TH4980A - การทำให้คอนกรีตที่จะต้องทิ้งใช้ได้อีก - Google Patents

การทำให้คอนกรีตที่จะต้องทิ้งใช้ได้อีก

Info

Publication number
TH4980A
TH4980A TH8701000526A TH8701000526A TH4980A TH 4980 A TH4980 A TH 4980A TH 8701000526 A TH8701000526 A TH 8701000526A TH 8701000526 A TH8701000526 A TH 8701000526A TH 4980 A TH4980 A TH 4980A
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
acid
methylene phosphonic
phosphonic acid
set out
concrete
Prior art date
Application number
TH8701000526A
Other languages
English (en)
Other versions
TH4980EX (th
TH10279B (th
Inventor
เอส. โบโบรว์สกี้ นายเกรกอรี่
ซี.เจ. กูว์เซีย นายเกรกอรี่
เอ. ลัพยัน นายเดวิด
ดี. คินเน่ย์ นายเฟรดเดอริค
Original Assignee
นายโรจน์วิทย์ เปเรร่า
นายธเนศ เปเรร่า
Filing date
Publication date
Application filed by นายโรจน์วิทย์ เปเรร่า, นายธเนศ เปเรร่า filed Critical นายโรจน์วิทย์ เปเรร่า
Publication of TH4980EX publication Critical patent/TH4980EX/th
Publication of TH4980A publication Critical patent/TH4980A/th
Publication of TH10279B publication Critical patent/TH10279B/th

Links

Abstract

วิธีการสำหรับทำให้คอนกรีตผสมแล้วที่ยังไม่ได้ใช้กลับใช้ได้อีก ซึ่งประกอบด้วยขั้นตอนของ 1) ก่อนที่คอนกรีตจะแข็งตัว มีการเติมสารยับยั้งการแข็งตัวในปริมาณที่เพียงพอที่จะยับยั้งปฏิกิริยาการดูดน้ำต่อไปได้อีกช่วงเวลาหนึ่ง ซึ่งอาจนานถึง 90 ชั่วโมง 2) เมื่อสิ้นสุดช่วงเวลายับยั้งการแข็งตัวที่ต้องการแล้วมีการเติมสารเร่งการแข็งตัวลงไปยังคอนกรีตที่ถูกยับยั้งการแข็งตัวเพื่อให้กลับคืนสู่สภาพแข็งตัวได้อีก

Claims (7)

1. วิธีการสำหรับทำให้คอนกรีตผสมแล้วที่ยังไม่ได้ใช้กลับใช้ได้อีก ซึ่งประกอบด้วยขั้นตอนของ 1) ก่อนที่คอนกรีตจะแข็งตัว มีการเติมสารยับยั้งการแข็งตัวในปริมาณที่เพียงพอที่จะยังยั้งปฏิกิริยาการดูดน้ำต่อไปได้อีกช่วงเวลาหนึ่ง ซึ่งอาจนานถึง 90 ชั่วโมง 2) เมื่อสิ้นสุดช่วงเวลายับยั้งการแข็งตัวที่ต้องการแล้ว เติมสารเร่งการแข็งตัวลงไปยังคอนกรีตที่ถูกยับยั้งการแข็งตัว เพื่อให้กลับคืนสภาพแข็งตัวได้อีก 2. วิธีการตามที่ได้กำหนดไว้ในข้อถือสิทธิที่ 1 ซึ่งมีการทำให้คอนกรีตที่ถูกยังยั้งการแข็งตัวเจือจางด้วยคอนกรีตใหม่ก่อนที่จะเติมสารเร่งการแข็งตัว 3. วิธีการตามที่ได้กำหนดไว้ในข้อถือสิทธิที่ 1 หรือ 2 ซึ่งสารยับยั้งการแข็งตัวประกอบด้วยอนุพันธ์ของกรดฟอสโฟนิคอย่างน้อยหนึ่งชนิด 4. วิธีการตามที่ได้กำหนดไว้ในข้อถือสิทธิที่ 3 ซึ่งสารยับยั้งการแข็งตัวดังกล่าวประกอบด้วย สารอย่างน้อย หนึ่งชนิดที่เลือกได้จาก อมิโนไตร (เมทธิลลีนฟอสโฟนิคแอซิด) เกลือเพนตาโซเดียมของอมิโนไตร (เมทธิลลีนฟอสโฟนิคแอซิด)1-ไฮดรอกซีเอทธิลิดีน - 1,1-ไดฟอสโฟนิคแอซิด เกลือเตตราโซเดียมของ 1-ไฮดรอกซีเอทธิลลิดีน-1,1-ไดฟอสโฟนิคแอซิด เอทธิลลีนไดอามีนเตตรา (เมทธิลลีนฟอสโฟนิคแอซิด) เกลือแคลเซียมโซเดียมของ เอทธิลลีนไดอามีนเตตรา (เมทธิลลีนฟอสโฟนิคแอซิด) เฮกซาเมทธิลลีนไดอามีนเตตรา(เมทธิลลีนฟอสโฟนิคแอซิด) เกลือโปแตสเซียมของเฮกซาเมทธิลลีนไดอามีนเตตรา(เมทธิลลีนฟอสโฟนิคแอซิด) ไดเอทธิลลีนไตรอามีนเพนตา (เมทธิลลีนฟอสโฟนิคแอซิด)เกลือโซเดียมของไดเอทธิลลีนไตรอามีนเพนตา (เมทธิลลีนฟอสโฟนิคแอซิด) 5. วิธีการตามที่กำหนดไว้ในข้อถือสิทธิข้อหนึ่งข้อใดในข้อถือสิทธิที่แล้วมา ซึ่งสารยับยั้งการแข็งตัวดังกล่าวประกอบด้วยสารอย่างน้อยหนึ่งชนิดที่เลือกได้จาก กรดไฮดรอกซีคาร์บอกซิลิค หรือโพลีคาร์บอกซิลิค และเกลือของสารเหล่านี้กรดแอสคอบิค และกรดไอโซแอสคอบิค โคโพลีเมอร์ของกรดซัลโฟนิค-กรดอาคริลลิค โพลีไฮดรอกซีไซเลน โพลีอาคริลลามีด คาร์โบไฮเดรท และลิกโนซัลโฟเนท 6. วิธีการตามที่กำหนดไว้ในข้อถือสิทธิที่ 5 ซึ่งสารยับยั้งการแข็งตัวดังกล่าว ประกอบด้วยสารอย่างน้อยหนึ่งชนิดที่เลือกได้จาก กรดไฮดรอกซีคาร์บอกซิลิค กรดโพลีคาร์บอกซิลิค กรดกรดไอโซแอสคอบิคและโพลีไฮดรอกซีไซเลน 7. วิธีการตามที่กำหนดไว้ในข้อถือสิทธิข้อหนึ่งข้อใดในข้อถือสิทธิที่แล้วมา ซึ่งสารยับยั้งการแข็งตัวดังกล่าวประกอบด้วย - สารอย่างน้อยหนึ่งชนิดที่เลือกได้จากอนุพันธ์ของกรดฟอสโฟนิค และ - สารอย่างน้อยหนึ่งชนิดที่เลือกได้จาก กรดไฮดรอกซีคาร์บอกซิลิค หรือกรดโพลีคาร์บอกซิลิค และเกลือของสารเหล่านี้ กรดแอสคอบิค และกรดไอโซแอสคอบิ โคโพลีเมอร์ของกรดซัลโฟนิค - กรดอาคริลลิค โพลีไฮดรอกซิไซเลน โพลีอาคริลลามีด คาร์โบไฮเดรท และลิกโนซัลโฟเนท 8. วิธีการตามที่กำหนดไว้ในข้อถือสิทธิที่ 7 ซึ่งสารยับยั้งการแข็งตัวดังกล่าวประกอบด้วย - สารอย่างน้อยหนึ่งชนิดที่เลือกได้จาก อมิโนไตร (เมทธิลลีนฟอสโฟนิคแอซิด) เกลือเพนตาโซเดียมของอมิโนไตร (เมทธิลลีนฟอสโฟนิคแอซิด) เกลือเพนตาโซเดียมของอมิโนไตร (เมทธิลลีนฟอสโฟนิคแอซิด) 1-ไฮดรอกซีเอทธิลลีนดีน-1,1-ไดฟอสโฟนิคแอซิด เกลือเตตราโซเดียมของ 1-ไฮดรอกซีเอทธิลลิดีน-1,1-ไดฟอสโฟนิคแอซิดเอทธิลลีนไดอามีนเตตรา (เมทธิลลีนฟอสโฟนิคแอซิด) เกลือแคลเซียมโซเดียมของเอทธิลลีนไดอามีนเตตรา (เมทธิลลีนฟอสโฟนิคแอซิด) เฮกซาเมทธิลลีนไดอามีนเตตรา (เมทธิลลีนฟอสโฟนิคแอซิด) เกลือโปแตสเซียมของเฮกซาเมทธิลลีนไดอามีนเตตรา (เมทธิลฟอสโฟนิคแอซิด) ไดเอทธิลลีนไตรอามีนเพนตา (เมทธิลลีนฟอสโฟนิคแอซิด) เกลือโซเดียมของไดเอท ธิลลีนไตรอามีนเพนตา (เมทธิลลีนฟอสโฟนิคแอซิด) และ - กรดซิตริค 9. วิธีการตามที่กำหนดไว้ในข้อถือสิทธิที่ 8 ซึ่งสารยับยั้งการแข็งตัวดังกล่าวประกอบด้วย อมิไนโตร (เมทธิลลีนฟอสโฟนิคแอซิด) และกรดซิตริค 1 0. วิธีการตามที่กำหนดไว้ในข้อถือสิทธิที่ 9 ซึ่งสัดส่วนของอมิไนโตร (เมทธิลลีนฟอสโฟนิคแอซิด) ต่อกรดซิตริคอยู่ในช่วงตั้งแต่ 1:1 ถึง 2:1 1
1. วิธีการตามที่กำหนดไว้ในข้อถือสิทธิข้อหนึ่งข้อใดในข้อถือสิทธิที่แล้วมา ซึ่งสารเร่งการแข็งตัวดังกล่าวประกอบด้วยสารอย่างน้อยหนึ่งชนิดเลือกได้จากเกลือแคลเซียมไธโอไซยาเนท ไตรเอทธานอลลามีนและไกลคอลยูริล 1
2. วิธีการตามที่กำหนดไว้ในข้อถือสิทธิที่ 11 ซึ่งสารเร่งการแข็งตัวดังกล่าวประกอบด้วยของผสมของแคลเซียมไนเตรท โซเดียมไธโอไซยาเนท ไตรเอทธานอลลามีน และไตรเมทธิลลอลไกลคอลยูริล 1
3. วิธีการตามที่กำหนดไว้ในข้อถือสิทธิข้อหนึ่งข้อใดในข้อถือสิทธิที่แล้วมา ซึ่งมีการเติมสารเพิ่มความแข็งแรงประเภทสารลดน้ำร่วมไปกับสารเร่งการแข็งตัว 1
4. วิธีการตามที่กำหนดไว้ในข้อถือสิทธิที่ 13 ซึ่งสารเพิ่มความแข็งแรงประเภทสารลดน้ำนั้น คืออนุพันธุ์ของลิกโนซัลโฟเนท 1
5. วิธีการตามที่กำหนดไว้ในข้อถือสิทธิที่ 2 ซึ่งปริมาณของคอนกรีตที่นำกลับมาใช้อยู่ในช่วงตั้งแต่ 10 เปอร์เซ็นต์ถึง 50 เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนักของคอนกรีตผสมทั้งหมด 1
6. วิธีการตามที่กำหนดไว้ในข้อถือสิทธิข้อหนึ่งข้อใดในข้อถือสิทธิที่แล้วมา ซึ่งมีการเติมสารยับยั้งการแข็งตัวดังกล่าว หลังจากผสมคอนกรีตในครั้งแรกไปแล้ว 1 ถึง 4 ชั่วโมง 1
7. คอนกรีตที่ผ่านกรรมวิธีตามที่กำหนดไว้ในวิธีการของข้อถือสิทธิข้อหนึ่งข้อใดตั้งแต่ข้อถือสิทธิที่ 1 ถึง 16
TH8701000526A 1987-08-25 การทำให้คอนกรีตที่จะต้องทิ้งใช้ได้อีก TH10279B (th)

Publications (3)

Publication Number Publication Date
TH4980EX TH4980EX (th) 1988-07-01
TH4980A true TH4980A (th) 1988-07-01
TH10279B TH10279B (th) 2001-04-04

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
US4264367A (en) Admixtures and method for accelerating the setting of portland cement compositions
CA1315960C (en) Reclaiming of waste concrete
JP4037543B2 (ja) 速硬、高初期強度バインダー
US3427175A (en) Accelerator for portland cement
US5340385A (en) Hydraulic cement set-accelerating admixtures incorporating glycols
KR930007849A (ko) 미경화 시멘트 조성물의 매축방법
US4264368A (en) Admixtures and method for accelerating the setting of portland cement compositions
KR840001527A (ko) 수성 시멘트 혼합물에 대한 첨가제
ES8602559A1 (es) Procedimiento para acelerar el endurecimiento en mezclas de cementos hidraulicos
JPH0848553A (ja) 無機バインダーを含む材料の凝結及び硬化の促進方法並びに凝結及び硬化の促進剤
PL81259B1 (th)
WO1981003019A1 (en) Improved very high early strength cement
TH4980A (th) การทำให้คอนกรีตที่จะต้องทิ้งใช้ได้อีก
WO1981003018A1 (en) Improved very high early strength cement
CA1078415A (en) Admixtures and method for accelerating the setting of portland cement compositions
TH10279B (th) การทำให้คอนกรีตที่จะต้องทิ้งใช้ได้อีก
CA1071244A (en) Admixtures and method for accelerating the setting of portland cement compositions
JPS6233049B2 (th)
KR20050085409A (ko) 석고계 요소의 침하를 감소시키는 방법, 석고계 조성물 및감소된 침하를 갖는 석고계 요소를 제조하기 위한 방법
SU872489A1 (ru) Комплексна добавка дл бетонной и растворной смеси на основе цемента
US2607428A (en) Sealing composition and method for temporarily sealing oil wells
CN108947300A (zh) 一种缓凝组分和包含该缓凝组分的混凝土搅拌物
JP4069527B2 (ja) セメント系地盤改良材
RU2158248C1 (ru) Комплексная добавка
SU563383A1 (ru) Комплексна добавка дл цементобетонных смесей