TH25333B - โพลีคาร์บอเนตที่มีหน่วยต่างกัน และวิธีในการผลิตสารชนิดเดียวกัน - Google Patents

โพลีคาร์บอเนตที่มีหน่วยต่างกัน และวิธีในการผลิตสารชนิดเดียวกัน

Info

Publication number
TH25333B
TH25333B TH9701000799A TH9701000799A TH25333B TH 25333 B TH25333 B TH 25333B TH 9701000799 A TH9701000799 A TH 9701000799A TH 9701000799 A TH9701000799 A TH 9701000799A TH 25333 B TH25333 B TH 25333B
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
polycarbonate
reaction
formula
group
following formula
Prior art date
Application number
TH9701000799A
Other languages
English (en)
Other versions
TH32216A (th
Inventor
โคมิยา นายเคียวสุเกะ
คาซูโนริ นายมิยูกิ
ฮาชิยา นายฮิโรชิ
Original Assignee
นางดารานีย์ วัจนะวุฒิวงศ์
นางดารานีย์ วัจนะวุฒิวงศ์ นางสาวสนธยา สังขพงศ์ นางสาวสุคนธ์ทิพย์ จิตมงคลทอง
นางสาวสนธยา สังขพงศ์
นางสาวสุคนธ์ทิพย์ จิตมงคลทอง
Filing date
Publication date
Application filed by นางดารานีย์ วัจนะวุฒิวงศ์, นางดารานีย์ วัจนะวุฒิวงศ์ นางสาวสนธยา สังขพงศ์ นางสาวสุคนธ์ทิพย์ จิตมงคลทอง, นางสาวสนธยา สังขพงศ์, นางสาวสุคนธ์ทิพย์ จิตมงคลทอง filed Critical นางดารานีย์ วัจนะวุฒิวงศ์
Publication of TH32216A publication Critical patent/TH32216A/th
Publication of TH25333B publication Critical patent/TH25333B/th

Links

Abstract

DC60 (20/01/42) การประดิษฐ์เปิดเผยถึงโพลีคาร์บอเนตที่ประกอบด้วยกลุ่มโซ่หลักอะโรเมติกส์โพลีคาร์ บอเนต โดยโซ่หลักนี้จะมีหน่วยต่างกันในปริมาณจำกัด บนห่วงโซ่โพลีคาร์บอเนต โพลีคาร์บอเนต ตามการประดิษฐ์ จะได้จากการควบคุมอุณหภูมิ และเวลาของวัสดุพวกโพลีเม่อร์ในโซนปฏิกิริยา เพื่อทำให้ความต้องการบรรลุผลโพลีคาร์บอเนต ตามการประดิษฐ์จะมีประโยชน์ไม่เพียงแต่มันมีค่า โปร่งใสสูง และไร้สี รวมถึงความคงทนทางกลสูง แต่มันจะแสดงคุณสมบัติการไหลที่ไม่ใช่นิวโตเนียน สูง เพื่อแสดงค่าการไหลขึ้นรูป ดังนั้นโพลีคาร์บอเนตตามการประดิษฐ์จะมีข้อดีในทางการค้า การประดิษฐ์เปิดเผยถึงโพลีคาร์บอเนตที่ประกอบด้วยกลุ่มโซ่หลักอะโรเมติกส์โพลีคาร์ บอเนต โดยโซ่หลักนี้จะมีหน่วยต่างกันในปริมาณจำกัด บนห่วงโซ่โพลีคาร์บอเนต โพลีคาร์บอเนต ตามการประดิษฐ์ จะได้จากการควบคุมอุณหภูมิ และเวลาของวัสดุพวกโพลีเม่อร์ในโซนปฎิกิริยา เพื่อทำให้ความต้องการบรรลุผลโพลีคาร์บอเนต ตามการประดิษฐ์จะมีประโยชน์ไม่เพียงแต่มันมีค่า โปร่งใสสูง และไร้สี รวมถึงความคงทนทางกลสูง แต่มันจะแสดงคุณสมบัติการไหลที่ไม่ใช่นิวโตเนียน สูง เพื่อแสดงค่าการไหลขึ้นรูป ดังนั้นโพลีคาร์บอเนตตามการประดิษฐ์จะมีข้อดีในทางการค้า

Claims (4)

1. โพลีคาร์บอเนตที่ประกอบด้วยกลุ่มโซ่หลักของอะโรเมติกส์โพลีคาร์บอเนต ซึ่งแต่ละตัวประกอบด้วยหน่วยซ้ำที่แทนด้วยสูตร (1\') ต่อไปนี้; (สูตรเคมี) (1\') , โดยที่กลุ่มโซ่หลักของอะโรมาติกส์โพลีคาร์บอเนต จะมีอย่างน้อยหนึ่งหน่วยต่าง กัน (A) และอย่างน้อยหนึ่งหน่วยต่างกัน (B) ในโซ่หลักของโพลีคาร์บอเนต ดังกล่าว หน่วยต่างกัน (A) ดังกล่าวจะแทนด้วยสูตร (2\') ต่อไปนี้ (สูตรเคมี) (2\') โดยที่ X แทนห่วงโซ่โพลีคาร์บอเนต ที่มีหน่วยซ้ำที่แทนด้วยสูตร (1\') ข้างต้น และมีน้ำหนักโมเลกุลเฉลี่ยจาก 214 ถึง 100,000 และ หน่วยต่างกัน (B) ดังกล่าวจะแทนด้วยสูตร (3\') ต่อไปนี้ (สูตรเคมี) (3\'), ผลรวมของปริมาณของหน่วยต่างกัน (A) และหน่วยต่างกัน (B) ดังกล่าว จะเป็น ตั้งแต่ 0.01 ถึง 0.3 โมล% เทียบกับปริมาณต่อโมลของหน่วยซ้ำดังกล่าว (1\') โดยที่ X ดังกล่าว อาจเลือกให้มีอย่างน้อยหนึ่งหน่วยต่างกันที่เลือกจากกลุ่มที่ ประกอบด้วยหน่วยต่างกัน (A) และ (B) โพลีคาร์บอเนตดังกล่าวมีน้ำหนักโมเลกุลเฉลี่ยตั้งแต่ 5,000 ถึง 300,000 โพลีคาร์บอเนตดังกล่าว จะได้มาจากวิธีการ ซึ่งประกอบด้วยการนำวัสดุที่สามารถ เกิดโพลีเมอร์ไรซ์ได้อย่างน้อยชนิดหนึ่งเข้าสู่ปฏิกิริยาการส่งผ่านเอสเทอร์ (transerterification reaction) แบบเป็นชั้นอย่างต่อเนื่อง ในกลุ่มของโซนปฏิกิริยา ซึ่งวัสดุที่สามารถเกิดโพลีเมอร์ไรซ์ได้ ถูก เลือกจากกลุ่มที่ประกอบด้วยของผสมโมโนเมอร์หลอมเหลวของบิสฟีนอล A และคาร์บอนิคได เอสเทอร์ และ พรีโพลีเมอร์หลอมเหลวที่ได้จากกระบวนการที่ประกอบด้วย การทำปฏิกิริยาของ บิสฟีนอล A กับคาร์บอนิคไดเอสเทอร์ คาร์บอนิคไดเอสเทอร์ดังกล่าวแทนได้ด้วยสูตรต่อไปนี้ (สูตรเคมี) โดยที่ Ar3 และ Ar4 อาจเหมือนกันหรือต่างกัน และต่างใช้แทนหมู่อะโรเมติกส์ C5-C200 แบบวาเลนซี่เดียว มีคุณลักษณะที่ซึ่ง ปฏิกิริยาการการส่งผ่านเอสเทอร์แบบเป็นขั้นของวัสดุทีสามารถเกิด โพลีเมอร์ไรซ์ได้จะเกิดขึ้นเมื่อมีตัวเร่งปฏิกิริยาภายใต้สภาวะการเกิดปฏิกิริยา ซึ่งสอดคล้องกับสูตร (4) ต่อไปนี้ 0,2 น้อยกว่าหรือเท่ากับ(สูตร)(ki x TI x Hi) น้อยกว่าหรือเท่ากับ 1,2 (4) ที่ซึ่ง i แทน ตัวเลขโซนที่กำหนดเป็นลำดับระหว่างโซนปฏิกิริยาจำนวน n ของระบบ ปฏิกิริยา Ti แทนอุณหภูมิเฉลี่ย ( ํซ) ของวัสดุที่สามารถเกิดโพลีเมอร์ไรเซ์ได้ในโซน ปฏิกิริยาที่ i-th Hi แทนเวลาเฉลี่ย (ชั่วโมง) ของวัสดุที่สามารถเกิดโพลีเมอไรซ์ได้ในโซนปฏิกิริยา ที่ i-th ki แทนสัมประสิทธิ์ที่แทนด้วยสูตร (5) ต่อไปนี้ ki=1/(aXTi-b) (5) ที่ซึ่ง Ti เป็นตามที่ระบุข้างต้น และ a และ b ขึ้นกับ Ti และที่ซึ่ง เมื่อ Ti เป็นไป ตามสูตร Ti < 240 ํซ a มีค่า 1.60046X10 5 และ b มีค่า 0.472 เมื่อ Ti เป็นไปตามสูตร 240 ํ ซ น้อยกว่าหรือเท่ากับ Ti < 260 ํซ a มีค่า 4X10 49 และ b มีค่า 19.107 และ เมื่อ Ti เป็นไปตามสูตร 260 ํซ น้อยกว่าหรือเท่ากับ Ti a มีค่า 1X10 122 และ b มีค่า 49.082
2.โพลีคาร์บอเนต ตามข้อถือสิทธิที่ 1 ที่ซึ่ง หน่วยต่างกัน (B) มีอยู่ในปริมาณตั้ง แต่ 0.1 ถึง 30 โมล% เทียบกับปริมาณต่อโมลของหน่วยต่างกัน (A)
3.โพลีคาร์บอเนต ตามข้อถือสิทธิที่ 1 หรือ 2 ซึ่งถูกผลิตจากบิสฟีนอล A และ คาร์บอนิคไดเอสเทอร์ โดยการส่งผ่านเอสเทอร์
4. วิธีการผลิตโพลีคาร์บอเนต ซึ่งประกอบด้วยการนำวัสดุที่สามารถเกิดโพลี เมอไรซ์ได้อย่างน้อยชนิดหนึ่ง เข้าสู่ปฏิกิริยาการส่งผ่านเอสเทอร์แบบเป็นขั้นอย่างต่อเนื่องในกลุ่ม ของโซนปฏิกิริยา ซึ่งวัสดุที่สามารถเกิดโพลีเมอไรซ์ได้ถูกเลือกจากกลุ่มที่ประกอบด้วย ของผสมโมเนเมอร์หลอมเหลวของบิสฟีนอล A และคาร์บอนิคไดเอสเทอร์ และ พรีโพลีเมอร์หลอมเหลวที่ได้จากกระบวนการที่ประกอบด้วย การทำปฏิกิริยาของ บิสฟีนอล A กับคาร์บอนิคไดเอสเทอร์ คาร์บอนิคไดเอสเทอร์ดังกล่าวแทนได้ด้วยสูตร ต่อไปนี้ (สูตรเคมี) โดยที่ Ar3 และ Ar4 อาจเหมือนกันหรือต่างกัน และต่างใช้แทนหมู่อะโรเมติก C5-C200 แบบวาเลนซีเดียว การปรับปรุงซึ่งการทำปฏิกิริยาส่งผ่านเอสเทอร์แบบเป็นขั้นของวัสดุที่ สามารถเกิดโพลีเมอร์ไรซ์ได้จะเกิดขึ้นเมื่อมีตัวเร่งปฏิกิริยาภายใต้สภาวะการเกิดปฏิกิริยา ซึ่ง สอดคล้องกับสูตร (4) ต่อไปนี้ 0,2 น้อยกว่าหรือเท่ากับ (สูตร)(ki x Ti x Hl) น้อยกว่าหรือเท่ากับ 1,2 (4) ที่ซึ่ง i แทนตัวเลขโซนที่กำหนดเป็นลำดับระหว่างโซนปฏิกิริยาจำนวน n ของระบบ ปฏิกิริยา Ti แทนอุณหภูมิเฉลี่ย ( ํซ) ของวัสดุที่สามารถเกิดโพลีเมอไรซ์ได้ในโซนปฏิกิริยา ที่ i-th Hi แทนเวลาเฉลี่ย (ชั่วโมง) ของวัสดุที่สามารถเกิดโพลีเมอไรซ์ได้ในโซนปฏิกิริยา ที่ i-th ki แทนสัมประสิทธิ์ที่แทนด้วยสูตร (5) ต่อไปนี้ ki = 1/(aXTi-b) (5) ที่ซึ่ง Ti เป็นตามที่ระบุข้างต้น และ a และ b ขึ้นกับ Ti และที่ซึ่ง เมื่อ Ti เป็นไปตามสูตร Ti < 240 ํซ a มีค่า 1.60046X10 5 และ b มีค่า 0.472 เมื่อ Ti เป็นไปตามสูตร 240 ํซ น้อยกว่าหรือเท่ากับ Ti < 260 ํซ a มีค่า 4X10 49 และ b มีค่า 19.107 และ เมื่อ Ti เป็นไปตามสูตร 260 ํซ น้อยกว่าหรือเท่ากับ Ti a มีค่า 1X10 122 และ b มีค่า 49.082
TH9701000799A 1997-03-05 โพลีคาร์บอเนตที่มีหน่วยต่างกัน และวิธีในการผลิตสารชนิดเดียวกัน TH25333B (th)

Publications (2)

Publication Number Publication Date
TH32216A TH32216A (th) 1999-02-25
TH25333B true TH25333B (th) 2009-01-23

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
Baek et al. Synthesis of star‐shaped copolymers with methyl methacrylate and n‐butyl methacrylate by metal‐catalyzed living radical polymerization: block and random copolymer arms and microgel cores
Quinn et al. Facile synthesis of comb, star, and graft polymers via reversible addition–fragmentation chain transfer (RAFT) polymerization
US6353066B1 (en) Method for producing copolymers in the presence of a chain transfer agent
Inoue et al. Block copolymers derived from azobiscyanopentanoic acid. X. Synthesis of silicone–vinyl block copolymers via polysiloxane (azobiscyanopentanamide) s
TW200304454A (en) Method and system for preparing a polycarbonate, copolymerization reagent and polycarbonate
WO2003031480A3 (en) Process for monomer sequence control in polymerizations
KR960007630A (ko) 분자량이 조절된 트랜스-1,4-폴리부타디엔의 합성 방법
Ninago et al. Synthesis of Grafted Block Copolymers Based on ε‐Caprolactone: Influence of Branches on Their Thermal Behavior
ATE281480T1 (de) Aminogruppen enthaltende festphasenmatrix, verwendung und herstellung davon
Niwa et al. Kinetics of the Photopolymerization of Vinyl Monomers by Bis (Isopropylxanthogen) Disulfide. Design of Block Copolymers
Zhou et al. Copolyesters as non‐toxic plasticizers
JP2004525206A (ja) 加水分解安定性に優れたポリカーボネートコポリマー
TH25333B (th) โพลีคาร์บอเนตที่มีหน่วยต่างกัน และวิธีในการผลิตสารชนิดเดียวกัน
Mennicken et al. A Novel Macroinitiator for the Synthesis of Triblock Copolymers via Atom Transfer Radical Polymerization: Polystyrene‐block‐poly (bisphenol A carbonate)‐block‐polystyrene and Poly (methyl methacrylate)‐block‐poly (bisphenol A carbonate)‐block‐poly (methyl methacrylate)
TH32216A (th) โพลีคาร์บอเนตที่มีหน่วยต่างกัน และวิธีในการผลิตสารชนิดเดียวกัน
Kim et al. Kinetics of polycondensation and copolycondensation of Bis (3‐hydroxypropyl terephthalate) and Bis (2‐hydroxyethyl terephthalate)
Suzuki et al. Synthesis of well‐defined three‐armed polystyrene having thiourethane–isocyanurate as the core structure derived from trifunctional five‐membered cyclic dithiocarbonate
KR850000480A (ko) 메타-또는 파라-이소프로페닐-α,α-디메틸벤질이소시아네이트 공중합체의 제조방법
Suwier et al. Flexibilized styrene–N‐substituted maleimide copolymers. II. Multiblock copolymers prepared from PTHF‐based iniferters
Nair Macromonomers via free radical chain transfer; some aspects of their syntheses and kinetic prediction of functionality
DE3587012D1 (de) Herstellung von aromatischen keton-sulfon-copolymeren.
KR970010730A (ko) 메틸메타아크릴레이트 시럽의 제조방법
Sik Yoon et al. Effect of the copolycondensation temperature on the reactivities of bis (3‐hydroxypropyl) terephthalate and bis (2‐hydroxyethyl) terephthalate
Endo et al. Controlled radical polymerization of styrene in the presence of cyclic 1, 2‐disulfides
Fukuoka et al. Process for preparing crystallized aromatic polycarbonate and crystallized aromatic polycarbonate obtained by the process