบนหน้าประกาศโฆษณา :(ข้อ 1 พิมพ์แล้ว) 2. ขั้วไฟฟ้าดังในข้อถือสิทธิ 1 ที่ซึ่งฐานตัวนำไฟฟ้า เลือกจากกลุ่มที่ประกอบด้วยกราไฟต์ โลหะ และอัลลอยของมัน 3. ขั้วไฟฟ้าดังในข้อถือสิทธิ 1 หรือ 2 ที่ซึ่งอนุภาคเมท ริกซ์เลือกจากกลุ่มที่ประกอบด้วย ออกไซด์ และคาร์ไบด์ของ โลหะวาล์ว และอนุภาคตัวเร่งปฏิกิริยาไฟฟ้ามีอยู่เป็น 1 ถึ 5 เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนักของชั้นดังกล่าว 4. ขั้วไฟฟ้าดังในข้อถือสิทธิที่ 3 ที่ซึ่งโลหะวาล์ว คือ ไททาเนียม 5. ขั้วไฟฟ้าดังในข้อถือสิทธิที่ 3 ที่ซึ่งอนุภาคเมทริกซ์ คือ ซับสโตยคิโอเมตริคออกไซด์ และอนุภาคของโลหะพลาตินัมมี อยู่เป็น 1 ถึง 3 เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนักของชั้นดังกล่าว 6. ขั้งไฟฟ้าดังในข้อถือสิทธิ 5 ที่ซึ่งอนุภาคเมทริกซ์มี ขนาดใหญ่ว่าอนุภาคกลุ่มพลาตินัมอยู่ 20 ถึง 50 เท่า 7. ขั้วไฟฟ้าดังในข้อถือสิทธิ 1 หรือ 2 ที่ซึ่งอนุภาคเมท ริซ์ คือ อนุภาคเหล็กออกไซด์ และอนุภาคของตัวเร่งปฏิกิริยา ไฟฟ้า คือ อนุภาคโลหะพลาตินัม 8. ขั้วไฟฟ้าดังในข้อถือสิทธิ 7 ที่ซึ่งอนุภาคเมทริกซ์ คือ อนุภาคสารแมกเนไตต์ 9. ขั้วไฟฟ้าดังในข้อถือสิทธิ 1 ที่ซึ่งขั้นสารดังกล่าวมี ขั้นอนุภาคสารต้านทานเชิงกลอยู่ 5 ถึง 50 เปอร์เซ็นต์โดย น้ำหนัก 1 0. ขั้วไฟฟ้าดังในข้อถือสิทธิ 9 ที่ซึ่งอนุภาคที่ว่องไว ในการเป็นตัวเร่งปฏิกิริยาไฟฟ้าบนอนุภาคเมทริกซ์กระจายอยู่ ในชั้นในลักษณะ ซึ่งปริมาณของสารเร่งปฏิกิริยาไฟฟ้าเพิ่ม ขึ้นจากด้านในของชั้นสู่ด้านนอกของนั้น 1 1. ในเซลล์อีเล็กโทรไลท์ ที่ประกอบไปด้วย ตัวถังพร้อม ด้วยขั้วบวก และขั้วลบทำให้เกิดช่องว่างระหว่างขั้วทั้งสอง ซึ่งอาจเลือกให้มีแมมเบรน หรือไดอะแฟรมอยู่ในช่องว่างนั้น การปรับปรุงประกอบไปด้วย ขั้วบวก หรือขั้วลบอย่างน้อยขั้ว ใดขั้วหนึ่งเป็นขั้วไฟฟ้าของข้อถือสิทธิ 1 1 2. เซลล์ดังในข้อถือสิทธิ 11 ที่ซึ่งฐานตัวนำไฟฟ้าเลือก จากกลุ่มที่ประกอบด้วยกราไฟด์ โลหะ และอัลลอยของมัน 1 3. เซลล์ดังในข้อถือสิทธิ 11 ที่ซึ่งอนุภาคเมทริกซ์เลือก จากกลุ่มที่ประกอบด้วยออกไซด์ และคาร์ไบด์ของโลหะวาล์ว และ อนุภาคตัวเร่งปฏิกิริยาไฟฟ้ามีอยู่เป็น 1 ถึง 5 เปอร์เ ซ้นต์โดยน้ำหนักของชั้นดังกล่าว 1 4. เซลล์ดังในข้อถือสิทธิ 11 ที่ซึ่งโลหะวาล์ว คือ ไททา เนียม 1 5. เซลล์ดังในข้อถือสิทธิ 11 ที่ซึ่งอนุภาคเมทริกซ์ คือ ซับสโตยดิโอเมตริคไททาเนียมออกไซด์ และอนุภาคโลหะพลาตินัม มีอยู่เป็น 1 ถึง 3 เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนักของชั้น 1 6. เซลล์ดังในข้อถือสิทธิ 11 ที่ซึ่งอนุภาคเมทริกซ์มี ขนาดใหญ่กว่าอนุภาคกลุ่มพลาตินัมเป็น 20 ถึง 50 เท่า 1 7. เซลล์ดังในข้อถือสิทธิ 11 ที่ซึ่งอนุภาคเมทริกซ์คือ อนุภาคเหล็กออกไซด์และอนุภาคตัวเร่งปฏิกิริยาไฟฟ้า คือ อนุภาคโลหะพลาตินัม 1 8. เซลล์ดังในข้อถือสิทธิ 11 ที่ซึ่งอนุภาคเมทริกซ์ คือ อนุภาคสารแมกเนไตต์ 1 9. เซลล์ดังในข้อถือสิทธิ 11 ที่ซึ่งขั้นต้นดังกล่าวมี ชั้นอนุภาคสารต้านทางเชิงกลอยู่ 5 ถึง 50 เปอร์เซ็นต์โดย น้ำหนัก 2 0. เซลล์ดังในข้อถือสิทธิ 11 ที่ซึ่งอนุภาคที่ว่องไวใน ทางเป็นตัวเร่งปฏิกิริยาไฟฟ้าอนุภาคเมทริกซ์กระจายอยุ่ใน ขั้นในลักษณะ ซึ่งปริมาณของสารเร่งปฏิกิริยาไฟฟ้าเพิ่มขึ้น จากด้านในของชั้นสู่ด้านนอกของชั้น 2 1. ในขบวนการแยกสารละลายอีเล็กโทรไลท์ที่มีคลอไรด์อิออน หรือซัลเฟตอิออน โดยการผ่านกระแสไฟฟ้าสำหรับแยกสารด้วย ไฟฟ้าไปยังขั้วบวก หรือขั้วลบโดยมีอีเล็คโทรลท์อยู่ระหว่าง ขั้วทั้งสอง การปรับปรุงประกอบไปด้วย ขั้วบวก หรือขั้วลบ อย่างน้อยขั้วใดขั้วหนึ่งเป็นขั้วไฟฟ้าของข้อถือสิทธิ 1 2 2. วิธีการดังในข้อถือสิทธิ 21 ที่ซึ่งฐานตัวนำไฟฟ้า เลือกจากกลุ่มที่ประกอบด้วยกราไฟท์ โลหะ และอัลลอยของมัน 2 3. วิธีการดังในข้อถือสิทธิ 21 ที่ซึ่งอนุภาคเมทริกซ์ เลือกจากกลุ่มที่ประกอบด้วยออกไซด์ และคาร์ไบต์ของโลหะ วาล์ว และอนุภาคตัวเร่งปฏิกิริยาไฟฟ้ามีอยู่เป็น 1 ถึง 5 เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนักของชั้น 2 4. วิธีการดังในข้อถือสิทธิ 21 ที่ซึ่งโลหะวาล์วคือ ไททา เนียม 2 5. วิธีการดังในข้อถือสิทธิ 21 ซึ่งอนุภาคเมทริกซ์คือ ซับสโตยคิโอเมตริคไททาเนียมออกไซด์ และอนุภาคพลาตินัมมี อยู่เป็น 1 ถึง 3 เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนักของชั้น 2 6. วิธีการดังในข้อถือสิทธิ 21 ที่ซึ่งอนุภาคเมทริกซ์มี ขนาดใหญ่กว่าอนุภาคกลุ่มพลาตินัมเป็น 20 ถึง 50 เท่า 2 7. วิธีการดังในข้อถือสิทธิ 21 ที่ซึ่งอนุภาคเมทริกซ์คือ อนุภาคเหล็กออกไซด์และอนุภาคตัวเร่งปฏิกิริยาไฟฟ้า คือ อนุภาคโลหะพลาตินัม 2 8. วิธีการดังในข้อถือสิทธิ 21 ที่ซึ่งอนุภาคเมทริกซ์ คือ อนุภาคสารแมกเนไตท์ 2 9. วิธีการดังในข้อถือสิทธิ 21 ที่ซึ่งชั้นดังกล่าวมี ชั้นอนุภาคสารต้านทานเชิงกลอยู่ 5 ถึง 50 เปอร์เซ็นต์โดย น้ำหนัก 3 0. วิธีการดังในข้อถือสิทธิ 21 ที่ซึ่งอนุภาคที่ว่องไวใน ทางเป็นตัวเร่งปฏิกิริยาไฟฟ้านอนุภาคเมทริกซ์กระจายอยู่ใน ชั้นในลักาณะซึ่งปริมาณของสารเร่งปฏิกิริยาไฟฟ้าเพิ่มขึ้น จากด้านในของชั้นสู่ด้านนอกของชั้น 3
1. ขั้วไฟฟ้าดังใสข้อถือสิทธิ 1 ที่ซึ่งอนุภาคเมทริกซ์ เลือกจากกลุ่มที่ประกอบด้วย ออกไซด์ และคาร์ไบต์ของโลหะ กลุ่มเหล็ก และอนุภาคตัวเร่งปฏิกิริยาไฟฟ้า คืออนุภาคโลหะ กลุ่มพลาตินัม และฐานทำขึ้นจากโลหะกลุ่มเหล็ก หรืออัลลอย 3
2. ขั้วไฟฟ้าดังในข้อถือสิทธิ 31 ที่ซึ่งอนุภาคเมทริกซ์ เลือกจากกลุ่มที่ประกอบด้วย นิคเกิลออกไซด์ นิคเกลคาร์ไบด์ โคบอลท์ออกไซด์ และโคบอลท์คาร์ไบด์และฐานทำขึ้นจากเหล็ก กล้า (ข้อถือสิทธิ 32 ข้อ, 4 หน้า, 1 รูป)
TH8201000038A 1982-02-19 ขั้วไฟฟ้า TH699B (th)

Publications (3)

Publication Number Publication Date
TH614EX TH614EX (th) 1982-10-08
TH614A true TH614A (th) 1982-10-08
TH699B TH699B (th) 1987-10-27

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
EP0026994B1 (en) Carbon-cloth-based electrocatalytic gas diffusion electrodes, assembly and electrochemical cells comprising the same
KR830009267A (ko) 복합전극
US4290859A (en) Process for preparing electrode
JP4327489B2 (ja) 燃料電池用金属製セパレータおよびその製造方法
EP0355853A3 (en) Supported platinum alloy electrocatalyst
EP0386764A3 (en) Platinum alloy electrocatalyst
EP1145349B1 (en) Method of carrying out electrochemical reactions with an electrocatalyst
GB2048306A (en) Moving bed electrolyses
US3793165A (en) Method of electrodeposition using catalyzed hydrogen
CN1149633A (zh) 新型析氢反应电极的制备
TH614A (th) ขั้วไฟฟ้า
IE43634B1 (en) Diaphragmless electrochemical cell
TH699B (th) ขั้วไฟฟ้า
AU685581B2 (en) Process for producing a hardened lead battery electrode
Lee Hydrogen overpotential on zinc alloys in alkaline solution
CN100477044C (zh) 银、镍、稀土氧化物和碳组成的触头及其生产方法
US4584065A (en) Activated electrodes
US884930A (en) Electrode for reversible galvanic batteries.
US20090145781A1 (en) Method of treating nanoparticles using a proton exchange membrane and liquid electrolyte cell
US20030027035A1 (en) PEM fuel cell and process for producing an anode for such a PEM fuel cell
JPS57192283A (en) Manufactre of ultrafine metal particle
Kim et al. The deterioration behavior of a metal hydride electrode based on the V0. 66Ti0. 22Ni0. 12 alloy
Li et al. Oxygen evolution behaviours of novel porous MnxSiy electrodes for metal electrowinning
DE2241369B2 (de) Elektrode für Bleiakkumulatoren
Wu et al. Electrochemical studies of redox systems for energy storage