TH18501A - วิธีการสำหรับผลิตอนุภาคดีเทอร์เจนท์ที่มีความหนาแน่นของกองสูง - Google Patents

วิธีการสำหรับผลิตอนุภาคดีเทอร์เจนท์ที่มีความหนาแน่นของกองสูง

Info

Publication number
TH18501A
TH18501A TH9501000632A TH9501000632A TH18501A TH 18501 A TH18501 A TH 18501A TH 9501000632 A TH9501000632 A TH 9501000632A TH 9501000632 A TH9501000632 A TH 9501000632A TH 18501 A TH18501 A TH 18501A
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
particles
mixer
production according
detergent
detergent particles
Prior art date
Application number
TH9501000632A
Other languages
English (en)
Other versions
TH18501B (th
TH12555B (th
Inventor
ฮาตาโนะ นายโคอิจิ
ยามาชิตะ นายฮิโรยูกิ
ซาคาอูเอะ นายมาซาอากิ
โตโยดะ นายโคจิ
ยามาดะ นายยาซูจิ
Original Assignee
นายดำเนิน การเด่น
นายต่อพงศ์ โทณะวณิก
นายวิรัช ศรีเอนกราธา
นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์
Filing date
Publication date
Application filed by นายดำเนิน การเด่น, นายต่อพงศ์ โทณะวณิก, นายวิรัช ศรีเอนกราธา, นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์ filed Critical นายดำเนิน การเด่น
Publication of TH18501A publication Critical patent/TH18501A/th
Publication of TH18501B publication Critical patent/TH18501B/th
Publication of TH12555B publication Critical patent/TH12555B/th

Links

Abstract

วิธีการสำหรับผลิตอนุภาคดีเทอร์เจนท์ที่ทำเป็นแกรนูลที่มีความหนาแน่นของกองสูง วิธีการมีลักษณะจำเพาะโดยการผสมอนุภาคดีเทอร์เจนท์ที่ทำเป็นแกรนูลที่มีความหนาแน่นของกอง เท่ากับจาก 500 ถึง 1,000 กรัม/ลิตร ในขณะที่ใช้แรงเฉือนที่การสัมผัสระหว่างกันและกันของ อนุภาคในเครื่องผสมทำให้เกิดขึ้น ตามวิธีการที่ใช้เครื่องผสมแบบถังของการประดิษฐ์นี้ สามารถได้นุภาคดีเทอร์เจนท์ ที่มีความหนาแน่นของกองสูงที่ทำการบำบัดเพื่อให้ความหนาแน่นของกองของอนุภาคดีเทอร์เจนท์ ที่ทำให้เป็นแกรนูล หรือของอนุภาคดีเทอร์เจนท์ที่ทำให้เป็นแกรนูลที่ได้รับการบำบัดเพื่อให้มีความ หนาแน่นของกองสูงขึ้นด้วยวิธีการตามปกติที่แต่ละชนิดมีความหนาแน่นของกองเท่ากับจาก 500 ถึง 1,000 กรัม/ลิตร เพิ่มขึ้นอีก 50 ถึง 200 กรัม/ลิตร

Claims (2)

1. วิธีการสำหรับผลิตอนุภาคดีเทอร์เจนท์ ซึ่งประกอบรวมด้วยการผสมอนุภาคดีเทอร์เจนท์ที่ ทำเป็นแกรนูลที่มีความหนาแน่นของกองเท่ากับจาก 500 ถึง 1,000 กรัม/ลิตร ในขณะที่ใช้แรงเฉือนที่ เกิดขึ้นโดยการที่อนุภาคสัมผัสซึ่งกันและกันในเครื่องผสม แบบภาชนะหมุนภายใต้สภาพของหมายเลข Froude เท่ากับจาก 0.2 ถึง 0.7 และสัดส่วน ปริมาตรการบรรจุเท่ากับจาก 15 ถึง 50% กำหนดหมายเลข Froude ด้วยสมการที่ให้ไว้ข้างล่าง Fr = V2 / (R x g) ที่ Fr เป็นหมายเลข Froude; V เป็นอัตราเร็วโดยรอบของเส้นรอบวงนอกสุดของเครื่องผสมแบบ ภาชนะหมุน; R เป็นรัศมีจากจุดศูนย์กลางของการหมุนไปยังเส้นรอบวงนอกสุดของเครื่องผสมแบบ ภาชนะหมุน และ g เป็นอัตราเร่งของแรงโน้มถ่วง ดังนั้นเพื่อเพิ่มความหนาแน่นของกองของอนุภาคดี เทอร์เจนทที่ทำเป็นแกรนูลเท่ากับ 50 ถึง 200 กรัม/ลิตร และดังนั้นเพื่อปรับปรุงความเป็นทรงกลม และ/หรือความเรียบของผิวของอนุภาคดีเทอร์เจนท์ที่ทำเป็นแกรนูลดังกล่าว 2. วิธีการสำหรับผลิตตามข้อถือสิทธิ 1 ซึ่งอนุภาคดีเทอร์เจนท์ที่ทำเป็นแกรนูลประกอบรวม ด้วยสารลดแรงตึงผิวนอนไอออนิค หรือสารลดแรงตึงผิวแอนไอออนิค 3. วิธีการสำหรับผลิตตามข้อถือสิทธิ 2 ซึ่งปริมาณของสารลดแรงตึงผิวแอนไอออนิคเท่ากับ จาก 5 ถึง 60% โดยน้ำหนักขออนุภาคดีเทอร์เจนท์ที่ทำเป็นแกรนูล 4. วิธีการสำหรับผลิตตามข้อถือสิทธิ 2 ซึ่งปริมาณของสารลดแรงตึงผิวแอนไอออนิคเท่ากับ จาก 5 ถึง 60% โดยน้ำหนักขออนุภาคดีเทอร์เจนท์ที่ทำเป็นแกรนูล 5. วิธีการสำหรับผลิตตามข้อถือสิทธิ 2 ซึ่งอนุภาคดีเทอร์เจนท์ที่ทำเป็นแกรนูลประกอบ รวมด้วยสารลดแรงตึงผิวนอนไอออนิคและทำให้ร้อนขึ้นถึงอุณหภูมิไม่ต่ำกว่า 35 ํซ. และผสมใน ขณะใช้แรงเฉือน 6. วิธีการสำหรับผลิตตามข้อถือสิทธิ 1 ซึ่งผลิตอนุภาคดีเทอร์เจนท์ที่มีความหนาแน่นของ กองสูงอย่างต่อเนื่องโดยการป้อนอนุภาคดีเทอร์เจนท์ที่ทำให้เป็นแกรนูลเข้าไปในเครื่องผสมแบบ ภาชนะหมุนอย่างต่อเนื่อง 7. วิธีการสำหรับผลิตตามข้อถือสิทธิ 1 ซึ่งเครื่องผสมแบบภาชนะหมุนประกอบด้วยใบพัด สำหรับกวนในส่วนด้านในของมันที่รัศมีการหมุนของใบพัดสำหรับกวนไม่เกินกว่า 0.8 เท่าของรัศมี การหมุนของเครื่องผสมแบบภาชนะหมุนและซึ่งดำเนินการกวนที่อัตราเร็วที่ปลายของใบพัดสำหรับ การกวนเท่ากับจาก 1 ถึง 6 เมตร/วินาที 8. วิธีการสำหรับผลิตตามข้อถือสิทธิ 1 ซึ่งเติมอนุภาคที่มีเส้นผ่าศูนย์กลางของอนุภาคปฐมภูมิ โดยเฉลี่ยไม่เกินกว่า 10 ไมโครเมตรเข้าไปในปริมาณเท่ากับจาก 0.1 ถึง 10.0 ส่วนโดยน้ำหนัก เมื่อ เทียบกับอนุภาคดีเทอร์เจนท์ที่ทำให้เป็นแกรนูล 100 ส่วนโดยน้ำหนัก 9. วิธีการสำหรับผลิตตามข้อถือสิทธิ 1 ซึ่งเป็นปัจจัยความเรียบของผิวของอนุภาคดีเทอร์เจนท์ที่ ทำให้เป็นแกรนูลไม่เกินกว่า 70% ของปัจจัยความเรียบของผิวตอนเริ่มแรกของมัน 1 0. วิธีการสำหรับผลิตตามข้อถือสิทธิ 1 ซึ่งเครื่องผสมแบบภาชนะหมุนมีแผ่นคั่นหลายแผ่น ที่จัดเอาไว้ตั้งได้ฉากกับเส้นกลางของการหมุนของภาชนะติดแผ่นคั่นเอาไว้ในทิศทางของเส้นกลาง ของการหมุน 1
1. วิธีการสำหรับผลิตตามข้อถือสิทธิ 7 ซึ่งใบพัดสำหรับการกวนเป็นใบพัดแบบแท่งหรือใบ พัดคล้ายแผ่น จัดใบพัดสำหรับการกวนไว้ให้ขนานกับเส้นกลางของการหมุนของเครื่องผสมแบบ ภาชนะหมุน 1
2. วิธีการสำหรับผลิตตามข้อถือสิทธิ 1 ที่เครื่องผสมแบบภาชนะหมุนเป็นเครื่องผสมแบบ ถัง
TH9501000632A 1995-03-28 วิธีการสำหรับผลิตอนุภาคดีเทอร์เจนท์ที่มีความหนาแน่นของกองสูง TH12555B (th)

Publications (3)

Publication Number Publication Date
TH18501A true TH18501A (th) 1996-05-09
TH18501B TH18501B (th) 1996-05-09
TH12555B TH12555B (th) 2002-04-25

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
US5358328A (en) Mixing device
ES2210227T3 (es) Procedimiento para fabricar microsferas secas y un producto de microsferas.
US5544960A (en) Faceted stirring object for solid and liquid food substances
EP0662823A1 (en) Process for the preparation of drug pellets
US4358207A (en) Blending system for dry solids
JPH0460696B2 (th)
US5795856A (en) Method for producing detergent particles having high bulk density
JPH1033971A (ja) シリコーンレジン中空体およびその製造方法
TH18501A (th) วิธีการสำหรับผลิตอนุภาคดีเทอร์เจนท์ที่มีความหนาแน่นของกองสูง
TH12555B (th) วิธีการสำหรับผลิตอนุภาคดีเทอร์เจนท์ที่มีความหนาแน่นของกองสูง
JP3085119B2 (ja) 攪拌装置、微小液滴の形成方法及びその装置
JP3140463B2 (ja) 微小球体の乾燥方法
CN1085202A (zh) 粉状乳化炸药及其制备方法
US3271194A (en) Solidification of saccharide solutions
US3801463A (en) Preparation of enzymes in particulate form
US6432329B1 (en) Methods of manufacturing granular compositions
JP4011192B2 (ja) 造粒物の製造方法
JP2005514202A (ja) 造粒攪拌機
EP0487310A1 (en) Mixing device and mixing method
CN1081944C (zh) 珠状产物的水基形成
JPS5843227A (ja) 分散液粒の製造方法
JPH0834999A (ja) 高嵩密度洗剤粒子の製造方法
TH18501B (th) วิธีการสำหรับผลิตอนุภาคดีเทอร์เจนท์ที่มีความหนาแน่นของกองสูง
Litster et al. Mixer Granulators
Zhiping et al. Drop stabilisation by inorganic solids in suspension polymerisation: Effect of inorganic particle size using a wax model