TH16477B - กรรมวิธีสำหรับการเตรียมวัสดุพอลิเมอร์เชื่อมขวางความหนาแน่นต่ำชนิดที่มีรูพรุน - Google Patents

กรรมวิธีสำหรับการเตรียมวัสดุพอลิเมอร์เชื่อมขวางความหนาแน่นต่ำชนิดที่มีรูพรุน

Info

Publication number
TH16477B
TH16477B TH9301000780A TH9301000780A TH16477B TH 16477 B TH16477 B TH 16477B TH 9301000780 A TH9301000780 A TH 9301000780A TH 9301000780 A TH9301000780 A TH 9301000780A TH 16477 B TH16477 B TH 16477B
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
water
monomer
process according
internal phase
oil emulsion
Prior art date
Application number
TH9301000780A
Other languages
English (en)
Other versions
TH41949EX (th
TH41949A (th
Inventor
มาร์แชลล์ บาสส์ นายโรนัลด์
แฟร์ไชลด์ บราวน์สคอมบ์ นายโธมัส
Original Assignee
นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์
นางสาวปรับโยชน์ ศรีกิจจาภรณ์
นายบุญมา เตชะวณิช
นายต่อพงศ์ โทณะวณิก
Filing date
Publication date
Application filed by นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์, นางสาวปรับโยชน์ ศรีกิจจาภรณ์, นายบุญมา เตชะวณิช, นายต่อพงศ์ โทณะวณิก filed Critical นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์
Publication of TH41949EX publication Critical patent/TH41949EX/th
Publication of TH41949A publication Critical patent/TH41949A/th
Publication of TH16477B publication Critical patent/TH16477B/th

Links

Abstract

การประดิษฐ์นี้ให้กรรมวิธีสำหรับการผลิตของอิมัลชันที่มีเฟสภายในสูงแบบน้ำในน้ำมันที่สามารถบ่มได้เสถียรซึ่งมีโนโนเมอร์ต่าง ๆ เป็นเฟสต่อเนื่องโดยเติมตัวเร่งปฏิกิริยาของการเกิดพอลิเมอร์หลังจากการก่อเกิดของอิมัลชันแบบน้ำในน้ำมันแล้วปฏิบัติให้อีมัลชันที่มีเฟสภายในสูงแบบน้ำในน้ำมันที่สามารถบ่มได้เหล่านี้ก่อเกิดพอลิเมอร์และบ่มตัวให้วัสดุพอลิเมอร์เชื่อมขวางความหนาแน่นต่ำชนิดที่มีรูพรุน

Claims (9)

1. กรรมวิธีสำหรับการเตรียมของวัสดุพอลิเมอร์เชื่อมขวางชนิดที่มีรูพรุน ซึ่งประกอบรวมด้วยขั้นตอนต่าง ๆ ดังนี้ (a) การจัดให้มีกระแสแอคเควียสซึ่งประกอบรวมด้วยน้ำและอิเล็กโทรไลต์, (b) การจัดให้มีกระแสของโมโนเมอร์ซึ่งประกอบด้วยของผสมของโมโนเมอร์ที่สามารถเกิดพอลิเมอร์ได้ ซึ่งประกอบรวมด้วยไวนิลโมโนเมอร์อย่างน้อยที่สุด 1 ชนิด และโมโนเมอร์ช่วยเชื่อมขวางชนิดไม่อิ่มตัวมี 2 หมู่ฟังก์ชันจากประมาณ 2 ถึงประมาณ70 เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนักบนพื้นฐานของของผสมนี้, (c) การจัดให้มีสารลดแรงตึงผิวเข้าไปในกระแสแอคเควียส,กระแสของโมโนเมอร์หรือทั้งกระแสแอคเควียสและกระแสของโมโนเมอร์นี้, (d) การรวมและการผสมกระแสแอคเควียสที่กล่าวแล้วและกระแสของโมโนเมอร์ที่กล่าวแล้วในภาชนะผสมภายใต้สภาวะต่าง ๆ ที่มีผลเพื่อผลิตให้อิมัลชันแบบน้ำในน้ำมัน ซึ่งมีเฟสภายในสูงซึ่งมีน้ำเป็นเฟสภายในอยู่ด้วยอย่างน้อยที่สุด 90เปอร์เซ็นต์ โดยน้ำหนักบนพื้นฐานของอิมัลชันนี้, (e) จากนั้นการเติมตัวเร่งปฏิกิริยาของการเกิดพอลิเมอร์ให้แก่อย่างน้อยที่สุดเป็นส่วนของอิมัลชันแบบน้ำในน้ำมันซึ่งมีเฟสภายในสูงที่กล่าวแล้ว ในปริมาณที่ให้ผลเพื่อให้อิมัลชันแบบน้ำในน้ำมันซึ่งมีเฟสภายในสูงที่สามารถบ่นได้, และ (f) จากนั้นการปฏิบัติให้อิมัลชันแบบน้ำในน้ำมันซึ่งมีเฟสภายในสูงที่สามารถบ่มได้นี้ เกิดเป็นพอลิเมอร์ที่อุณหภูมิอย่างน้อยที่สุดประมาณ 25 ํซ. เป็นระยะเวลาที่ให้ผลเพื่อบ่มโมโนเมอร์นี้ได้
2. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ซึ่งตัวเร่งปฏิกิริยาของการเกิดพอลิเมอร์นี้อยู่ในปริมาณประมาณ 0.005 ถึงประมาณ 15เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนักบนพื้นฐานของโมโนเมอร์ที่สามารถเกิดพอลิเมอร์ได้นี้
3. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 2 ซึ่งตัวเร่งปฏิกิริยาของการเกิดพอลิเมอร์นี้เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาชนิดที่ละลายได้ในน้ำ
4. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 2 ซึ่งตัวเร่งปฏิกิริยาของการเกิดพอลิเมอร์นี้เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาชนิดที่ละลายได้ในน้ำมันได้
5. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 2 ซึ่งดึงเอาอิมัลชันแบบน้ำในน้ำมันซึ่งมีเฟสภายในสูงอย่างน้อยที่สุดส่วนหนึ่งออกจากภาชนะผสมนี้ก่อนเติมตัวเร่งปฏิกิริยาของการเกิดพอลิเมอร์นี้ลงไป
6. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 5 ซึ่งเติมตัวเร่งปฏิกิริยาลงไปในอิมัลชันแบบน้ำในน้ำมัน ซึ่งมีเฟสภายในสูงที่ดึงออกมาแล้วนั้น
7. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 2 ซึ่งเติมตัวเร่งปฏิกิริยาของการเกิดพอลิเมอร์นี้ลงไปในภาชนะผสม
8. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 2 ซึ่งไวนิลโมโนเมอร์นี้เลือกจากกลุ่มที่ประกอบด้วยโมโนแอลคีนิล, แอรีน, แอคคริเลทหรือเมธะคริเลท เอสเทอร์ หรือคอนจูเกเทด ไดโอลิฟิน และของผสมของสารนั้น
9. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 8 ซึ่งโมโนเมอร์ช่วยเชื่อมขวางชนิดไม่อิ่มตัวมี 2 หมู่ฟังก์ชันนี้เลือกจากกลุ่มที่ประกอบด้วยไดไวนิลเบนซีน, ไดเอธิลีน ไกลคอล ไดเมธะคริเลท,3-บิวทิลีน ไดเมธาริเลทและแอลลิล เมธะคริเลท 1
0. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 9 ซึ่งมีสารลดแรงตึงผิวนี้เลือกจากกลุ่มที่ประกอบด้วยสารลดแรงตึงผิวชนิดนอนไอออนิก,สารลดแรงตึงผิวชนิดแคทไอออนิกและสารลดแรงตึงผิวชนิดแอนไอออนิก 1
1. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 10 ซึ่งอิมัลชันแบบน้ำในน้ำมันซึ่งมีเฟสภายในสูงนี้ประกอบรวมด้วยน้ำอย่างน้อยที่สุดประมาณ 95 เปอร์เซ็นต์บนพื้นฐานของอิมัลชันนี้เป็นเฟสภายใน 1
2. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 11 ซึ่งบ่มอิมัลชันแบบน้ำในน้ำมันที่สามารถบ่มได้ในขั้นตอน (f) จนกระทั่งโมโนเมอร์เกิดปฏิกิริยาอย่างน้อยที่สุด 85% 1
3. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 12 ซึ่งบ่มอิมัลชันแบบน้ำในน้ำมันที่สามารถบ่มได้ในขั้นตอน (f) จนกระทั่งโมโนเมอร์เกิดปฏิกิริยาอย่างน้อยที่สุด 90% 1
4. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 13 ซึ่งบ่มให้อิมัลชันแบบน้ำในน้ำมันซึ่งมีเฟสภายในสูงที่สามารถบ่มได้นี้ในแบทซ์ 1
5. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 13 ซึ่งบ่มให้อิมัลชันแบบน้ำในน้ำมันซึ่งมีเฟสภายในสูงที่สามารถบ่มได้นี้แบบต่อเนื่อง 1
6. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ซึ่งผสมผสานตัวเร่งปฏิกิริยาของการเกิดพอลิเมอร์นี้ในขั้นตอน (e) ต่อไปภายใต้สภาวะต่าง ๆ ที่มีผลเพื่อก่อเกิดอิมัลชันที่สม่ำเสมอโดยส่วนใหญ่แต่น้อยกว่าจุดที่มีเสถียรภาพของแรงเฉือนโดยธรรมชาติ 1
7. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ซึ่งผสมผสานตัวเร่งปฏิกิริยาของการเกิดพอลิเมอร์นี้ในขั้นตอน (e) ต่อไปภายใต้สภาวะต่าง ๆ ที่มีผลเพื่อก่อเกิดวัสดุพอลิเมอร์เชื่อมขวางชนิดที่มีรูพรุนที่สม่ำเสมอโดยส่วนใหญ่ 1
8. กรรมวิธีสำหรับการเตรียมของวัสดุพอลิเมอร์เชื่อมขวางชนิดที่มีรูพรุน ซึ่งประกอบรวมด้วยขั้นต่าง ๆ ดังนี้ (a) การจัดให้มีกระแสแอคเควียสซึ่งประกอบรวมด้วยน้ำและอิเล็กโทรไลต์, (b) การจัดให้มีกระแสของโมโนเมอร์ซึ่งประกอบด้วยของผสมของโมโนเมอร์ที่สามารถเกิดพอลิเมอร์ได้ ซึ่งประกอบรวมด้วยไวนิลโมโนเมอร์อย่างน้อยที่สุด 1 ชนิด และโมโนเมอร์ช่วยเชื่อมขวางชนิดไม่อิ่มตัวมี 2 หมู่ฟังก์ชันจากประมาณ 2 ถึงประมาณ70 เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนักบนพื้นฐานของของผสมนี้, (c) การจัดให้มีสารลดแรงตึงผิวเข้าไปในกระแสแอคเควียส,กระแสของโมโนเมอร์หรือทั้งกระแสแอคเควียสและกระแสของโมโนเมอร์นี้, (d) การรวมและการผสมกระแสแอคเควียสที่กล่าวแล้วและกระแสของโมโนเมอร์ที่กล่าวแล้วในภาชนะผสมภายใต้สภาวะต่าง ๆ ที่มีผลเพื่อผลิตให้อิมัลชันแบบน้ำในน้ำมัน ซึ่งมีเฟสภายในสูงซึ่งมีน้ำเป็นเฟสภายในอยู่ด้วยอย่างน้อยที่สุด 90เปอร์เซ็นต์ โดยน้ำหนักบนพื้นฐานของอิมัลชันนี้, (e) การดึงเอาอิมัลชันแบบน้ำในน้ำมันซึ่งมีเฟสภายในสูงที่กล่าวแล้วอย่างน้อยที่สุดส่วนหนึ่งออกจากภาชนะผสม (f) จากนั้น การเติมตัวเร่งปฏิกิริยาของการเกิดพอลิเมอร์ให้แก่อย่างน้อยที่สุดเป็นส่วนของอิมัลชันแบบน้ำในน้ำมันซึ่งมีเฟสภายในสูงที่กล่าวแล้ว ในปริมาณที่ให้ผลเพื่อให้อิมัลชันแบบน้ำในน้ำมันซึ่งมีเฟสภายในสูงที่สามารถบ่มได้, และ (g) จากนั้น การปฏิบัติให้อิมัลชันแบบน้ำในน้ำมันซึ่งมีเฟสภายในสูงที่สามารถบ่มได้นี้เกิดเป็นพอลิเมอร์ที่อุณหภูมิอย่างน้อยที่สุดประมาณ 25 ซ. เป็นระยะเวลาที่ให้ผลเพื่อบ่มโมโนเมอร์นี้ได้ 1
9. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 18 ซึ่งตัวเร่งปฏิกิริยาของการเกิดพอลิเมอร์นี้เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาชนิดที่ละลายได้ในน้ำ 2
0. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 18 ซึ่งตัวเร่งปฏิกิริยาของการเกิดพอลิเมอร์นี้เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาชนิดที่ละลายได้ในน้ำมัน
TH9301000780A 1993-05-10 กรรมวิธีสำหรับการเตรียมวัสดุพอลิเมอร์เชื่อมขวางความหนาแน่นต่ำชนิดที่มีรูพรุน TH16477B (th)

Publications (3)

Publication Number Publication Date
TH41949EX TH41949EX (th) 2000-12-21
TH41949A TH41949A (th) 2000-12-21
TH16477B true TH16477B (th) 2004-03-24

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
US5210104A (en) Process for preparing low density porous crosslinked polymeric materials
KR960703976A (ko) 저밀도의 교차 결합된 다공성 중합물질의 제조방법(process for preparing low ednsity porous crosslinked polymeric materials)
DE69304906T2 (de) Verfahren zur herstellung von porös vernetztem polymer mit niedriger dichte
Delgado et al. Miniemulsion copolymerization of vinyl acetate and butyl acrylate. I. Differences between the miniemulsion copolymerization and the emulsion copolymerization processes
GB1493356A (en) Water-extended polymeric materials
DE69809247D1 (de) Verfahren zur herstellung von hyperverzweigten polymeren
ATE7146T1 (de) Polymerisationsverfahren zur herstellung nichtwaessriger dispersionen von mikropartikeln und ueberzugszusammensetzungen, die diese mikropartikel enthalten.
ES8603517A1 (es) Un procedimiento para la preparacion de un producto polimerico entrecruzado, homogeneo, poroso y sulfonado
DE69701448T2 (de) Verfahren zur herstellung von schaumstoffen aus emulsionen mit grosser innerer phase
Chieng et al. Morphology of microporous polymeric materials by polymerization of methyl methacrylate and 2-hydroxyethyl methacrylate in microemulsions
CN110172123A (zh) 亲水疏油性多孔聚合物及其制备方法
Okay Styrene‐divinylbenzene copolymers. VI. Porosity formation in the presence of toluene‐cyclohexanol mixtures as inert diluents
ATE214078T1 (de) Verfahren zur herstellung einer zweiphasigen schaumzusammensetzung
US2104760A (en) Plastic materials
TH16477B (th) กรรมวิธีสำหรับการเตรียมวัสดุพอลิเมอร์เชื่อมขวางความหนาแน่นต่ำชนิดที่มีรูพรุน
TH41949A (th) กรรมวิธีสำหรับการเตรียมวัสดุพอลิเมอร์เชื่อมขวางความหนาแน่นต่ำชนิดที่มีรูพรุน
Šňupárek Jr Particle coagulation at semicontinuous emulstion polymerization. I. Some factors affecting the process
Gan et al. Polymerization in the transparent water-in-oil solutions (I). methyl methacrylate and the copolymerizable cosurfactant
KR960037702A (ko) 수성 중합체 에멀션
KR870007231A (ko) 방사 가공될 수 있는 코팅 조성물
GB1428125A (en) Water-extended polymers
GB1512762A (en) Process for producing water-soluble vinyl high-polymers by reversed-phase emulsion polymerization
US3919083A (en) Treatment of floating pollutants
TH41949EX (th) กรรมวิธีสำหรับการเตรียมวัสดุพอลิเมอร์เชื่อมขวางความหนาแน่นต่ำชนิดที่มีรูพรุน
SU416364A1 (th)