TH15952A3 - เครื่องผสานพลังงานไฟฟ้าแบบอนุกรมด้วยเซลล์แสงอาทิตย์ - Google Patents

เครื่องผสานพลังงานไฟฟ้าแบบอนุกรมด้วยเซลล์แสงอาทิตย์

Info

Publication number
TH15952A3
TH15952A3 TH1703002080U TH1703002080U TH15952A3 TH 15952 A3 TH15952 A3 TH 15952A3 TH 1703002080 U TH1703002080 U TH 1703002080U TH 1703002080 U TH1703002080 U TH 1703002080U TH 15952 A3 TH15952 A3 TH 15952A3
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
signal
circuit
voltage
designed
power
Prior art date
Application number
TH1703002080U
Other languages
English (en)
Other versions
TH15952C3 (th
TH15952B (th
Inventor
วัฒนกุล รองศาสตราจารย์นรินทร์
Filing date
Publication date
Application filed filed Critical
Publication of TH15952C3 publication Critical patent/TH15952C3/th
Publication of TH15952B publication Critical patent/TH15952B/th
Publication of TH15952A3 publication Critical patent/TH15952A3/th

Links

Abstract

------27/06/2561------(OCR) หน้า 3 ของจำนวน 1 หน้า บทสรุปการประดิษฐ์ เครื่องผสานพลังงานไฟฟ้าแบบอนุกรมด้วยเซลล์แสงอาทิตย์ ขนาด 500 วีเอ (VA) ซึ่งเป็น เครื่องอัตโนมัติประเภทที่มีความสามารถช่วยการประหยัดพลังงานได้ 50 เปอร์เซ็นต์ โดยอาศัยการ ผสานพลังงานไฟฟ้าแบบอนุกรม โดยใช้พลังงานจากเซลล์แสงอาทิตย์แบบลำพัง (PV Stand-alone) และระบบวงจรจะสามารถตรวจจับคุณภาพของแรงดันไฟฟ้า อาทิ เช่น แรงดันตกหรือแรงดันขาด หาย เป็นต้น ระบบวงจรอิเล็กทรอนิกส์จะทำงานโดยส่งสัญญาณไปยังชุดวงจรควบคุมแรงดันตก (Voltage sag) แรงดันขาดหาย (Voltage Interruption) ระบบที่ออกแบบนี้จำเป็นต้องใช้แบตเตอรี่ เนื่องจากจำเป็นต้องกักเก็บพลังงานสำรองโดยมีวงจรอัดประจุแบตเตอรี่แบบอัตโนมัติที่มี ประสิทธิภาพแบบบัคและบูส (Buck -Boots Charger)เพื่อต้องการให้แบตเตอรี่มีอายุการใช้งานที่ ยาวนานขึ้น ------------ ------27/09/2555------(OCR) หน้า 1 ของจำนวน 1 หน้า บทสรุปการประดิษฐ์ ตู้รวมวงจรไฟฟ้าระบบ 1 เฟส ที่ปกติ ในสภาวะปกติของการใช้งานตลอด 24 ชม การ ประดิษฐ์นี้สามารถลดค่าใช้จ่ายด้านพลังงานได้ 50 เปอร์เซ็นต์และแก้ปัญหาคุณภาพแรงดันไฟฟ้า เช่น แรงดันตก (Voltage sag) แรงดันขาดหาย (Voltage Interruption) อาศัยการใช้พลังงานจากเซลล์ แสงอาทิตย์แบบลำพัง (PV Stand-alone) และ เมื่อเกิดเหตุดังกล่าววงจรอิเล็กทรอนิกส์จะส่ง สัญญาณไปยังชุดวงจรควบคุมอินเวอร์เตอร์เพื่อควบคุมและชดเชยแรงดันตก แรงดันขาดหาย ระบบที่ออกแบบนี้จำเป็นต้องใช้แบตเตอรี่เนื่องจากจำเป็นต้องกักเก็บพลังงานสำรองโดยมีวงจรอัด ประจุแบตเตอรี่แบบอัตโนมัติที่มีประสิทธิภาพแบบบัคและบูส (Buck -Boots Charger)เพื่อต้องการ ให้แบตเตอรี่มีอายุการใช้งานที่ยาวนานขึ้น ------------ หน้า 1 ของจำนวน 1 หน้า บทสรุปการประดิษฐ์ ตู้รวมวงจรไฟฟ้าระบบ 1 เฟส ที่ปกติ ในสภาวะปกติของการใช้งานตลอด 24 ชม การ ประดิษฐ์นี้สามารถลดค่าใช้จ่ายด้านพลังงานได้ 50 เปอร์เซ็นต์และแก้ปัญหาคุณภาพแรงดันไฟฟ้า เช่น แรงดันตก (Voltage sag) แรงดันขาดหาย (Voltage Interruption) อาศัยการใช้พลังงานจากเซลล์ แสงอาทิตย์แบบลำพัง (PV Stand-alone) และ เมื่อเกิดเหตุดังกล่าววงจรอิเล็กทรอนิกส์จะส่ง สัญญาณไปยังชุดวงจรควบคุมอินเวอร์เตอร์เพื่อควบคุมและชดเชยแรงดันตก แรงดันขาดหาย ระบบที่ออกแบบนี้จำเป็นต้องใช้แบตเตอรี่เนื่องจากจำเป็นต้องกักเก็บพลังงานสำรองโดยมีวงจรอัด ประจุแบตเตอรี่แบบอัตโนมัติที่มีประสิทธิภาพแบบบัคและบูส (Buck -Boots Charger)เพื่อต้องการ ให้แบตเตอรี่มีอายุการใช้งานที่ยาวนานขึ้น

Claims (2)

ข้อถือสิทธฺ์ (ทั้งหมด) ซึ่งจะไม่ปรากฏบนหน้าประกาศโฆษณา :------27/06/2561------(OCR) หน้า 1 ของจำนวน 2 หน้า ข้อถือสิทธิ 1. เครื่องผสานพลังงานไฟฟ้าแบบอนุกรมด้วยเซลล์แสงอาทิตย์ ประกอบด้วยโครงสร้างของ ส่วนประกอบด้วย 2 ส่วนหลักได้แก่ ระบบเซลล์แสงอาทิตย์ (1) ระบบอัดประจุแบตเตอรี่ (2.1) ระบบ คลังแบตเตอรี่ (3) และระบบอินเวอร์เตอร์ (4.1) เครื่องนี้สามารถแก้ปัญหาคุณภาพแรงดันไฟฟ้า เช่น แรงดันตก (Voltage sag) แรงดันขาดหาย (Voltage interruption) ในช่วงสั้นและช่วงยาว อีกทั่งสามารถ ลดอัตราการใช้พลังงานไฟฟ้าลดลงได้ 50 เปอร์เซ็นต์ ได้ในช่วงสภาวะไฟฟ้าปกติตลอด 24 ชั่วโมง ซึ่ง เหมาะสมกับโหลดที่มีอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ควบคุม โหลดภายในสำนักงาน หรือโหลดภายในบ้าน อาศัยลักษณะการใช้งานต้องต่อวงจรร่วมกับไฟฟ้าภายในบ้าน 1 เฟส (50Hz) เป็นต้น และส่วนที่สอง เป็นส่วนรายละเอียดวงจรเครื่องอัดประจุแบตเตอรี่ (2.2) วงจรภายในเครื่องอินเวอร์เตอร์ (4.2) ดังมี รายละเอียดดังต่อไปนี้ ระบบวงจรอัดประจุแบตเตอรี่ (2.3) ทำหน้าที่ อัดประจุแบตเตอรี่อย่างสม่ำเสมอของกระแสอัด ประจุแบตเตอรี่ โดยขาเข้ารับกระแสทางออกของระบบผลิตไฟฟ้าด้วยเซลล์แสงอาทิตย์ การออกแบบ ด้วยการกำหนดให้ใช้ไอซี (IC) เบอร์ LM 311 ใช้เป็นสัญญาณเปรียบเทียบและ ไอซี (IC) เบอร์ 74HC04N, 74LS07N เป็นสัญญาณพีดับบลิวเอ็มทางออกที่ 1(PWM-1) และสัญญาณพีดับบลิวเอ็ม ทางออกที่ 2 ( PWM-2 ) โดยใช้เพาเวอร์มอสเฟสจำนวน 2 ตัวโดยตัวที่ 1 ควบคุมแบบบัค (Buck Converter) และตัวที่ 2 ควบคุมแบบบูส (Boots Converter) ระบบวงจรกำเนิดคลื่นสามเหลี่ยม (2.4) ทำหน้าที่ กำหนดการสวิทซ์สัญญาณกระแสด้วย ความถี่ 10 KHz สัญญาณคลื่นสามเหลี่ยมและสัญญาณกระแสอัดประจุแบตเตอรี่นำมาเปรียบเทียบเพื่อ ควบคุมการทำงานเพาเวอร์มอสเฟส จำนวน 2 ตัว ได้แก่ สัญญาณดิวตี้ไซเคิล ของตัวที่ 1 (PWM-1 )ทำ หน้าที่กำจัดกระแสอัดประจุให้มีค่าต่ำโดยควบคุมแรงดันให้มีค่าต่ำและสัญญาณตัวที่ 2 (PWM-2 )ทำ หน้าที่เพิ่มกระแสอัดประจุให้มีค่าสูงโดยควบคุมแรงดันให้มีค่าสูง ระบบวงจรถูกออกแบบด้วยการ กำหนดให้ใช้ ไอซี (IC) เบอร์ L 8038 , LM 311, 74LS07 ภาควงจรตรวจจับสัญญาณไซน์จุดศูนย์ (Zero crossing) (4.3) ทำหน้าที่ ตรวจจับสัญญาณไฟฟ้า กระแสสลับทางเข้าเพื่อหาจุดเริ่มต้น ณ มุมศูนย์ของสัญญาณไซน์ ถูกออกแบบด้วยการกำหนดให้ใช้ ไอซี (IC) เบอร์ LF 412 หรือ LF 357 และวงจรเฟสล็อกลูป (PLL) ถูกออกแบบด้วยการกำหนดให้ใช้ ไอซี (IC) เบอร์ HD14046B ภาควงจรถอดรหัส (4.4)ทำหน้าที่ ถอดรหัสสัญญาณอนาล็อกเป็นสัญญาณดิจิตอลแบบนับ เลขฐานสอง (0000-1111) การออกแบบด้วยการกำหนดให้ใช้ไอซี (IC) เบอร์ 74HC163 ภาควงจรข้อมูลอีพร็อม EPROM (Table sine) (4.5) ทำหน้าที่ รับข้อมูลจากสัญญาณดิจิตอล ของภาควงจรถอดรหัส และสั่งสัญญาณดิจิตอลออกในรูปแบบเสมือนของสัญญาณไซน์ (Q0-Q7) โดย ถูกออกแบบด้วยการกำหนดให้ใช้ ไอซี (IC) เบอร์ AT 27C25 หน้า 2 ของจำนวน 2 หน้า ภาควงจรดิจิตอลแปลงเป็นอนาล็อก (D/A ) (4.6) ทำหน้าที่ แปลงสัญญาณดิจิตอลออกเป็น สัญญาณอนาล็อกสัญญาณไซน์ ถูกออกแบบด้วยการกำหนดให้ใช้ ไอซี (IC) เบอร์ AD 7524 ภาควงจรผสมสัญญาณสองสัญญาณ (4.7) ทำหน้าที่ ทำหน้าที่ผสมสัญญาณเพื่อหาผลต่างของ การเปลี่ยนแปลงสัญญาณแรงดัน (Error) ซึ่งประกอบด้วยตรวจจับสัญญาณแรงดัน ผิดพร่อง ประกอบด้วย แรงดันตก แรงดันเกิน ไฟดับ Vs(Line) และคลื่นสัญญาณไซน์อ้างอิ่งให้มีเฟสตรงกับ สัญญาณไซน์ของการไฟฟ้า (Vss) ถูกออกแบบด้วยการกำหนดให้ใช้ ไอซี (IC) เบอร์ LF 412 ภาควงจรเดลต้าซิกม่ามอดูเลชั่น (Delta Sigma Modulation) (4.8) ทำหน้าที่ ทำหน้าที่รับ สัญญาณผลต่างของสัญญาณแรงดันที่ต้องการแก้ปัญหาได้แก่ แรงดันไฟตก และไฟดับ เพื่อมอดูเลชั่น สัญญาณพีดับบลิวเอ็ม(PWM) ถูกออกแบบด้วยการกำหนดให้ใช้ไอซี (IC) เบอร์ LF 412 ภาควงจรสลับเฟสและหน่วงวงจร (td) (4.9) ทำหน้าที่ รับสัญญาณเข้าเป็นสัญญาณการมอ ดูเลชั่นพีดับบลิวเอ็ม และระบบภาควงจรนี้ถูกกำหนดให้สัญญาณทางออกเป็นสองสัญญาณทางออกที่ มีผลต่างสลับเปลี่ยนตรงข้าม (Out of Phase) ซึ่งสัญญาณดังกล่าวถูกกำหนดให้หน่วงเวลาซึ่งกันและกัน ดังนั้นการออกแบบกำหนดให้ใช้ค่าความต้านทาน (1k, 2.2k) ไดโอด (Diode) คาปาซิเตอร์ 182 uF และ IC เบอร์ 74HC04N, 74HC132, 74LS07N ภาควงจรขับกระแสกระตุ้นเพาเวอร์มอสเฟส (4.10) ทำหน้าที่ รับสัญญาณการมอดูเลชั่นพี ดับบลิวเอ็ม(SPWM)ถูกออกแบบด้วยการกำหนดให้ใช้ IC เบอร์ TLP250 สัญญาณหมายเลข (G1,E1) และหมายเลข (G2,E2) ภาควงจรกำลังอินทอร์เตอร์แบบพุชพูล (Push Pull) (4.11) ทำหน้าที่ ขับกระแสโดยใช้เพาเวอร์ มอสเฟสจำนวน 2 ตัว และวงจรฟิลเตอร์ LC-Filter ถูกต่อวงจรเข้ากับทางออกของหม้อแปลงอนุกรม ลดทอนแรงดันชดเชย (Vinj) ภาควงจรหม้อแปลงลดทอนแรงดันต้นทาง (Vss) (4.12) ทำหน้าที่ ลดแรงดันขาเข้าโดยมี อัตราส่วนเรโชหม้อแปลง (a=230/115V) ขนาด 250 VAและ หม้อแปลงอนุกรมลดทอนแรงดันชดเชย (Vinj) (4.13) ทำหน้าที่ รับสัญญาณขับกระแสจากอินเวอร์เตอร์ของภาควงจรกำลังอินเวอร์เตอร์แบบ พุชพูล (Push Pull) ชดเชยแรงดันต้นทางที่เปลี่ยนแปลง (Voltage Sag)และแรงดันขาดหาย (Voltage Interruption) โดยมีอัตราส่วนเรโช (a=230/115V) ขนาด 250 VA 2. เครื่องผสานพลังงานแบบอนุกรมด้วยเซลล์แสงอาทิตย์ตามข้อถือสิทธิ 1 ที่ซึ่งภาคระบบ วงจรอิเล็กทรอนิกส์เป็นระบบวงจรอัดประจุแบตเตอรี่หมายเลข (2) และระบบวงจรแปลงกระแสที่ เรียกว่าอินเวอร์เตอร์ หมายเลข (4) ดังกล่าวเป็นชุดโมเดลบรรจุในกล่อง ------------ ------27/09/2555------(OCR) หน้า 1 ของจำนวน 2 หน้า ข้อถือสิทธิ 1. ตู้รวมวงจรไฟฟ้าเครื่องผสานพลังงานแบบอนุกรมด้วยเซลล์แสงอาทิตย์ ประกอบด้วย ส่วนประกอบหลักได้แก่เซลล์แสงอาทิตย์(1) เครื่องอัดประจุแบตเตอรี่(2.1) คลังแบตเตอรี่ (3)และ อินเวอร์เตอร์แบบพุชพูล ถูกต่อเชื่อมระบบหม้อแปลงลดทอนแรงดันต้นทาง (Vss) และ หม้อแปลง อนุกรมลดทอนแรงดันชดเชย (Vinj) และวงจรภายในเครื่องอินเวอน์ตอร์(4.1)เป็นต้น เครื่องผสานพลังงานไฟฟ้าแบบอนุกรมด้วยเซลล์แสงอาทิตย์ประกอบด้วย รายละเอียดวงจร เครื่องอัดประจุแบตเตอรี่ (2.2) วงจรภายในเครื่องอินเวอร์เตอร์ (4.2) ดังมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ ก. ระบบวงจรอัดประจุแบตเตอรี่ (2.3) ทำหน้าที่ อัดประจุแบตเตอรี่อย่างสม่ำเสมอของกระแส อัดประจุแบตเตอรี่ โดยขาเข้ารับกระแสทางออกของระบบผลิตไฟฟ้าด้วยเซลล์แสงอาทิตย์ การ ออกแบบด้วยการกำหนดให้ใช้ 1C เบอร์ LM 311 ใช้เป็นสัญญาณเปรียบเทียบและ IC เบอร์ 74HC04N, 74LS07N เป็นสัญญาณทางออก PWM-1 และสัญญาณ PWM-2 ) โดยใช้เพาเวอร์ มอสเฟสจำนวน 2 ตัวโดยตัวที่ 1 ควบคุมแบบบัค (Buck Converter) และตัวที่ 2 ควบคุมแบบบูส (Boots Converter) ข. ระบบวงจรกำเนิดคลื่นสามเหลี่ยม (2.4) ทำหน้าที่ กำหนดการสวิทซ์สัญญาณกระแสด้วย ความถี่ 10 KHz สัญญาณคลื่นสามเหลี่ยมและสัญญาณกระแสอัดประจุแบตเตอรี่นำมาเปรียบเทียบเพื่อ ควบคุมการทำงานเพาเวอร์มอสเฟส จำนวน 2 ตัว ได้แก่ สัญญาณดิวตี้ไซเคิล ของตัวที่ 1 (PWM-1 )ทำ หน้าที่กำจัดกระแสอัดประจุให้มีค่าต่ำโดยควบคุมแรงดันให้มีค่าต่ำและสัญญาณตัวที่ 2 (PWM-2 )ทำ หน้าที่เพิ่มกระแสอัดประจุให้มีค่าสูงโดยควบคุมแรงดันให้มีค่าสูง ระบบวงจรถูกออกแบบด้วยการ กำหนดให้ใช้ IC เบอร์ L 8038 , LM 311 , 74LS07 ค.ภาควงจรตรวจจับสัญญาณไซน์จุดศูนย์ (Zero crossing) (4.3) ทำหน้าที่ ตรวจจับ สัญญาณไฟฟ้ากระแสสลับทางเข้าเพื่อหาจุดเริ่มต้น ณ มุมศูนย์ของสัญญาณไซน์ ถูกออกแบบด้วยการ กำหนดให้ใช้ IC เบอร์ LF 412 หรือ LF 357 และวงจรเฟสล็อกลูป (PLL) ถูกออกแบบด้วยการ กำหนดให้ใช้ IC เบอร์ HD14046B สัญญาณ ง. ภาควงจรถอดรหัส (4.4) ทำหน้าที่ ถอดรหัสสัญญาณอนาล็อกเป็นสัญญาณดิจิตอลแบบนับ เลขฐานสอง (0000-1111) การออกแบบด้วยการกำหนดให้ใช้ IC เบอร์ 74HC163 จ. ภาควงจรข้อมูลสัญญาณไซน์ EPROM (Table sine) (4.5) ทำหน้าที่ รับข้อมูลจากสัญญาณ ดิจิตอลของภาควงจรถอดรหัส และสั่งสัญญาณดิจิตอลออกในรูปแบบเสมือนของสัญญาณไซน์ (Q0- Q7) โดยถูกออกแบบด้วยการกำหนดให้ใช้ IC เบอร์ AT27C25 ฉ. ภาควงจรดิจิตอลแปลงเป็นอนาล็อก (D/A ) (4.6) ทำหน้าที่ แปลงสัญญาณดิจิตอลออกเป็น สัญญาณอนาล็อกสัญญาณไซน์ ถูกออกแบบด้วยการกำหนดให้ใช้ IC เบอร์ AD 7524 ช. ภาควงจรผสมสัญญาณสองสัญญาณ (4.7) ทำหน้าที่ ทำหน้าที่ผสมสัญญาณเพื่อหาผลต่าง ของการเปลี่ยนแปลงสัญญาณแรงดัน (Error) ซึ่งประกอบด้วยตรวจจับสัญญาณแรงดัน ผิดพร่อง หน้า 2 ของจำนวน 2 หน้า ประกอบด้วย แรงดันตก แรงดันเกิน ไฟดับ Vs(Line) และคลื่นสัญญาณไซน์อ้างอิ่งให้มีเฟสตรงกับ สัญญาณไซน์ของการไฟฟ้า (Vss) ถูกออกแบบด้วยการกำหนดให้ใช้ IC เบอร์ LF412 ซ. ภาควงจรเดลต้าซิกม่ามอลูเลชั่น (4.8) ทำหน้าที่ ทำหน้าที่รับสัญญาณผลต่างของสัญญาณ แรงดันที่ต้องการแก้ปัญหาได้แก่ แรงดันไฟตก และไฟดับ เพื่อมอลูเลชั่นสัญญาณพีดับบลิวเอ็ม (SPWM) ถูกออกแบบด้วยการกำหนดให้ใช้ IC เบอร์ LF412 ฌ. ภาควงจรสลับเฟสและหน่วงวงจร (td) (4.9) ทำหน้าที่ รับสัญญาณเข้าเป็นสัญญาณการมอ ดูเลชั่นพีดับบลิวเอ็ม(SPWM) และระบบภาควงจรนี้ถูกกำหนดให้สัญญาณทางออกเป็นสองสัญญาณ ทางออกที่มีผลต่างสลับเปลี่ยนตรงข้าม (Out of Phase) ซึ่งสัญญาณดังกล่าวถูกกำหนดให้หน่วงเวลาซึ่ง กันและกัน ดังนั้นการออกแบบกำหนดให้ใช้ค่าความต้านทาน (lk, 2.2k) ไดโอด (Diode) คาปาซิเฅอร์ 182 uF และ IC เบอร์ 74HC04N, 74HC132, 74LS07N ญ. ภาควงจรขับกระแสกระตุ้นเพาเวอร์มอสเฟส (4.10) ทำหน้าที่ รับสัญญาณการมอลูเลชั่นพี ดับบลิวเล็ม(SPWM)ถูกออกแบบด้วยการกำหนดให้ใช้ IC เบอร์ TLP 250 สัญญาณหมายเลข (G1,E1) และหมายเลข (G2,E2) ฎ. ภาควงจรกำลังอินเวอร์เตอร์แบบพุชพูล (Push Pull) (4.11) ทำหน้าที่ ขับกระแสโดยใช้ เพาเวอร์มอสเฟสจำนวน 2 ตัว และวงจรฟิลเตอร์ LC-Filter ถูกต่อวงจรเข้ากับทางออกของหม้อแปลง อนุกรมลดทอนแรงดันชดเชย (Vinj) ฏ. หม้อแปลงลดทอนแรงดันต้นทาง (Vss) (4.12) ทำหน้าที่ ลดแรงดันขาเข้าโดยมีอัตราส่วน เรโชหม้อแปลง (a=230/115V) ขนาด 250 VAllละ หม้อแปลงอนุกรมลดทอนแรงดันชดเชย (Vinj) (4.13) ทำหน้าที่ รับสัญญาณขับกระแสจากอินเวอร์เตอร์ของภาควงจรกำลังอินเวอร์เตอร์แบบพุชพูล (Push Pull) ชดเชยแรงดันต้นทางที่เปลี่ยนแปลง(Voltage Sag)llละแรงดันขาดหาย (Voltage Interruption) โดยมีอัตราส่วนเรโช (a=230/115V) ขนาด 250 VA 2. ตู้รวมวงจรไฟฟ้าเครื่องผสานพลังงานแบบอนุกรมด้วยเซลล์แสงอาทิตย์ตามข้อถือสิทธิ 1 ที่ ซึ่งวงจรอิเล็กทรอนิกส์ (2.5) และ (4.14) ดังกล่าวเป็นชุดโมเดลบรรจุในกล่อง ------------ หน้า 1 ของจำนวน 2 หน้า ข้อถือสิทธิ
1. ตู้รวมวงจรไฟฟ้าเครื่องผสานพลังงานแบบอนุกรมด้วยเซลล์แสงอาทิตย์ ประกอบด้วย ส่วนประกอบหลักได้แก่เซลล์แสงอาทิตย์(1) เครื่องอัดประจุแบตเตอรี่(2.1) คลังแบตเตอรี่ (3)และ อินเวอร์เตอร์แบบพุชพูล ถูกต่อเชื่อมระบบหม้อแปลงลดทอนแรงดันต้นทาง (Vss) และ หม้อแปลง อนุกรมลดทอนแรงดันชดเชย (Vinj) และวงจรภายในเครื่องอินเวอน์ตอร์(4.1)เป็นต้น เครื่องผสานพลังงานไฟฟ้าแบบอนุกรมด้วยเซลล์แสงอาทิตย์ประกอบด้วย รายละเอียดวงจร เครื่องอัดประจุแบตเตอรี่ (2.2) วงจรภายในเครื่องอินเวอร์เตอร์ (4.2) ดังมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ ก. ระบบวงจรอัดประจุแบตเตอรี่ (2.3) ทำหน้าที่ อัดประจุแบตเตอรี่อย่างสมรเสมอของกระแส อัดประจุแบตเตอรี่ โดยขาเข้ารับกระแสทางออกของระบบผลิตไฟฟ้าด้วยเซลล์แสงอาทิตย์ การ ออกแบบด้วยการกำหนดให้ใช้ 1C เบอร์ LM 311 ใช้เป็นสัญญาณเปรียบเทียบและ 1C เบอร์ 74HC04N, 74LS07N เป็นสัญญาณทางออก PWM-1 และสัญญาณ PWM-2 ) โดยใช้เพาเวอร์ มอสเฟสจำนวน 2 ตัวโดยตัวที่ 1 ควบคุมแบบบัค (Buck Converter) และตัวที่ 2 ควบคุมแบบบูส (Boots Converter) ข. ระบบวงจรกำเนิดคลื่นสามเหลี่ยม (2.4) ทำหน้าที่ กำหนดการสวิทซ์สัญญาณกระแสด้วย ความถี่ 10 KHz สัญญาณคลื่นสามเหลี่ยมและสัญญาณกระแสอัดประจุแบตเตอรี่นำมาเปรียบเทียบเพื่อ ควบคุมการทำงานเพาเวอร์มอสเฟส จำนวน 2 ตัว ได้แก่ สัญญาณดิวตี้ไซเคิล ของตัวที่ 1 (PWM-1 )ทำ หน้าที่กำจัดกระแสอัดประจุให้มีค่าต่ำโดยควบคุมแรงดันให้มีค่าต่ำและสัญญาณตัวที่ 2 (PWM-2 )ทำ หน้าที่เพิ่มกระแสอัดประจุให้มีค่าสูงโดยควบคุมแรงดันให้มีค่าสูง ระบบวงจรถูกออกแบบด้วยการ กำหนดให้ใช้ 1C เบอร์ L 8038 , LM 311 , 74LS07 ค. ภาควงจรตรวจจับสัญญาณไซน์จุดศูนย์ (Zero crossing) (4.3) ทำหน้าที่ ตรวจจับ สัญญาณไฟฟ้ากระแสสลับทางเข้าเพื่อหาจุดเริ่มต้น ณ มุมศูนย์ของสัญญาณไซน์ ถูกออกแบบด้วยการ กำหนดให้ใช้ 1C เบอร์ LF 412 หรือ LF 357 และวงจรเฟสล็อกลูป (PLL) ถูกออกแบบด้วยการ กำหนดให้ใช้ 1C เบอร์ HD14046B สัญญาณ ง. ภาควงจรถอดรหัส (4.4) ทำหน้าที่ ถอดรหัสสัญญาณอนาล็อกเป็นสัญญาณดิจิตอลแบบนับ เลขฐานสอง (0000-1111) การออกแบบด้วยการกำหนดให้ใช้ 1C เบอร์ 74HC163 จ. ภาควงจรข้อมูลสัญญาณไซน์ EPROM (Table sine) (4.5) ทำหน้าที่ รับข้อมูลจากสัญญาณ ดิจิตอลของภาควงจรถอดรหัส และสั่งสัญญาณดิจิตอลออกในรูปแบบเสมือนของสัญญาณไซน์ (Q0- Q7) โดยถูกออกแบบด้วยการกำหนดให้ใช้ 1C เบอร์ AT27C25 ฉ. ภาควงจรดิจิตอลแปลงเป็นอนาล็อก (D/A ) (4.6) ทำหน้าที่ แปลงสัญญาณดิจิตอลออกเป็น สัญญาณอนาล็อกสัญญาณไซน์ ถูกออกแบบด้วยการกำหนดให้ใช้ 1C เบอร์ AD 7524 ช. ภาควงจรผสมสัญญาณสองสัญญาณ (4.7) ทำหน้าที่ ทำหน้าที่ผสมสัญญาณเพื่อหาผลต่าง ของการเปลี่ยนแปลงสัญญาณแรงดัน (Error) ซึ่งประกอบด้วยตรวจจับสัญญาณแรงดัน ผิดพร่อง หน้า 2 ของจำนวน 2 หน้า ประกอบด้วย แรงดันตก แรงดันเกิน ไฟดับ Vs(Line) และคลื่นสัญญาณไซน์อ้างอิ่งให้มีเฟสตรงกับ สัญญาณไซน์ของการไฟฟ้า (Vss) ถูกออกแบบด้วยการกำหนดให้ใช้ 1C เบอร์ LF412 ซ. ภาควงจรเดลต้าซิกม่ามอลูเลชั่น (4.8) ทำหน้าที่ ทำหน้าที่รับสัญญาณผลต่างของสัญญาณ แรงดันที่ต้องการแก้ปัญหาได้แก่ แรงดันไฟตก และไฟดับ เพื่อมอลูเลชั่นสัญญาณพีดับบลิวเอ็ม (SPWM) ถูกออกแบบด้วยการกำหนดให้ใช้ 1C เบอร์ LF412 ฌ. ภาควงจรสลับเฟสและหน่วงวงจร (td) (4.9) ทำหน้าที่ รับสัญญาณเข้าเป็นสัญญาณการมอ ดูเลชั่นพีดับบลิวเอ็ม(SPWM) และระบบภาควงจรนี้ถูกกำหนดให้สัญญาณทางออกเป็นสองสัญญาณ ทางออกที่มีผลต่างสลับเปลี่ยนตรงข้าม (Out of Phase) ซึ่งสัญญาณดังกล่าวถูกกำหนดให้หน่วงเวลาซึ่ง กันและกัน ดังนั้นการออกแบบกำหนดให้ใช้ค่าความต้านทาน (lk, 2.2k) ไดโอด (Diode) คาปาซิเฅอร์ 182 uF และ 1C เบอร์ 74HC04N, 74HC132, 74LS07N ญ. ภาควงจรขับกระแสกระตุ้นเพาเวอร์มอสเฟส (4.10) ทำหน้าที่ รับสัญญาณการมอลูเลชั่นพี ดับบลิวเล็ม(SPWM)ถูกออกแบบด้วยการกำหนดให้ใช้ 1C เบอร์ TLP 250 สัญญาณหมายเลข (G1,E1) และหมายเลข (G2,E2) ฎ. ภาควงจรกำลังอินเวอร์เตอร์แบบพุชพูล (Push Pull) (4.11) ทำหน้าที่ ขับกระแสโดยใช้ เพาเวอร์มอสเฟสจำนวน 2 ตัว และวงจรฟิลเตอร์ LC-Filter ถูกต่อวงจรเข้ากับทางออกของหม้อแปลง อนุกรมลดทอนแรงดันชดเชย (Vinj) ฎ. หม้อแปลงลดทอนแรงดันต้นทาง (Vss) (4.12) ทำหน้าที่ ลดแรงดันขาเข้าโดยมีอัตราส่วน เรโชหม้อแปลง (a=230/115V) ขนาด 250 VAllละ หม้อแปลงอนุกรมลดทอนแรงดันชดเชย (Vinj) (4.13) ทำหน้าที่ รับสัญญาณขับกระแสจากอินเวอร์เตอร์ของภาควงจรกำลังอินเวอร์เตอร์แบบพุชพูล (Push Pull) ชดเชยแรงดันต้นทางที่เปลี่ยนแปลง(Voltage Sag)llละแรงดันขาดหาย (Voltage Interruption) โดยมีอัตราส่วนเรโช (a=230/115V) ขนาด 250 VA
2. ตู้รวมวงจรไฟฟ้าเครื่องผสานพลังงานแบบอนุกรมด้วยเซลล์แสงอาทิตย์ตามข้อถือสิทธิ 1 ที่ ซึ่งวงจรอิเล็กทรอนิกส์ (2.5) และ (4.14) ดังกล่าวเป็นชุดโมเดลบรรจุในกล่อง
TH1703002080U 2017-10-18 เครื่องผสานพลังงานไฟฟ้าแบบอนุกรมด้วยเซลล์แสงอาทิตย์ TH15952A3 (th)

Publications (3)

Publication Number Publication Date
TH15952C3 TH15952C3 (th) 2020-02-21
TH15952B TH15952B (th) 2020-02-21
TH15952A3 true TH15952A3 (th) 2020-02-21

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
Sahoo et al. Review and comparative study of single-stage inverters for a PV system
JP5081596B2 (ja) 電力供給システム
Lu et al. Photovoltaic-battery-powered DC bus system for common portable electronic devices
US8379418B2 (en) Power converter start-up circuit
US12009690B2 (en) Power converters and methods of controlling same
US9350265B2 (en) AC tied inverter, system and method
US8335090B2 (en) Low cost high efficiency high power solar power conversion system circuit and solar power supply system
US8493753B2 (en) Photovoltaic powered system
US9077202B1 (en) Power converter with series energy storage
CN103219910A (zh) 功率转换器电路
WO2011049732A2 (en) Maximum power point tracking bidirectional charge controllers for photovoltaic systems
JP2006254694A (ja) 分散給電システム
Sahoo et al. High gain step up DC-DC converter for DC micro-grid application
Ma et al. An integrated multifunction DC/DC converter for PV generation systems
JP5895143B2 (ja) 蓄電装置
Amirabadi et al. A multi-input AC link PV inverter with reduced size and weight
Alluhaybi et al. A grid connected photovoltaic microinverter with integrated battery
TH15952A3 (th) เครื่องผสานพลังงานไฟฟ้าแบบอนุกรมด้วยเซลล์แสงอาทิตย์
TH15952C3 (th) เครื่องผสานพลังงานไฟฟ้าแบบอนุกรมด้วยเซลล์แสงอาทิตย์
Kanakasabapathy Multistring seven-level inverter for standalone photovoltaic systems
Narula et al. PV fed cascaded modified T source converter for DC support to grid coupled inverters
US11146062B2 (en) Method and apparatus for improving PV module fill factor using a voltage clamping circuit
KR101403868B1 (ko) 정현파 펄스 폭 변조 승압 초퍼를 이용한 태양광 발전용 파워 컨디셔너
JP2011193704A (ja) 直流−交流電力変換装置
KR20150102765A (ko) 에너지 저장장치를 구비한 태양광 발전 시스템 및 제어방법