TH34392A - เตียงป้องกันและบำบัดแผลกดทับ - Google Patents

เตียงป้องกันและบำบัดแผลกดทับ

Info

Publication number
TH34392A
TH34392A TH9801002329A TH9801002329A TH34392A TH 34392 A TH34392 A TH 34392A TH 9801002329 A TH9801002329 A TH 9801002329A TH 9801002329 A TH9801002329 A TH 9801002329A TH 34392 A TH34392 A TH 34392A
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
bed
raise
head
knees
treatment
Prior art date
Application number
TH9801002329A
Other languages
English (en)
Other versions
TH10591B (th
Inventor
โคมินทร์ รองศาสตราจารย์นายแพทย์สุรัตน์
Original Assignee
นายเจษฎา ธรรมวณิช
นางพิมพ์ประไพ ธีระชีพ
นางสาวดุจดาว ตู้จินดา
Filing date
Publication date
Publication of TH34392A publication Critical patent/TH34392A/th
Application filed by นายเจษฎา ธรรมวณิช, นางพิมพ์ประไพ ธีระชีพ, นางสาวดุจดาว ตู้จินดา filed Critical นายเจษฎา ธรรมวณิช
Publication of TH10591B publication Critical patent/TH10591B/th

Links

Abstract

DC60 (22/06/41) เตียงป้องกันและบำบัดแผลกดทับ ประกอบด้วย โครงเตียงส่วนนอกโครงเตียงส่วนในสำหรับ เอียงไปทางด้านซ้ายและขวาและโครงเตียงขึงผ้ายืดโดยเตียงสามารถปรับให้เอียงซ้าย-ขวา ได้ในขณะอยู่ ในท่านอนและท่าที่ยกหัวเตียงและยกบริเวณข้อพับ-เข่าขึ้นได้ โดยในการเอียงซ้าย-ขวาของเตียงจะ ทำงานโดยใช้มอเตอร์พร้อมชุดเฟืองทดหรือใช้มือหมุนสำหรับเอียงเตียงไปทางด้านซ้ายและขวา ซึ่ง สามารถเอียงทำมุมได้ ระหว่าง 0 - 30 องศา กับแนวระนาบทั้งด้านซ้ายและขวา การยกส่วนหัวเตียงขึ้น สามารถ ทำได้โดยใช้มอเตอร์พร้อมชุดเฟืองทด หรือมือหมุนเพื่อยกส่วนหัวเตียงและชุดส่งกำลังยกหัว เตียง ซึ่งสามารถยกหัวเตียงขึ้นระหว่าง 0 - 45 องศา กับแนวระนาบและการยกส่วนข้อพับ - เข่า ของ เตียงขึ้นสามารถทำได้โดยใช้มือหมุน และกระบอกเพลาชุดขับเคลื่อนเพื่อ ยกส่วนข้อพับ - เข่า โดย สามารถยกส่วนข้อพับ - เข่า ได้ระหว่าง 0 - 40 องศา กับแนวระนาบ เตียงป้องกันและบำบัดแผลกดทับ ถูกออกแบบให้สามารถรับน้ำหนักของผู้ป่วยได้ถึง 100 กิโลกรัม สามารถบังคับให้ทำงานได้โดยใช้รีโมท คอนโทรล และสามารถตั้งโปรแกรมให้เตียงเอียงซ้ายและขวาโดยอัตโนมัติตามเวลาที่กำหนด นอกจากนี้ เตียงป้องกันและบำบัดแผลกดทับยังใช้ผ้ายืดแทนการใช้ไม้กระดานหรือสปริง ซึ่งผ้ายืดจะช่วยลดแรงกด ทับเนื่องจากผ้ายืดมีความยืดหยุ่นมากกว่าดังนั้น เตียงป้องกันและบำบัดแผลกดทับ จึงสามารถเปลี่ยน ท่าของผู้ป่วยให้สามารถนอนพลิกตัวไปทางซ้าย - ขวา ลุกนั่งตรงหรือนั่งตะแคง ซ้าย - ขวา หรือยกเข่าได้ ซึ่งการเปลี่ยนแปลงท่านอนจะสามารถลดแรงกดทับที่ปุ่มกระดูกโดยเฉพาะบริเวณก้นกบและสะโพก เพื่อ ป้องกันไม่ให้เกิดแผลกดทับและสามารถช่วยบำบัดแผลกดทับที่เกิดขึ้นแล้วให้ดีขึ้นได้ เตียงป้องกันและบำบัดแผลกดทับ ประกอบด้วย โครงเตียงส่วนนอกโครงเตียงส่วนในสำหรับ เอียงไปทางด้านซ้ายและขวาและโครงเตียงขึงผ้ายืดโดยเตียงสามารถปรับให้เอียงซ้าย-ขวา ได้ในขณะอยู่ ในท่านอนและท่าที่ยกหัวเตียงและยกบริเวณข้อพับ-เข่าขึ้นได้ โดยในการเอียงซ้าย-ขวาของเตียงจะ ทำงานโดยใช้มอเตอร์พร้อมชุดเฟืองทดหรือใช้มือหมุนสำหรับเอียงเตียงไปทางด้านซ้ายและขวา ซึ่ง สามารถเอียงทำมุมได้ ระหว่าง 0 - 30 องศา กับแนวระนาบทั้งด้านซ้ายและขวา การยกส่วนหัวเตียงขึ้น สามารถ ทำได้โดยใช้มอเตอร์พร้อมชุดเฟืองทด หรือมือหมุนเพื่อยกส่วนหัวเตียงและชุดส่งกำลังยกหัว เตียง ซึ่งสามารถยกหัวเตียงขึ้นระหว่าง 0 - 45 องศา กับแนวระนาบและการยกส่วนข้อพับ - เข่า ของ เตียงขึ้นสามารถทำได้โดยใช้มือหมุน และกระบอกเพลาชุดขับเคลื่อนเพื่อ ยกส่วนข้อพับ - เข่า โดย สามารถยกส่วนข้อพับ - เข่า ได้ระหว่าง 0 - 40 องศา กับแนวระนาบ เตียงป้องกันและบำบัดแผลกดทับ ถูกออกแบบให้สามารถรับน้ำหนักของผู้ป่วยได้ถึง 100 กิโลกรัม สามารถบังคับให้ทำงานได้โดยใช้รีโมท คอนโทรล และสามารถตั้งโปรแกรมให้เตียงเอียงซ้ายและขวาโดยอัตโนมัติตามเวลาที่กำหนด นอกจากนี้ เตียงป้องกันและบำบัดแผลกดทับยังใช้ผ้ายืดแทนการใช้ไม้กระดานหรือสปริง ซึ่งผ้ายืดจะช่วยลดแรงกด ทับเนื่องจากผ้ายืดมีความยืดหยุ่นมากกว่าดังนั้น เตียงป้องกันและบำบัดแผลกดทับ จึงสามารถเปลี่ยน ท่าของผู้ป่วยให้สามารถนอนพลิกตัวไปทางซ้าย - ขวา ลุกนั่งตรงหรือนั่งตะแคง ซ้าย - ขวา หรือยกเข่าได้ ซึ่งการเปลี่ยนแปลงท่านอนจะสามารถลดแรงกดทับที่ปุ่มกระดูกโดยเฉพาะบริเวณก้นกบและสะโพก เพื่อ ป้องกันไม่ให้เกิดแผลกดทับและสามารถช่วยบำบัดแผลกดทับที่เกิดขึ้นแล้วให้ดี

Claims (6)

1. เตียงผู้ป่วยสำหรับใช้ป้องกันและบำบัดแผลกดทับ ซึ่งประกอบด้วยผ้ายืดที่ยึดอยู่บนโครงเหล็ก ของเตียงเพื่อช่วยลดแรงกดทับ มีระบบมอเตอร์และฟันเฟืองที่สามารถทำให้โครงเตียงเอียงซ้าย-ขวาได้ ระหว่าง 0-30 องศา รอบแกนกลางของโครงเตียงส่วนในโดยหมุนได้ทั้งตามเข็มและทวนเข็มนาฬิกา ระบบนี้สามารถยกส่วนหัวเตียงและส่วนข้อพับ - เข่าได้ในขณะที่เตียงอยู่ในแนวราบหรือในขณะที่เตียง เอียงซ้าย-ขวา
2. เตียงผู้ป่วยสำหรับใช้ป้องกันและบำบัดแผลกดทับ ตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ซึ่งการทำให้เตียงเอียง ไปทางซ้ายหรือขวา ทำโดยใช้รีโมทคอนโทรล หรือสั่งงานผ่านกล่องควบคุมมอเตอร์ซึ่งจะสั่งงานให้ มอเตอร์และชุดเฟืองทด ทำให้เตียงเอียงไปทางซ้ายและขวารอบแกนกลางโครงเตียงส่วนใน เมื่อเตียง เอียงไปเป็นมุมสูงสุดระบบเซนเซอร์ควบคุมการทำงานจะสั่งให้มอเตอร์หยุดทำงาน
3. เตียงผู้ป่วยสำหรับใช้ป้องกันและบำบัดแผลกดทับ ตามข้อถือสิทธิข้อ 1 หรือข้อ 2 ซึ่งการยกหัว เตียงขึ้นทำได้โดยใช้มือหมุนสำหรับยกหัวเตียงหรือใช้รีโมทคอนโทรล หรือสั่งงานผ่านกล่องควบคุม มอเตอร์โดยสามารถยกหัวเตียงขึ้นระหว่าง 0-45 องศากับแนวระนาบและการยกส่วนหัวเตียงขึ้นสามารถ ทำได้ทั้งขณะเตียงอยู่ในแนวระนาบหรือในขณะที่เตียงเอียงอยู่ทั้งด้านซ้ายหรือขวา
4. เตียงผู้ป่วยสำหรับใช้ป้องกันและบำบัดแผลกดทับ ตามข้อถือสิทธิข้อ 1,2 หรือ 3 ข้อใดข้อหนึ่ง ซึ่งการยกเตียงส่วนที่รองรับข้อพับ-เข่าของคนไข้ ทำได้โดยใช้มือหมุนบังคับชุดขับเคลื่อนสำหรับยกข้อ พับ-เข่า สามารถยกขึ้นได้โดยทำมุมระหว่าง 0-40 องศากับแนวระนาบ ชุดขับเคลื่อนสำหรับยกส่วนข้อ พับ-เข่าขึ้นสามารถทำงานได้ทั้งที่เตียงอยู่ในแนวระนาบหรือในขณะที่เตียงเอียงไปทางซ้ายหรือขวา
5. เตียงผู้ป่วยสำหรับใช้ป้องกันและบำบัดแผลกดทับ ตามข้อถือสิทธิก่อนหน้านี้ข้อใดข้อหนึ่งซึ่ง ประกอบด้วย ผ้ายึดขึงอยู่กับโครงเตียงแทนการใช้ไม้ เพื่อให้เกิดความยืดหยุ่นลดแรงกดทับ ผ้ายืดนี้แบ่ง ออกเป็น 3 ส่วน ส่วนที่ 1 ใช้สำหรับยกหัวเตียงขึ้น ส่วนที่ 2- 3 ใช้สำหรับยกข้อพับ-เข่าขึ้นด้านหัวเตียง และปลายเตียงมีเข็มขัดปรับผ้ายืดและเหล็กยึดผ้ายืดเพื่อใช้ปรับความตึงของผ้ายืด
6. เตียงผู้ป่วยสำหรับใช้ป้องกันและบำบัดแผลกดทับ ตามข้อถือสิทธิก่อนหน้านี้ข้อใดข้อหนึ่งซึ่ง ประกอบด้วยรางเหล็กรองรับโครงเตียงขึงผ้ายึด จะป้องกันโครงเตียงขึงผ้ายืดโดยไม่ทำความเสียหายต่อ ผ้ายึดและโครงเตียงขึงผ้ายืดขณะที่หัวเตียงถูกยกขึ้น
TH9801002329A 1998-06-22 เตียงป้องกันและบำบัดแผลกดทับ TH10591B (th)

Publications (2)

Publication Number Publication Date
TH34392A true TH34392A (th) 1997-08-13
TH10591B TH10591B (th) 2001-06-18

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
US6817363B2 (en) Pulmonary therapy apparatus
US4654903A (en) Bedsore prevention device in an invalid bed arrangement
AU729921B2 (en) A therapeutic device
US3724004A (en) Adjustable bed
US6038717A (en) Device for a bed
US6611974B2 (en) Mattress transport mechanism
WO1999004735A1 (fr) Lit pour incliner ou retenir un sujet tete en bas en mecanotherapie automatique
WO2016113954A1 (ja) アシストスーツ
KR101878410B1 (ko) 환자이송침상의 수평유지방법
CN107669449B (zh) 一种帮扶机器人
US9149401B2 (en) Support apparatus for preventing and/or inhibiting decubitus ulcers
CN112190412A (zh) 一种老年患者麻醉用翻身辅助装置
JPH02500087A (ja) 空気損失の少ない患者支持システムの圧力を変化させる方法および装置
CA2569390A1 (en) Patient lifting device
US20050135907A1 (en) Medical lift and transport system, method and apparatus
TH34392A (th) เตียงป้องกันและบำบัดแผลกดทับ
TH10591B (th) เตียงป้องกันและบำบัดแผลกดทับ
JP2003225264A (ja) 肢体駆動装置
KR101878411B1 (ko) 특수재난 환자이송침상
JP2000334006A (ja) 多機能翻身装置
JP2010131225A (ja) 移乗支援装置
CN113456375A (zh) 床具和使用该床具的病床
KR20120118965A (ko) 유산소운동 겸용 욕창방지침대
TWM597132U (zh) 具有支撐架的多功能護理床
CN212346967U (zh) 一种可立式护理床