TH43081A3 - ตัวตรวจจับแผ่นกระดาษที่ซ้อนกันสองชั้นสำหรับเครื่องทำรายการอัตโนมัติ - Google Patents

ตัวตรวจจับแผ่นกระดาษที่ซ้อนกันสองชั้นสำหรับเครื่องทำรายการอัตโนมัติ

Info

Publication number
TH43081A3
TH43081A3 TH9901004035A TH9901004035A TH43081A3 TH 43081 A3 TH43081 A3 TH 43081A3 TH 9901004035 A TH9901004035 A TH 9901004035A TH 9901004035 A TH9901004035 A TH 9901004035A TH 43081 A3 TH43081 A3 TH 43081A3
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
radiation
detector
signal
thin
thin sheet
Prior art date
Application number
TH9901004035A
Other languages
English (en)
Other versions
TH21108C3 (th
Inventor
มา นายซองทาโอ
เจ. ยิคลีย์ นายอเล็กซานเดอร์
แอล. ลาสโคว์สกี นายเอ็ดเวิร์ด
Original Assignee
นายโรจน์วิทย์ เปเรร่า
นายธเนศ เปเรร่า
Filing date
Publication date
Application filed by นายโรจน์วิทย์ เปเรร่า, นายธเนศ เปเรร่า filed Critical นายโรจน์วิทย์ เปเรร่า
Publication of TH43081A3 publication Critical patent/TH43081A3/th
Publication of TH21108C3 publication Critical patent/TH21108C3/th

Links

Abstract

DC60 (02/12/42) เครื่องทำรายการอัตโนมัติ จะมีส่วนที่เป็นอุปกรณ์สำหรับแยกลักษณะระหว่างแผ่น บางแผ่นเดียวและแผ่นบางหลายแผ่นในเส้นทางของแผ่นบาง อุปกรณ์จะมีส่วนที่เป็นตัวยิง รังสี (14, 34) และเครื่องตรวจจับรังสี (20, 40, 42) ตัวยิงรังสีจะถูกใช้งานในการรังสีที่ช่วง ห่างตามระยะรอบ ตัวปรับสภาพสัญญาณ (50) จะรับสัญญาณจากเครื่องตรวจจับรังสี และให้กำเนิดสัญญาณออกที่ตอบสนองต่อความเข้มของรังสีที่ถูกตรวจจับโดยตัวตรวจจับใน ระหว่างช่งห่างตามระยะรอบเท่านั้น สัญญาณออกจะถูกประกอบรวมถูกชั่งน้ำหนัก และ/หรือถูกเปรียบเทียบกับค่าระดับขีดกำหนด เพื่อแบ่งแยกแผ่นบางเดียวและแผ่นบาง หลายแผ่น อุปกรณ์จะให้ปฏิบัติการที่แน่นอนเชื่อถือได้ในสภาพแวดล้อมทางไฟฟ้าที่มี เสียงดัง และกับคุณสมบัติของแผ่นบางที่มีหลากหลายชนิด เครื่องทำรายการอัตโนมัติ จะมีส่วนที่เป็นอุปกรณ์สำรหับแยกลักษณะระหว่างแผน บางแผ่นเดียวและแผ่นบางหลายแผ่นในเส้นทางของแผ่นบาง อุปกรณ์จะมีส่วนที่เป็นตัวยิง รังสี (14,34)และเครื่องตรวจจับรังสี (20,40,42) ตัวยิงรังสีจะถูกใช้งานในการรังสีที่ช่วง ห่างตามระยะรอบ ตัวปรับสภาพสัญญาณ (50) จะรับสัญญาณจากเครื่องตรวจจับรังสี และให้กำเนิดสัญญาณออกที่ตอบสนองต่อความเข้มของรังสีที่ถูกตรวจจับโดยตัวตรวจจับใน ระหว่างช่งห่างตามระยะรอบเท่านั้น สัญญาณออกจะถูกประกอบรวมถูกชั่งน้ำหนัก และ/หรือถูกเปรียบเทียบกับค่าระดับขีดกำหนด เพื่อแบ่งแยกแผ่ยบางเดียวและแผ่นบาง หลายแผ่น อุปกรณ์จะให้ปฏิบัติการที่แน่นอนเชื่อถือได้ในสภาพแวดล้อมทางไฟฟ้าที่มี เสียงดัง และกับคุณสมบัติของแผ่นบางที่มีหลากหลายชนิด

Claims (7)

1.อุปกรณ์สำหรับแยกลักษณะแผ่นบางเดียวออกจากแผ่นบางหลายแผ่นในเส้นทางของ แผ่นบางที่มีส่วนประกบอดังต่อไปนี้ แหล่งกำเนิดรังสีที่หนึ่งถูกตั้งตำแหน่งบนด้านที่หนึ่งของเส้นทางของแผ่นบางซึ่ง แหล่งกำเนิดรังสีจะทำการยิงรังสี ในระหว่างช่วงห่างตามระยะรอบที่หนึ่งเท่านั้นและการยิงรังสีจาก แหล่งกำเนิดรังสีที่หนึ่งจะถูกกำหนดทิศทางให้ตกกระทบบนแผนบางในเส้นทางของแผ่นบาง ตัวตรวจจับที่หนึ่ง ซึ่งตัวตรวจจับที่หนึ่งจะถูกตั้งตำแหน่งให้ตรวจจัรังสีจากแหล่งกำเนิด รังสีที่หนึ่ง ซึ่งเป็นรังสีที่ถูกสะท้อนกลับหรือที่แผ่นทะลุแผ่นกระดาษในเส้นทางของแผ่นบาง อย่าง ใดอย่างหนึ่ง และตัวตรวจับที่หนึ่งจะอยู่ในสภาพปฏิบัติการเพื่อให้กำเนิดสัญญาณที่หนึ่งที่ ตอบสนองต่อการตรวจจับรังสี ตัวปรับสภาพสัญญาณที่หนึ่งในการเชื่อมต่อในทางปฏิบัติการกับสัญญษณที่หนึ่ง ซึ่งตัว ปรับสภาพสัญญารที่หนึ่งจะอยู่ในสภาพปฏิบัติการเพื่อให้กำเนิดสัญญาณออกที่หนึ่งที่ตองสนอง ต่อสัญญาณที่หนึ่งที่ถูกให้กำเนิดในระหว่างช่วงห่างตามระยะรอบที่หนึ่งเท่านั้นอย่างแท้จริง วงจรเปรียบเทียบในการเชื่อมต่อในทางปฏิบัติการกับตัวปรับสภาพสัญญาณที่หนึ่ง ซึ่ง วงจรเปรียบเทียบจะอยู่ในสภาพปฏิบัติการเพื่อเปรียบเยบค่าตรวจจับที่หนึ่งกับค่าระดับขีด กำหนด ซึ่งความสัมพันธ์ของค่าที่ถูกตรวจจับและค่าระดับขีดกำหนดจะแปรผันโดยตอบสนองกับ สัญญาณออกที่หนึ่ง โดยที่ความสัมพันธ์ของค่าที่ถูกตรวจจับกับค่าระดับขีดกำหนดจะบ่งบอกว่า แผนบางที่ถูกตรวจจับเป็นแผนบางเดียวหรือหลายแผ่น 2. อุปกรณ์ตามข้อถือสิทธิ 1 และซึ่งยังคงประกอบด้วย ตัวตรวจจับที่สอง ซึ่งตัวตรวจจับที่สองจะถูกตั้งตำแนห่งบนด้านตรงข้ามกับตัวตรวจจับที่ หนึ่งของเส้นทางของแผ่นบาง ซึ่งตัวตรวจจับที่สองจะถูกตั้งตำแหน่งให้ตรวจจับรังสีจาก แหล่งกำเนิดรังสีที่หนึ่ง ซึ่งถูกสะท้อนกลับหรือผ่านทะลุแผ่นบางในเส้นทางของแผ่นบาง และตัว ตรวจจับที่สองจะอยู่ในสภาพปฏิบัติการเพื่อให้กำเนิดสัญญาณที่สองที่ตอบสนองต่อการตรวจจับ รังสี ตัวปรับสภาพสัญญาณที่สองในการเชื่อมต่อในทางปฏิบัติการกับสัญญาณที่สอง ซึ่งตัว ปรับสภาพสัญญาณที่สองจะอยู่ในสภาพปฏิบัติการเพื่อให้กำเนิดสัญญาณออกที่สองที่ตอบสนอง ต่อสัญญาณที่สองที่ถูกให้กำเนิด ในระหว่างช่วงห่างตามระยะรอบที่หนึ่งเท่านั้นอย่างแท้จริง ซึ่ง สัญญาณออกที่สองจะอยู่ในการเชื่อมต่อในทางปฏิบัติการกับวงจรเปรียบเทียบ และความสัมพันธ์ ของค่าที่ถูกตรวจจับกับค่าระดับขีดกำหนดยังคงจะแปรผัน ตามที่ตอบสนองต่อสัญญาณออกที่สอง 3. อุปกรณ์ตามข้อถือิสทธิ 2 และซึ่งยังคงประกอบด้วย อุปกรณ์ประกอบรวมในการ เชื่อมต่อในทางปฏิบัติการกับสัญญาณออกที่หนึ่งและที่สอง ซึ่งอุปกรณ์ประกอบรวมจะอยู่ในสภาพ ปฏิบัติการที่ตอบสนองกับสัญญาณออกที่หนึ่งและที่สองเพื่อให้กำเนิดค่าที่ถูกตรวจจับ 4. อุปกรณ์ตามข้อถือิสทธิ 3 และซึ่งยังคงประกอบด้วย หน่วยจัดเก็บข้อมูล ซึ่งหน่วย จัดเก็บข้ออ้มูลจะมีส่วนที่เป็นข้อมูลที่เป็นแบบฉบับของตัวประกอบในการให้น้ำหนัก และซึ่งอุปกรณ์ ประกอบรวมจะอยู่ในการเชือมต่อในทางปฏิบัติการกับหน่วยจัดเก็บข้อมูล และซึ่งอุปกรณ์ประกอบ รวมจะอยู่ในสภาพปฏิบัติการ เพื่อประยุกต์ใช้ตัวประกอบในการให้น้ำหนักแก่สัญญาณออกที่หนึ่ง และที่สองในการให้กำเนิดค่าที่ถูกตรวจจับ 5. อุปกรณ์ตามข้อถือิสทธิ 4 และซึ่งยังคงประกอบด้วย ตัวประมวลผลในการเชื่อมต่อ ในทางปฏิบัติการกับหน่วยจัดเก็บข้อมูลซึ่งมีข้อมูลที่ถูกจัดเก็บไว้ในนั้น และซึ่งตัวประมวลผลจะมี ส่วนที่เป็นอุปกรณ์ประกอบรวม และซึ่งตัวประกอบในการให้น้ำหนักที่ถูกประยุกต์ใช้ สัญญาณออก ที่หนึ่งและที่สองจะสอดคล้องกับข้อมูลที่ถูกจัดเก็บในหน่วยจัดเก็บข้อมูล 6. อุปกรณ์ตามข้อถือิสทธิ 2 และซึ่งยังคงประกอบด้วย แหล่งกำเนิดรังสีที่สอง ที่ถูกตั้งตำแหน่งบนด้านที่สองของเส้นทางของแผ่นบางจาก แหล่งกำเนิดรังสีที่หนึ่ง ซึ่งโดยทั่วไปด้านที่สองจะถูกทำให้หันหน้าชนกับด้านที่หนึ่ง และซึ่ง แหล่งกำเนิดรังสีที่สองจะยิงรังสี ในระหว่างช่วงห่างตามระยะรอบที่สองเท่านั้น ที่ไม่สองคล้องกับ ช่วงห่างตามระยะรอบที่หนึ่ง อย่างแท้จริง ซึ่งรังสีจากแหล่งกำเนิดการแผ่รังสีที่สองจะถูกกำหนด ทิศทางให้ตกกระทบบนแผ่นบางในเส้นทางของแผ่นบาง ซึ่งตัวตรวจจับที่สองจะอยู่บนด้านที่สอง ของเส้นทางของแผ่นบาง ตัวปรับสภาพสัญญาณที่สามในการเชื่อมต่อในทางปฏิบัติการกับสัญญาณที่สอง ซึ่งตัว ปรับสภาพสัญญาณที่สองจะอยู่ในสภาพปฏิบัติการ เพื่อให้กำเนิดสัญญาณออกที่สาม ที่ตอบสนอง ต่อสัญญาณที่สองที่ถูกให้กำเนิด ในระหว่างช่วงห่างตามระยะรอบที่สองเท่าอย่างแท้จริง เท่านั้น และ ซึ่งสัญญาณออกที่สามจะอยู่ในการเชื่อมต่อในทางปฏิบัติการกับวงจรเปรียบเทียบ ซึ่ง ความสัมพันธ์ของค่าที่ถูกตรวจจับกับค่าระดับขีดกำหนดจะแปรผัน ตามที่ตอบสนองต่อสัญญาณ ออกที่สาม 7. วิธีการใช้งานอุปกรณ์ที่ถูกบรรยายในข้อถือสิทธิ 6 ที่ประกอบด้วยขั้นตอนดังต่อไปนี้ (a) การยิงรังสีจากแหล่งกำเนิดรังสีที่หนึ่ง ในระหว่างช่วงระยะเวลาที่หนึ่ง (b) การตรวจจับรังสีด้วยตัวตรวจจับที่หนึ่งจากแหล่งกำเนิดรังสีที่หนึ่ง ซึ่งถูกสะท้อนกลับ หรือผ่าน ทะลุแผ่นบางในเส้นทางของผ่านบางไปที่ตัวตรวจจับที่หนึ่ง โดยตัวตรวจจับที่หนึ่งจะให้ กำเนิดสัญญาณที่หนึ่งที่ตอบสนองต่อรังสีที่ถูกตรวจจับ (c) การตรวจจับรังสีด้วยตัวตรวจจับที่สองจากแหล่งกำเนิดรังสีที่หนึ่ง ซึ่งถูกสะท้อนกลับ หรือผ่าน ทะลุแผ่นกระดาษในเส้นทางของผ่านกระดาษไปยังตัวตรวจจับที่สอง โดยตัวตรวจจับที่ สองจะให้กำเนิดสัญญาณที่หนึ่งที่ตอบสนองต่อรังสีที่ถูกตรวจจับ (d) การให้กำเนิดสัญญาณออกที่หนึ่งด้วยเครื่องปรับสภาพสัญญาณที่หนึ่งโดยประกอบ รวมในการคำนวณของสัญญาณออกที่หนึ่ง ด้วยค่าที่หนึ่งที่สอดคล้องกับขนาดของสัญญาณที่หนึ่ง ที่ถูกให้กำเนิด ในระหว่างช่วงระยะเวลาที่หนึ่งเท่านั้น อย่างแท้จริง (e) การให้กำเนิดสัญญาณออกที่หนึ่งด้วยเครื่องปรับสภาพสัญญาณที่หนึ่งโดยประกอบ รวมในการคำนวณของสัญญาณออกที่สอง ด้วยค่าที่หนึ่งที่สอดคล้องกับขนาดของสัญญาณที่สองที่ ถูกให้กำเนิด ในระหว่างช่วงระยะเวลาที่หนึ่งเท่านั้น อย่างแท้จริง (f) การยิงรังสีจากแหล่งกำเนิดรังสีที่หนึ่ง ในระหว่างช่วยระยะเวลาที่สอง (g) การตรวจจับรังสีด้วยตัวตรวจจับที่สองจากแหล่งกำเนิดรังสีที่สองที่ถูกสะท้อนจากแผ่น บางในเส้นทางของผ่านบางไปยังตัวตรวจจับที่สอง (h) การให้กำเนิดสัญญาณออกที่สามด้วยเครื่องปรับสภาพสัญญาณที่สามโดยประกอบ รวมในการคำนวณของสัญญาณออกที่สามด้วยค่าที่สามที่สอดคล้องกับขนาดของสัญญาณที่สองที่ ถูกให้กำเนิด ในระหว่างช่วงระยะเวลาที่สองเท่านั้น อย่างแท้จริง (i) การแปรผันความสัมผันธ์ของค่าที่ถูกตรวจจับที่สัมพันธ์กับค่าระดับขีดกำหนดที่ ตอบสนองกับสัญญาณออกที่หนึ่ง ที่สอง และที่สาม (j) การเปรียบเทียบความสัมพันธ์ของค่าที่ถูกตรวจับ และค่าระดับขีดกำหนดด้วย อุปกรณ์เปรียบเทียบ 8. วิธีการใช้งานอุปกรณ์ที่ถูกบรรยายในข้อถือสิทธิ 2 ที่ประกอบด้วยขั้นตอนดังต่อไปนี้ (a) การยิงรังสีจากแหล่งกำเนิดรังสีที่หนึ่ง ในระหว่างช่วงระยะเวลาที่หนึ่ง (b) การตรวจจับรังสีด้วยตัวตรวจจับที่หนึ่งจากแหล่งกำเนิดรังสีที่หนึ่ง ซึ่งถูกสะท้อนกลับ หรือผ่าน ทะลุแผ่นบางในเส้นทางของผ่านบาง ไปยังตัวตรวจจับที่หนึ่ง โดยตัวตรวจจับที่หนึ่ง จะ ให้กำเนิดสัญญาณที่หนึ่งที่ตอบสนองต่อรังสีที่ถูกตรวจจับ (c) การตรวจจับรังสีด้วยตัวตรวจจับที่หนึ่งจากแหล่งกำเนิดรังสีที่หนึ่ง ซึ่งถูกสะท้อนกลับ หรือผ่าน ทะลุแผ่นชีดในเส้นทางของผ่านกระดาษไปยังตัวตรวจจับที่สอง โดยตัวตรวจจับที่สองจะ ให้กำเนิดสัญญาณที่สองที่ตอบสนองต่อรังสีที่ถูกตรวจจับ (d) การให้กำเนิดสัญญาณออกที่หนึ่งด้วยเครื่องปรับสภาพสัญญาณที่หนึ่งโดยประกอบ รวมในการคำนวณของสัญญาณออกที่หนึ่ง ด้วยค่าที่หนึ่งที่สอดคล้องกับขนาดของสัญญาณที่หนึ่ง ที่ถูกให้กำเนิด ในระหว่างช่วงระยะเวลาที่หนึ่งเท่านั้น อย่างแท้จริง (e) การให้กำเนิดสัญญาณออกที่หนึ่งด้วยเครื่องปรับสภาพสัญญาณที่หนึ่งโดยประกอบรวมใน การคำนวณของสัญญาณออกที่สอง ด้วยค่าที่สองที่สอดคล้องกับขนาดของสัญญาณที่สองที่ถูกให้ กำเนิด ในระหว่างช่วงระยะเวลาที่หนึ่งเท่านั้น อย่างแท้จริง (f) การแปรผันความสัมพันธ์ของค่าตรวจจับที่หนึ่งและค่าระดับขีดกำหนด ที่ตอบสนองกับ สัญญาณออกที่หนึ่ง และสัญญาณออกที่สอง (g) การเปรียบเทียบความสัมพันธ์ของค่าที่ถูกตรวจจับและค่าระดับขีดกำหนดด้วย อุปกรณ์เปรียบเทียบ 9. วิธีการตามข้อถือสิทธิ 8 ซึ่งขั้นตอน (f) จะมีส่วนที่เป็นการประยุกต์ใช้ตัวประกอบใน การถ่วงน้ำหนักที่แตกต่างกันกับสัญญาณออกที่หนึ่งและที่สอง และแปรผันตามสัมพันธ์ของค่าที่ ถูกตรวจจับและค่าระดับขีดกำหนด 1 0. อุปกรณ์ตามข้อถือสิทธิ 1 และซึ่งยังคงประกอบด้วยตัวประมวลผล ซึ่งตัวประมวลผล จะมีที่เป็นวงจรเปรียบเทียบ 1 1. อุปกรณ์ที่ถูกบรรยายในวิธีการใช้งานข้อถือสิทธิ 1 ซึ่งประกอบด้วยขั้นตอนต่อไปนี้ (a) การยิงรังสีจากแหล่งกำเนิดรังสีที่หนึ่ง ในระหว่างช่วงระยะเวลาที่หนึ่ง (b) การตรวจจับรังสีด้วยตัวตรวจจับที่หนึ่งจากแหล่งกำเนิดรังสีที่หนึ่ง ซึ่งถูกสะท้อนกลับ หรือผ่าน ทะลุแผ่นบางในเส้นทางของผ่านบาง ไปที่ตัวตรวจจับที่หนึ่ง โดยตัวตรวจจับที่หนึ่ง จะ ให้กำเนิดสัญญาณที่หนึ่งที่ตอบสนองต่อรังสีที่ถูกตรวจจับ (c) การให้กำเนิดสัญญาณออกที่หนึ่งด้วยเครื่องปรับสภาพสัญญาณที่หนึ่งโดยการ ประกอบรวมในการคำนวณของสัญญาณออกที่หนึ่ง ด้วยค่าที่หนึ่งที่สอดคล้องกับขนาดของ สัญญาณที่หนึ่ง ในระหว่างช่วงระยะเวลาที่หนึ่งเท่านั้น อย่างแท้จริง (d) การแปรผันความสัมพันธ์ของค่าที่ถูกตรวจจับและค่าระดับขีดกำหนด ที่ตอบสนองกับ สัญญาณออกที่หนึ่ง (e) การเปรียบเทียบความสัมพันธ์ของค่าที่ถูกตรวจจับและค่าระดับขีดกำหนดด้วย อุปกรณ์เปรียบเทียบ 1 2. วิธีการตามข้อถือสิทธิ 11 ซึ่งในขั้นตอน (C) การคำนวณที่หนึ่งจะมีส่วนที่เป็นการอินทิ เกรด ค่าที่หนึ่ง เหนือช่วงเวลาที่หนึ่ง 1 3. วิธีการตามข้อถือสิทธิ 12 และซึ่งยังคงประกอบด้วยขั้นตอนต่อไปนี้ การเลื่อนแผ่นบางในเส้นทางของแผ่นบาง และ การเล็งทิศทางจากรังสีจากแผ่นบางไปยังตัวตรวจจับที่หนึ่ง ในระหว่างช่วงเวลาที่หนึ่ง อย่างแท้จริง 1 4. อุปกรณ์สำหรับแยกลักษณะแผ่นบางเดียวออกจากแผ่นบางหลายแผ่นในเส้นทางของ แผ่นบางที่มีส่วนประกอบดังต่อไปนี้ แหล่งกำเนิดรังสีที่หนึ่งที่ถูกตั้งตำแหน่งบนด้านที่หนึ่งของเส้นทางของแผ่นบาง ซึ่ง แหล่งกำเนิดรังสีจะทำการยิงรังสีในระหว่างช่วงห่างตามระยะรอบที่หนึ่งเท่านั้น และการยิงรังสี จากแหล่งกำเนิดรังสีที่หนึ่งจะถูกกำหนดทิศทางให้ตกกระทบบนแผ่นบางในเส้นทางของแผ่นบาง ตัวตรวจจับที่หนึ่ง ซึ่งตัวตรวจจับที่หนึ่งจะถูกตั้งตำแหน่งให้ตรวจจัรังสีจากแหล่งกำเนิด รังสีที่หนึ่งซึ่งเป็นรังสีที่ถูกสะท้อนกลับหรือที่ผ่านทะลุแผ่นบางในเส้นทางของแผ่นบางอย่างใด อย่างหนึ่ง และซึ่งตัวตรวจับที่หนึ่งจะอยู่ในสภาพปฏิบัติการเพื่อให้กำเนิดสัญญาณที่หนึ่งที่ ตอบสนองต่อการตรวจจับรังสี ตัวปรับสภาพสัญญาณที่หนึ่งในการเชื่อมต่อในทางปฏิบัติการกับสัญญาณที่หนึ่ง ซึ่งตัว ปรับสภาพสัญญาณที่หนึ่งจะอยู่สภาพกฏิบัติการเพื่อให้กำเนิดสัญญาณออกที่หนึ่งอย่างน้อย ที่สุดหนึ่งสัญญาณที่ตอบสนองต่อสัญญาณที่หนึ่งที่ถูกทำให้กำเนิดในระหว่างช่วงห่างตามระยะรอบที่ หนึ่งเท่านั้นอย่างแท้จริง และซึ่งตัวปรับสภาพัญญาณที่หนึ่งจะประกอบด้วยส่วนวงจรตัวสับที่ หนึ่งจะอยู่นสภาพปฏิบัติการเพื่อขยายสัญญาณที่หนึ่งในระหว่างช่วงห่างตามระยะรอบที่หนึ่ง เท่านั้นอย่างแท้จริง และทำให้สัญญาณที่หนึ่งน้อยลงที่เวลาอื่นทั้งหมดอย่างแท้จริง ซึ่งส่วนวงจร ตัวสับที่หนึ่งจะกำเนิดสัญญาณสับที่หนึ่ง และ วงจรเปรียบเทียบในการเชื่อมต่อในทางปฏิบัติการกับตัวปรับสภาพสัญญาณที่หนึ่ง ซึ่ง วงจรเปรียบเทียบจะอยู่ในสภาพปฏิบัติการเพื่อเปรียบเทียบค่าตรวจจับที่หนึ่งกับค่าระดับขีด กำหนด ซึ่งความสัมพันธ์ของค่าที่ถูกตรวจจับและค่าระดับขีดกำหนดจะแปรผันโดยตอบสนองกับ อย่างน้อยที่สุดหนึ่งสัญญาณออกที่หนึ่ง โดยที่ความสัมพันธ์ของค่าที่ถูกตรวจจับกับค่าระดับขีด กำหนดจะบ่งบอกว่าแผนบางที่ถูกตรวจจับเป็นแผนบางเดียวหรือหลายแผ่น 1 5. อุปกรณ์ตามข้อถือสิทธิ 14 ซึ่งตัวปรับสภาพสัญญาณที่หนึ่งยังคงประกอบด้วยส่วน วงจรอินทิเกรดเตอร์ที่หนึ่ง ซึ่งส่วนวงจรอินทิเกรเตอร์ที่หนึ่งจะอยู่ในสภาพปฏิบัติการเพื่อรวม สัญญาณตัวสับที่หนึ่งตลอดช่วงระยะเวลาที่หนึ่ง ซึ่งส่วนวงจรอินทิเกรเตอร์ที่หนึ่งจะสร้างสัญญาณ อินทิเกรเตอร์ที่หนึ่งที่สอดคล้องกับสัญญาณออกที่หนึ่ง 1 6. อุปกรณ์ตามข้อถือสิทธิ 15 และซึ่งยังคงประกอบด้วยการเคลื่อนขับแผ่นบางใน เส้นทางของแผ่นบาง ซึ่งการเคลื่อนแผ่นบางในเส้นทางของแผ่นบางจะยื่นต่อออกไประหว่างกลาง ของแหล่วงกำเนดรังสีที่หนึ่ง และตัวตรวจจับที่หนึ่งหรือตัวตรวจจับที่สองอย่างใดอย่างหนึ่งสำหรับ ช่วงระยะเวลาที่หนึ่งโดยทั่วไป 1 7. วิธีการประกอบด้วย (a) การยิงรังสีจากแหล่งกำเนิดรังสีที่หนึ่ง ในระหว่างช่วงระยะเวลาที่หนึ่งจำนวนหนึ่ง (b) การตรวจจับรังสีด้วยตัวตรวจจับที่หนึ่งจากแหล่งกำเนิดรังสีที่หนึ่ง ซึ่งถูกสะท้อนกลับ หรือผ่าน ทะลุแผ่นบางอย่างใดอย่างหนึ่งในเส้นทางของผ่านบางไปที่ตัวตรวจจับที่หนึ่ง (c) การให้กำเนิดสัญญาณออกที่หนึ่งด้วยตัวตรวจจับที่หนึ่งทีตอบสนองต่อรังสีที่ถูกตรวจจับ (d) การให้กำเนิดอย่างน้อยที่สุดหนึ่งสัญญาณออกที่หนึ่งที่ตอบสนองต่อสัญญาณที่หนึ่งที่ ถูกกำเนิดในระหว่างช่วงระยะเวลาที่หนึ่งเท่านั้นอย่างแท้จริง รวมถึงการขยายสัญญาณที่หนึ่งใน ระหว่างช่วงระยะเวลาที่หนึ่งเท่านั้นย่างแท้จริง และการทำให้น้อยลงแก่สัญญาณที่หนึ่งที่เวลาอื่น ทั้งหมดอย่างแท้จริง (e) การให้กำเนิดค่าที่ถูกตรวจจับที่ตอบสนองต่ออย่างน้อยที่สุดหนึ่งสัญญาณออกที่หนึ่ง (f) การเปรียบเทียบค่าที่ถูกตรวจจับ และค่าระดับขีดกำหนดซึ่งความสัมพันธ์ของค่าที่ถูก ตรวจจับ และค่าระดับขีดกำหนดจะแปรผันตอบสนองต่ออย่างน้อยที่สุดหนึ่งสัญญาณออกที่หนึ่ง และ (g) การกำหนดว่าแผ่นบางเป็นแผ่นบางเดียว หรือ หลายแผ่นหรือไม่ที่ตอบนองต่อการ เปรียบเทียบของค่าที่ถูกตรวจจับ และค่าระดับขีดกำหนด 1 8. วิธีการประกอบด้วย (a) การยิงรังสีจากแหล่งกำเนิดรังสีที่หนึ่งในระหว่างช่วงระยะเวลาที่หนึ่งจำนวนหนึ่ง (b) การตรวจจับรังสีด้วยตัวตรวจจับที่หนึ่งจากแหล่งกำเนิดรังสีที่หนึ่ง ซึ่งถูกสะท้อนกลับ โดยแผ่นบางในเส้นทางของผ่านบางไปที่ตัวตรวจจับที่หนึ่ง (c) การให้กำเนิดสัญญาณออกที่หนึ่งด้วยตัวตรวจจับที่หนึ่งที่ตอบสนองต่อรังสีที่ถูกตรวจจับ (d) การตรวจจับรังสีด้วยตัวตรวจจับที่สองจากแหล่งกำเนิดรังสีที่หนึ่งที่ถูกส่งผ่านทะลุแผ่น บางในเส้นทางของผ่านบางไปที่ตัวตรวจจับที่สอง (e) การให้กำเนิดสัญญาณที่สงอด้วยตัวตรวจจับที่สองที่ตอบสนองต่อรังสีที่ถูกตรวจจับ (f) การให้กำเนิดอย่างน้อยที่สุดหนึ่งสัญญาณออกที่หนึ่งที่ตอบสนองต่อสัญญาณที่หนึ่งที่ ถูกกำเนิดในระหว่างช่วงระยะเวลาที่หนึ่งเท่านั้นอย่างแท้จริง (g) การให้กำเนิดอย่างน้อยที่สุดหนึ่งสัญญาณออกที่สองที่ตอบสนองต่อสัญญาณที่สองที่ ถูกกำเนิดในระหว่างช่วงระยะเวลาที่หนึ่งเท่านั้นอย่างแท้จริง (h) การให้กำเนิดอย่างน้อยที่สุดหนึ่งค่าที่ถูกตรวจจับที่ตอบสนองต่อสัญญาณออกที่หนึ่ง และที่สอง (i) การเปรียบเทียบอย่างน้อยที่สุดหนึ่งค่าที่ถูกตรวจจับ และอย่างน้อยที่สุดหนึ่งค่าระดับ ขีดกำหนด ซึ่งความสัมพันธ์ของค่าที่ถูกตรวจจับ และค่าระดับขีดกำหนดจะแปรผันตอบสนองต่อ สัญญาณออกที่หนึ่ง และที่สอง และ (g) การกำหนดว่าแผ่นบางเป็นแผ่นบางเดียว หรือ หลายแผ่นหรือไม่ท่ตอบสนองต่อการ เปรียบเทียบของค่าที่ถูกตรวจจับ และค่าระดับขีดกำหนด 1 9. วิธีการตามข้อถือสิทธิ 18 ซึ่งขั้นตอน (h) รวมถึงการประยุกต์ใช้ตัวประกอบในการ ถ่วงน้ำหนักกับอย่างน้อยที่สุดหนึ่งในสัญญารออกที่หนึ่ง และที่สอง 2 0. วิธีการตามข้อถือสิทธิ 18 ซึ่งขั้นตอน (f) รวมถึงการขยายสัญญาณที่หนึ่งในระหว่าง ช่วงระยะเวลาที่หนึ่งเท่านั้นอย่างแท้จริง และการให้น้อยลงแก่สัญญาณที่หนึ่งในเวลาอื่นทั้งหมด อย่างแท้จริง และซึ่งขั้นตอน (g) รวมถึงการขยายสัญญาณที่สองในระหว่างช่วงเวลาที่หนึ่ง เท่านั้นอย่างแท้จริง และการทำให้น้อยลงแก่สัญาณที่สองในเวลาอื่นทั้งหมดอย่างแท้จริง 2 1. วิธีการตามข้อถือสิทธิ 18 ยังคงประกอบด้วย (k) การยิงรังสีจากแหล่งกำเนิดรังสีที่สองในระหว่างช่วงระยะเลาที่สอง่จำนวนหนึ่ง ซึ่ง แหล่งกำเนิดรังสีที่สองถูกตั้งตำแหน่งบนด้านที่สองของเส้น่ทางของแผนบางจากแหล่งกำเนิดรังสีที่ หนึ่ง ซึ่งด้านที่สองถูกหันตรงข้ามจากด้านที่หนึ่ง (l) การตรวจจับรังสีด้วยตัวตรวจจับที่สองจากแหล่งกำเนิดรังสีที่สองซึ่งถูกสะท้อนกลับโดย แผ่นบางในเส้นทางของผ่านบางไปที่ตัวตรวจจับที่สอง (m) การให้กำเนิดอย่างน้อยที่สุดหนึ่งสัญญาณออกที่สามที่ตอบสนองต่อสัญญาณที่สองที่ ถูกกำเนิดในระหว่างช่วงระยะเวลาที่หนึ่งเท่านั้นอย่างแท้จริง และ ซึ่งในขั้นตอน (h) ค่าที่ถูกตรวจจับถูกกำเนิดต่อไปที่ตอบสนองต่ออย่างน้อยที่สุดหนึ่ง สัญญาณออกที่สาม 2 2. อุปกรณ์ที่ปฏิบัติการเพื่อแยกลักษณะแผ่นบางเดียวออกจากแผ่นบางหลายแผ่นใน เส้นทางของแผ่นบางที่ประกอบด้วย อย่างน้อยที่สุดหนึ่งแหล่งกำเนิดรังสีที่หนึ่งที่ถูกตั้งตำแหน่งบนด้านที่หนึ่งของเส้นทางของ แผ่นบาง อย่างน้อยที่สุดหนึ่งตัวตรวจจับที่หนึ่งซึ่งถูกตั้งตำแหน่งให้ตรวจจับรังสีจากแหล่งกำเนิด รังสีที่เป็นอย่างนอยที่สุดหนึ่งรังสีที่ถูกสะท้อนกลับหรือทีผ่านทะลุแผ่นบางในเส้นทางของแผ่นบาง ซึ่งตัวตรวจจับจะสร้างอย่างที่สุดหนึ่งสัญญาณที่ตอบสนองต่อความหนาแน่นของรังสีที่ถูก ตรวจจับ วงจรที่ปฏิบัติการเชือมต่อกับอย่างน้อยที่สุดหนึ่งแหล่งกำเนิดรังสี และอย่างน้อยที่สุดหนึ่ง ตัวตรวจจับ ซึ่งวงจรจะปฏิบัติการเพื่อให้อย่างน้อยที่สุดหนึ่งแหล่งกำเนิดรังสียิงรังสีในระหว่างช่วง ระยะเวลาที่แยกจากกันเท่านั้นอย่างแท้จริง และขยายอย่างน้อยที่สุดหนึ่งสัญญาณจากอย่างน้อย ที่สุดหนึ่งตัวตรวจจับในระหว่างช่วงระยะเวลาที่หนึ่งเท่านั้นอย่างแท้จริง และทำให้น้อยลงแก่อย่าง น้อยที่สุดหนึ่งสัญญาณที่เวลาอื่นทั้งหมดอย่างแท้จริง และจัดให้มีอย่างน้อยที่สุดหนึ่งสัญญาณออก ที่บ่งบอกว่าแผ่นบางมีความหนาแผ่นบางเดียว หรือ หลายแผ่นบางหรือไม่ 2 3. วิธีการประกอบด้วย a) การให้กำเนิดรังสีด้วยอย่างน้อยที่สุดหนึ่งแหล่งกำเนิดรังสีในระหว่างช่วงระยะเวลาที่ แยกจากกันจำนวนหนึ่ง b) การตรวจจับความหนาแน่นของรังสีด้วยอย่างน้อยที่สุดหนึ่งตัวตรวจจับจากอย่างน้อย ที่สุดหนึ่งแหล่งกำเนิดรังสีที่อย่างน้อยที่สุดหนึ่งรังสีที่ถูกสะท้อนกลับ และที่ผ่านทะลุแผ่นบางใน เส้นทางของแผ่นบาง c) การกำหนดถ้าแผ่นบางมีความหนาแผ่นบางเดียว หรือ ความหนาแผ่นบางหลายแผ่น โดยการขยายสัญญาณที่สอดคล้องอกับความหนาแน่นของรังสีที่ถูกตรวจจับโดยอย่างน้อยที่สุดหนึ่ง ตัวตรวจจับในระหว่างช่วงระยะเวลาที่หนึ่งเท่านั้นอย่างแท้จริง ในขณะที่การทำให้สัญญาณน้อยลง ที่เวลาอื่นทั้งหมดอย่างแท้จริง 2 4. วิธีการตามข้อถือสิทธิ 23 ซึ่งในขั้นตอน (b) อย่างน้อยที่สุดหนึ่งตัวตรวจจับตรวจจับ รังสีที่ถูกส่งผ่านทะลุ และสะท้อนจากแผ่นบาง 2 5. วิธีการตามข้อถือสิทธิ 24 ซึ่งในขั้นตอน (c) รวมถึงการวมอย่างน้อยที่สุดหนี่งค่าที่ หนึ่ง และอย่างน้อยทีสุดหนึ่งค่าที่สอง ซึ่งอย่างน้อยทีสุดหนึ่งค่าที่หนึ่งที่สอดคล้องกับสัญญาณที่ หนึ่งที่ถูกผลิตที่ตอบสนองต่อรังสีที่ถูกตรวจจับตามที่ถูกสะท้อนจากแผ่นบาง และอย่างน้อยที่สุด หนึ่งค่าที่สองที่สอดคล้องกับสัญญาณที่สองที่ถูกผลิตที่ตอบสนองต่อรังสีที่ถูกตรวจจับตามที่ทะลุ ผ่านจากแผ่นบาง 2 6. วิธีการตามข้อถือสิทธิ 25 ซึ่งในขั้นตอน (c) รวมถึงก่อนการรวมนั้น ทำการ ประยุกต์ใช้อย่างน้อยที่สุดหนึ่งตัวประกอบในการถ่วงน้ำหนักกับอย่างน้อยที่สุดหนึ่งในอย่างน้อย ที่สุดหนึ่งค่าที่หนึ่ง และอย่างน้อยที่สุดหนึ่งค่าที่สอง 2 7. วิธีการตามข้อถือสิทธิ 24 ซึ่งในขั้นตอน (b) อย่างน้อยที่สุดหนึ่งตัวตรวจจับตรวจจับ รังสีที่ถูกสะท้อนจากด้านหนึ่งของแผ่นบางในระหว่างกลุ่มที่หนึ่งของช่วงระยะเวลา และอย่าง น้อยที่สุดหนึ่งตัวตรวจจับตรวจจับรังสีที่ถูกสะท้อนจากด้านตรงข้ามของแผ่นบางในระหว่างกลุ่มที่ สองของช่วงระยะเวลา ซึ่งกลุ่มที่หนึ่ง และที่สองไม่สอดคล้องกันอย่างแท้จริง 2 8. วิธีการสำหรับแยกลักษณะแผ่นกระดาษแผ่นเดียวออกจากแผ่นกระดาษหลายแผ่นที่ ประกอบด้วยจำนวนหนึ่งของแผ่นบางที่วางซ้อนทับกัน ซึ่งประกอบด้วยขั้นตอนดังต่อไปนี้ (a) การให้ความสว่างผิวหน้าที่หนึ่งของแผ่นกระดาษด้วยแหล่งกำเนิดรังสีที่หนึ่งที่ถูกตั้ง ตำแหน่งบนด้านที่หนึ่งของแผ่นกระดาษ (b) การตรวจจับด้วยตังตรวจจับบนด้านที่หนึ่งของแผ่นบางถึงระดับที่หนึ่งของรังสีจาก แหล่งกำเนิดรังสีที่หนึ่งที่ถูกสะท้อนจากผิวหน้าที่หนึ่งของแผ่นบาง (c) การตรวจจับด้วยตัวตรวจจับที่ถูกตั้งตำแหน่งบนด้านที่สองของแผ่นบางถึงระดับที่สอง ของรังสีจากแหล่งกำเนิดรังสีที่หนึ่งที่ผ่านทะลุแผ่นบาง (d) การให้ความสว่างผิวหน้าที่สองของแผ่นบางด้วยแหล่งกำเนิดรังสีที่สองที่ถูกตั้ง ตำแหน่งบนด้านที่สองของแผ่นกระดาษ (e) การตรวจจับด้วยตัวตรวจจับบนด้านที่สองของแผ่นบางถึงระดับที่สามของรังสีจาก แหล่งกำเนิดรังสีที่สองที่ถูกสะท้อนจากผิวหน้าที่สองของแผ่นบาง (f) การให้กำเนิดค่าอย่างน้อยที่สุดหนึ่งค่าที่ตอบสนองต่อระดับที่หนึ่ง ระดับที่สอง และ ระดับที่สาม (g) การเปรียบเทียบค่าอย่างน้อยที่สุดหนึ่งค่ากับค่าระดับขีดกำหนดอย่างน้อยที่สุดหนึ่ง อัน ซึ่งความสัมพันธ์ของค่าอย่างน้อยที่สุดหนึ่งค่ากับค่าระดับขีดกำหนดอย่างน้อยที่สุดหนึ่งค่าจะ บ่งบอกว่าแผ่นบางเป็นแผ่นบางแผ่นเดียวหรือหลายแผ่น 2 9. วิธีการสำหรับแยกลักษณะแผ่นกระดาษแผ่นเดียวออกจากแผ่นกระดาษหลายแผ่นที่ ประกอบด้วยจำนวนหนึ่งของแผ่นบางที่วางซ้อนทับกัน ซึ่งประกอบด้วยขั้นตอนดังต่อไปนี้ (a) การให้ความสว่างผิวหน้าที่หนึ่งของแผ่นกระดาษด้วยแหล่งกำเนิดรังสีที่หนึ่งที่ถูกตั้ง ตำแหน่งบนด้านที่หนึ่งของแผ่นกระดาษ (b) การตรวจจับด้วยตังตรวจจับบนด้านที่หนึ่งของแผ่นบางถึงระดับที่หนึ่งของรังสีจาก แหล่งกำเนิดรังสีที่หนึ่งที่ถูกสะท้อนจากผิวหน้าที่หนึ่งของแผ่นบาง (c) การตรวจจับด้วยตัวตรวจจับที่ถูกตั้งตำแหน่งบนด้านที่สองของแผ่นบางถึงระดับ ที่สองของรังสีจากแหล่งกำเนิดรังสีที่หนึ่งที่ผ่านทะลุแผ่นบาง (d) การให้ความสว่างผิวหน้าที่สองของแผ่นบางด้วยแหล่งกำเนิดรังสีที่สองที่ถูกตั้ง ตำแหน่งบนด้านที่สองของแผ่นกระดาษ (e) การตรวจจับด้วยตัวตรวจจับที่สองของแผ่นบางถึงระดับที่สามของรังสี จากแหล่งกำเนิดรังสีที่สองที่ถูกสะท้อนจากผิวหน้าที่สองของแผ่นบาง (f) การให้กำเนิดค่าอย่างน้อยที่สุดหนึ่งค่าที่ตอบสนองต่อระดับที่หนึ่ง ระดับที่สอง และ ระดับที่สาม (g) การเปรียบเทียบค่าอย่างน้อยที่สุดหนึ่งค่ากับค่าระดับขีดกำหนดอย่างน้อยที่สุดหนึ่ง อัน ซึ่งความสัมพันธ์ของค่าอย่างน้อยที่สุดหนึ่งค่ากับค่าระดับขีดกำหนดอย่างน้อยที่สุดหนึ่งค่าจะ บ่งบอกว่าแผ่นบางเป็นแผ่นบางแผ่นเดียวหรือหลายแผ่น 3 0. วิธีการตามข้อถือสิทธิ 28 ซึ่งขั้นตอน (b) และ (c) จะถูกดำเนินการในระหว่าง ช่วงเวลาที่หนึ่งและ ขั้นตอน (e) จะถูกดำเนินการในระหว่างช่วงเวลาที่สอง 3 1. วิธีการตามข้อถืสอิทธิ 30 ซึ่งช่วงเวลาที่หนึ่ง และช่วงเวลาที่สองจะไม่ซ้อนทับกัน 3 2. วิธีการตามข้อถือสิทธิ 28 ซึ่งโดยทั่วไปแผ่นบางจะมีเครื่องหมายที่ไม่เหมือนกันที่ถูก พิมพ์บนแต่ละผิวหน้าที่หนึ่ง และผิวหน้าที่สอง ซึ่งยังคงประกอบด้วยขั้นตอนดังนี้ การเลื่อนแผ่นบางในเส้นทางของแผ่นบาง โดยผ่านพืนที่ทำการตรวจจับ และซึ่งขั้นตอน (a) ถึง (e) แต่ละขั้นตอนจะถูกดำเนินการหลายครั้งเมื่อแผ่นบางเลื่อนผ่านพื่นที่ทำการตรวจจับ 3 3. วิธีการตามข้อถือสิทธิ 32 และซึ่งยังคงประกอบด้วยขั้นตอน การให้กำเนิดค่าอำนาจการสะท้อนที่หนึ่งที่ตอบสนองแต่ละค่าระดบที่หนึ่งที่ถูกตรวจจับใน ระหว่างการดำเนินการขั้นตอน(b) และ การประกอบรวมค่าอำนาจการสะท้อนที่หนึ่งจำนวนหนึ่งเพื่อให้กำเนิดค่าอำนาจการ สะท้อนที่หนึ่งแบบสะสมสำหรับแผ่นบาง 3 4. วิธีการตามข้อถือสิทธิ 32 และซึ่งยังคงประกอบด้วยขั้นตอนต่อไปนี้ การให้กำเนิดค่าการผ่านทะลุที่ตอบสนองต่อแต่ละค่าระดับที่สองที่ถูกให้กำเนิดในระหว่าง การดำเนินการขั้นตอน(c) และการประกอบรวมค่าการผ่านทะลุจำนวนหนึ่ง เพื่อให้กำเนิดค่าการผ่านทะลุแบบสะสม สำหรับแผ่นบาง 3 5. วิธีการตามข้อถือสิทธิ 33 และซึ่งยังคงประกอบด้วยขั้นตอนต่อไปนี้ การให้กำเนิดค่าการผ่านทะลุที่ตอบสนองต่อแต่ละค่าระดับที่สองที่ถูกให้กำเนิดในระหว่าง การดำเนินการขั้นตอน(c) และการประกอบรวมค่าการผ่านทะลุจำนวนหนึ่ง เพื่อให้กำเนิดค่าการผ่านทะลแบบสะสม สำหรับแผ่นบาง และขั้นตอน (f) จะประกอบด้วยการประยุกต์ใช้ที่ตัวประกอบในการถ่วงน้ำหนักอย่างน้อย ที่สุดหนึ่งอันกับค่าการผ่านทะลุแบบสะสมและค่าอำนาจการสะท้อน แบบสะสม อย่างน้อยที่สุด หนึ่งค่า 3 6. วิธีการตามข้อถือสิทธิ 33 และซึ่งยังคงประกอบด้วยขั้นตอน การให้กำเนิดค่าการผ่านทะลุที่ตอบสนองต่อแต่ละค่าระดับที่สองที่ถูกให้กำเนิดในระหว่าง การดำเนินการขั้นตอน (c) การประกอบรวมค่าการผ่านทะลุจำนวนหนึ่ง เพื่อให้กำเนิดค่าการผ่านทะลุแบบสะสม สำหรับแผ่นบาง การให้กำเนิดค่าอำนาจการสะท้อนที่สองที่ตอบสนองต่อแต่ละค่าระดับที่สามที่ถูกให้ กำเนิดในระหว่างการดำเนินการขั้นตอน (e) การประกอบรวมค่าอำนาจการสะท้อนที่สองจำนวนหนึ่งเพื่อให้กำเนิดค่าอำนาจการ สะท้อนที่สองแบบสะสมสำหรับแผ่นบาง 3 7. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อ 36 ซึ่งขั้นตอน (f) จะมีส่วนที่เป็นการประยุกต์ใช้ตัวประกอบใน การถ่วงน้ำหนักกับค่าอำนาจการสะท้อนที่หนึ่งแบะสะสม, ค่าอำนาจการสะท้อนที่สองแบบสะสม และค่าการผ่านทะลุแบบสะสม อย่างน้อยที่สุดหนึ่งค่า 3 8. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อ 37\' ซึ่งขั้นตอน (f) ตัวประกอบในการถ่วงน้ำหนักจะถูก ประยุกต์ใช้ โดยที่ว่าการเพิ่มของค่าอำนาจการสะท้อนที่หนึ่งแบบสะสม และค่าอำนาจการสะท้อน ที่สองแบบสะสมอย่างน้อยที่สุดหนึ่งค่าจะอยู่ในสภาพปฏิบัติการ เพื่อทำให้ความสัมพันธ์ของค่า อย่างน้อยที่สุดหนึ่งค่าและค่าระดับขีดกำหนดอย่างน้อยที่สุดหนึ่งค่าที่ถูกเปรียบเทียบในขั้นตอน (g) มีแนวโน้มเข้าหาการบ่งบอกว่าเป็นแผ่นบางหลายแผ่น 3 9. วิธีการตามข้อถือสิทธิ 32 ซึ่งขั้นตอน (b) และ (c) จะถูกดำเนินการในระหว่างแต่ละ ช่วงห่างตามระยะรอบที่หนึ่งจำนวนหน่งและขั้นตอน (e) จะถูกดำเนินการในระหว่างช่วงหางตาม ระยะรอบที่สองจำนวนหนึ่ง ซึ่งห่างตามระยะรอบที่หนึ่งจะไม่ซ้อนทับกันโดยทั่วไปกับช่วงห่าง ตามระยะรอบที่สอง 4 0. วิธีการตามข้อถือสิทธิ 28 ซึ่งขั้นตอน (f) ค่าอย่างน้อยที่สุดหนึ่งค่าจะถูกให้กำเนิดโดย การประยุกต์ใช้ตัวประกอบในการถ่วงน้ำหนักอย่างน้อยที่สุดหนึ่งค่ากับสัญญาณออกอย่างน้อย ที่สุดหนึ่งอัน ที่สอดคล้องกับระดับที่หนึ่ง,ระดับที่สอง และระดับที่สามอย่างน้อยที่สุดหนึ่งอัน 4
1. วิธีการตามข้อถือสิทธิ 40 ซึ่งตัวประกอบในการถ่วงน้ำหนักอย่างน้อยที่สุดหนึ่งอันจะ ถูกประยุกต์ใช้โดยที่ว่าการเพิ่มขิ้นของสัญญาณออกที่สอดคล้องกับการเพิ่มขึ้นในระดับที่หนึ่ง หรือ การเพิ่มในระดับที่สามจะเปลี่ยนแปลงความสัมพันธ์ให้เข้าหาการระะบุว่าเป็นแผ่นบางหลายแผ่นใน ขั้นตอน(g) 4
2. วิธีการตามข้อถือสิทธิ 28 ซึ่งแหล่งกำเนิดรังสีที่หนึ่งจะประกอบด้วยแหล่งกำเนิดรังสี อินฟาเรด 4
3. วิธีการสำหรับแยกลักษณะแผ่นบางแผ่นเดียวออกจากแผ่นบางหลายแผ่นที่ ประกอบด้วยจำนวนหนึ่งของแผ่นบางที่วางซ้อนทับกัน ซึ่งประกอบด้วยขั้นตอนดังต่อไปนี้ (a) การให้ความสว่างผิวหน้าที่หนึ่งของแผ่นบางด้วยแหล่งกำเนิดรังสีที่หนึ่งที่ถูกตั้ง ตำแหน่งบนด้านที่หนึ่งของแผ่นบาง (b) การตรวจจับด้วยตังตรวจจับบนด้านที่หนึ่งของแผ่นบางถึงระดับที่หนึ่งของรังสีจาก แหล่งกำเนิดรังสีที่หนึ่งที่ถูกสะท้อนจากผิวหน้าที่หนึ่งของแผ่นบาง (c) การตรวจจับด้วยตัวตรวจจับที่ถูกตั้งตำแหน่งบนด้านที่สองของแผ่นบางถึงระดับที่สอง ของรังสีจากแหล่งกำเนิดรังสีที่หนึ่งที่ผ่านทะลุแผ่นบาง (d) การให้ความสว่างผิวหน้าที่สองของแผ่นบางด้วยแหล่งกำเนิดรังสีที่สองที่ถูกตั้ง ตำแหน่งบนด้านที่สองของแผ่นบาง ซึ่งอย่างน้อยที่สุดหนึ่งในแหล่งกำเนิดรังสีที่หนึ่ง และ แหล่งกำเนิดรังสีที่สองประกอบด้วยแหล่งกำเนิดรังสีอินฟาเรด (e) การตรวจจับด้วยตัวตรวจจับบนด้านที่สองของแผ่นบางถึงระดับที่สามของรังสีจาก แหล่งกำเนิดรังสีที่สองที่ถูกสะท้อนจากผิวหน้าที่สองของแผ่นบาง (f) การให้กำเนิดค่าอย่างน้อยท่สุดหนึ่งค่าที่ตอบสนองต่อระดับที่หนึ่ง ระดับที่สอง และ ระดับที่สาม (g) การเปรียบเทียบค่าอย่างน้อยที่สุดหนึ่งค่ากับอย่างน้อยที่สุดหนึ่งค่าระดับขีดกำหนด ซึ่งความสัมพันธ์ของค่าอย่างน้อยที่สุดหนึ่งค่ากับอย่างน้อยที่สุดหนึ่งค่าระดับขีดกำหนดจะบ่งบอก ว่าแผ่นบางเป็นแผ่นบางแผ่นเดียวหรือหลายแผ่น 4
4. วิธีการสำหรับแยกลักษณะแผ่นบางแผ่นเดียวออกจากแผ่นบางหลายแผ่นที่ ประกอบด้วยจำนวนหนึ่งของแผ่นบางที่วางซ้อนทับกัน ซึ่งประกอบด้วยขั้นตอนดังต่อไปนี้ (a) การให้ความสว่างผิวหน้าที่หนึ่งของแผ่นกระดาษด้วยแหล่งกำเนิดรังสีที่หนึ่งที่ถูกตั้ง ตำแหน่งบนด้านที่หนึ่งของแผ่นบาง (b) การตรวจจับด้วยตัวตรวจจับบนด้านที่หนึ่งของแผ่นบางถึงระดับที่หนึ่งของรังสีจาก แหล่งกำเนิดรังสีที่หนึ่งที่ถูกสะท้อนจากผิวหน้าที่หนึ่งของแผ่นบาง (c) การตรวจจับด้วยตัวตรวจจับที่ถูกตั้งตำแหน่งบนด้านที่สองของแผ่นบางถึงระดับที่สอง ของรังสีจากแหล่งกำเนิดรังสีที่หนึ่งที่ผ่านทะลุแผ่นบาง (d) การให้ความสว่างผิวหน้าที่สองของแผ่นบางด้วยแหล่งกำเนิดรังสีที่สองที่ถูกตั้ง ตำแหน่งบนด้านที่สองของแผ่นบาง (e) การตรวจจับด้วยตัวตรวจจับบนด้านที่สองของแผ่นบางถึงระดับที่สามของรังสีจาก แหล่งกำเนิดรังสีที่สองที่ถูกสะท้อนจากผิวหน้าที่สองของแผ่นบาง (f) การให้กำเนิดค่าอย่างน้อยที่สุดหนึ่งค่าที่ตอบสนองต่อระดับที่หนึ่ง ระดับที่สอง และ ระดับที่สาม (g) การเปรียบเทียบค่าอย่างน้อยที่สุดหนึ่งค่ากับอย่างน้อยที่สุดหนึ่งค่าระดับขีดกำหนด ซึ่งความสัมพันธ์ของค่าอย่างน้อยที่สุดหนึ่งค่ากับอย่างน้อยที่สุดหนึ่งค่าระดับขีดกำหนดจะบ่งบอก ว่าแผ่นบางเป็นแผ่นบางแผ่นเดียวหรือหลายแผ่น (h) การเคลื่อนที่แผ่นบางตามเส้นทางของแผ่นบาง และ (i) การเบี่ยงแผ่นบางจากเส้นทางของแผ่นบางที่ตอบสนองต่อความสัมพันธ์ของอย่าน้อย หนึ่งค่า และอย่างน้อยที่สุดหนึ่งค่าระดับขีดกำหนดที่ถูกเปรียบเทียบในขั้นตอน (g) จะบ่งบอกว่า แผ่นบางเป็นแผ่นบางหลายแผ่น 4
5. อุปกรณ์ประกอบด้วย แผ่นบางซึ่งแผ่นบางประกอบด้วยหน้าที่หนึ่ง และหน้าที่สอง อย่างน้อยที่สุดหนึ่งแหล่งกำเนิดรังสีที่หนึ่งบนด้านที่หนึ่งของแผ่นบาง อย่างน้อยที่สุดหนึ่งตัวตรวจจับที่หนึ่งบนด้านที่หนึ่งของแผ่นบาง ซึ่งอย่างน้อยที่สุดหนึ่งตัว ตรวจจับที่หนึ่งสามารถปฏิบัติการเพื่อตรวจจับระดับที่หนึ่งของรังสีจากอย่างน้อยที่สุดหนึ่ง แหล่งกำเนิดรังสีที่หนึ่งที่ถูกสะท้อนจากหน้าที่หนึ่งของแผ่นบาง อย่างน้อยที่สุดหนึ่งแหล่งกำเนิดรังสีที่สองบนด้านที่สองของแผ่นบางที่อยู่ตรงข้ามของด้าน ที่หนึ่ง อย่างน้อยที่สุดหนึ่งตัวตรวจจับที่สองบนด้านที่สองของแผ่นบาง ซึ่งอย่างน้อยที่สุดหนึ่งตัว ตรวจจับที่สองสามารถปฏิบัติการเพื่อตรวจจับระดับที่สองของรังสีจากอย่างน้อยที่สุดหนึ่ง แหล่งกำเนิดรังสีที่ หนึ่งที่ถูกผ่านทะลุแผ่นบาง และตรวจจับระดับที่สามของรังสีจากอย่างน้อยที่สุด หนึ่งแหล่งกำเนิดรังสีที่สองที่ถูกสะท้อนจากหน้าที่สองของแผ่นบาง อย่างน้อยที่สุดหนึ่งตัวประมวลผลในการปฏิบัติการเชื่อมต่อกับอย่างน้อยที่สุดหนึ่ง แหล่งกำเนิดรังสีที่หนึ่ง อย่างน้อยที่สุดหนึ่งตัวตรวจจับที่หนึ่ง อย่างน้อยที่สุดหนึ่งแหล่งกำเนิดรังสี ที่สอง และอย่างน้อยที่สุดหนึ่งตัวตรวจจับที่สอง ซึ่งอย่างน้อยที่สุดหนึ่งตัวประมวลผลสามารถ ปฏิบัติการเพื่อแยกลักษณะแผ่นบางเป็นแผ่นเดียว หรือ หลายแผ่นที่ประกอบจากแผ่นบางที่วาง ซ้อนทับกัน 4
6. อุปกรณ์ตามขัอถือสิทธิ 45 และซึ่งยังประกอบด้วย เส้นทางของแผ่นบาง ซึ่งแผ่นบางจะเคลื่อนที่ในเส้นทางของแผ่นบาง ตัวเบี่ยงในการเชื่อมต่อกับเส้นทางของแผ่นบาง ซึ่งตัวเบี่ยงจะอยู่ในสภาพปฏิบัติการ เชื่อมต่อกับอย่างน้อยที่สุดหนึ่งตัวประมวลผล ซึ่งอย่างน้อยที่สุดหนึ่งตัวประมวลผลจะปฏิบัติการตอบสนองต่อแผ่นบางที่ถูกแยกลักษณะ เป็นแผ่นบางหลายแผ่นเพื่อให้ตัวเบี่ยงปฏิบัติการเพื่อเบี่ยงแผ่นบางจากเส้นทางของแผ่นบาง 4
7. วิธีการสำหรับแยกลักษณะแผ่นบางแผ่นเดียวออกจากแผ่นบางหลายแผ่นที่ประกอบด้วย จำนวนหนึ่งของแผ่นบางที่วางซ้อนทับกัน ซึ่งประกอบด้วยขั้นตอนดังต่อไปนี้ (a) การให้ความสว่างผิวหน้าที่หนึ่งของแผ่นบางด้วยแหล่งกำเนิดรังสีที่หนึ่งที่ถูกตั้ง ตำแหน่งบนด้านที่หนึ่งของแผ่นบาง (b) การตรวจจับด้วยตัวตรวจจับบนด้านที่หนึ่งของแผ่นบางถึงระดับที่หนึ่งของรังสีจาก แหล่งกำเนิดรังสีที่หนึ่งที่ถูกสะท้อนจากผิวหน้าที่หนึ่งของแผ่นบาง (c) การตรวจจับด้วยตัวตรวจจับที่ถูกตั้งตำแหน่งบนด้านที่สองของแผ่นบางถึงระดับที่สอง ของรังสีจากแหล่งกำเนิดรังสีที่หนึ่งที่ผ่านทะลุแผ่นบาง (d) การให้ความสว่างผิวหน้าที่สองของแผ่นบางด้วยแหล่งกำเนิดรังสีที่สองที่ถูกตั้ง ตำแหน่งบนด้านที่สองของแผ่นบาง (e) การตรวจจับด้วยตัวตรวจจับบนด้านที่สองของแผ่นบางถึงระดับที่สามของรังสีจาก แหล่งกำเนิดรังสีที่สองที่ถูกสะท้อนจากผิวหน้าที่สองของแผ่นบาง (f) การตัดสินกำหนดว่าแผ่นบางเป็นแผ่นบางแผ่นเดียวหรือหลายแผ่นที่ตอบสนองต่อ ระดับที่หนึ่ง ระดับที่สอง และระดับที่สาม
TH9901004035A 1999-10-28 ตัวตรวจจับแผ่นกระดาษที่ซ้อนกันสองชั้นสำหรับเครื่องทำรายการอัตโนมัติ TH21108C3 (th)

Publications (2)

Publication Number Publication Date
TH43081A3 true TH43081A3 (th) 2001-02-13
TH21108C3 TH21108C3 (th) 2006-12-20

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
US8294567B1 (en) Method and system for fire detection
US7845637B2 (en) Double feed detecting device and method of controlling the double feed detecting device
CN101846743B (zh) 用于相控阵超声仪的换能器基元故障检测的方法和系统
JP4771951B2 (ja) 非接触ヒューマンコンピュータインターフェイス
JP3866774B2 (ja) 媒体送り距離を決定する方法および装置
US5187361A (en) Object detection apparatus of the photoelectric reflection type with sampled data
US6611207B1 (en) Method for detecting fire with light section image to sense smoke
RU99112497A (ru) Универсальное устройство определения достоинства и подлинности банкнот
EP1061480A1 (en) Methods of measuring currency limpness
CN203535713U (zh) 用于纸币处理中胶条、重张的超声波检测装置
US6486464B1 (en) Double sheet detector method for automated transaction machine
US6242733B1 (en) Double sheet detector for automated transaction machine
US4490612A (en) Method for the measurement of the properties of a plastic film by means of infra-red radiation
US6763721B2 (en) Verification of thickness modulations in or on sheet-type products
KR970007740A (ko) 적외선 센서를 이용한 인체의 위치판별장치
JP2004177335A (ja) 位置検出方法および装置
TH43081A3 (th) ตัวตรวจจับแผ่นกระดาษที่ซ้อนกันสองชั้นสำหรับเครื่องทำรายการอัตโนมัติ
TH21108C3 (th) ตัวตรวจจับแผ่นกระดาษที่ซ้อนกันสองชั้นสำหรับเครื่องทำรายการอัตโนมัติ
CA2362121C (en) Double sheet detector for automated transaction machine
CN206248213U (zh) 一种基于光谱的火焰检测装置
JPH06249779A (ja) ガス分析計
EP1087384A3 (en) Tracking control apparatus
US7548171B2 (en) Wireless sensors for system monitoring and diagnostics
ATE308058T1 (de) Waffendetektoranlage
JP4058246B2 (ja) 紙葉類に貼着されたテープ体の検出方法及び装置