TH14309B - อุปกรณ์จ่ายของเหลวแบบใช้ไก - Google Patents

อุปกรณ์จ่ายของเหลวแบบใช้ไก

Info

Publication number
TH14309B
TH14309B TH9501002676A TH9501002676A TH14309B TH 14309 B TH14309 B TH 14309B TH 9501002676 A TH9501002676 A TH 9501002676A TH 9501002676 A TH9501002676 A TH 9501002676A TH 14309 B TH14309 B TH 14309B
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
pressure
flow path
pilot
fluid
valve body
Prior art date
Application number
TH9501002676A
Other languages
English (en)
Other versions
TH24472A (th
Inventor
ไซโด นายทาดาโอ
ฮายาคาวา นายชิเกรู
Original Assignee
นายโรจน์วิทย์ เปเรร่า
นายธเนศ เปเรร่า
Filing date
Publication date
Application filed by นายโรจน์วิทย์ เปเรร่า, นายธเนศ เปเรร่า filed Critical นายโรจน์วิทย์ เปเรร่า
Publication of TH24472A publication Critical patent/TH24472A/th
Publication of TH14309B publication Critical patent/TH14309B/th

Links

Abstract

อุปกรณ์จ่ายของเหลวแบบใช้ไกถูกจัดไว้ด้วยโครงสร้างวาล์วที่ถูก ออกแบบให้เปิดเฉพาะเมื่อของเหลวด้านในอุปกรณ์แสดงถึงความดันจ่ายที่ถูกต้อง และถูกจัดไว้ที่ด้านต้นทาง เมื่อเทียบกับช่องจ่ายออกของหัวของหัวฉีดของสิ่งนั้น และยังถูกจัดไว้ด้วยเส้นทางการไหลที่ถูกจัดไว้ในกระบอกสูบของหน่วยปั๊มของ อุปกรณ์สำหรับทำให้ความดันตกค้างใด ๆ ย้อนกลับในเส้นทางการไหลของของ เหลวของอุปกรณ์ หลังจากปลายวัฎจักรการจ่ายของเหลว โดยการจัดวางดังกล่าว จากความดันตกค้างในเส้นทางการไหลของของเหลวในสเตจเริ่มแรก และ/หรือ สุดท้ายในการปฏิบัติการจ่ายของเหลว

Claims (5)

1. อุปกรณ์จ่ายของเหลวแบบใช้ไก ประกอบด้วยภาชนะบรรจุหน่วยปั๊มที่มี กระบอกสูบและลูกสูบ ท่อจ่าย (F) ที่มีช่องจ่ายออก (5) และไก (102) สำหรับทำให้ลูกสูบเคลื่อนที่ ไปมา ที่ซึ่งของเหลวที่ถูกดูดขึ้นจากภาชนะบรรจุถูกจ่ายผ่านช่องจ่ายออกโดยการเคลื่อนที่ของลูก สูบไปยังปลายช่วงชัก ซึ่งมีคุณลักษณะเฉพาะที่ว่า ตัวนำร่องของเหลว (3) ถูกจัดไว้ในเส้นทางการไหลของของเหลว (7) ที่ถูกจัดไว้ ด้านต้นทางเมื่อเทียบกับช่องจ่ายออก (5) ตัวนำร่องของเหลวดังกล่าว (3) ประกอบด้วยตัววาล์ว (10) สำหรับปิดเส้นทางการไหลของของเหลว (7) ปลอกรับความดัน (11) ที่ถูกก่อรูปรวมเป็นชิ้นเดียว กันกับตัววาล์ว (10) ชิ้นส่วนยึดเหนี่ยว (12) จะถูกยึดกับท่อจ่าย และชิ้นส่วนสปริง (13) สำหรับ เชื่อมต่อตัววาล์ว (10) และปลอกรับความดัน (11) ที่ถูกก่อรูปเป็นชิ้นเดียวกันดังกล่าวเข้ากับชิ้นส่วน ยึดเหนี่ยว (12) ปลอกรับความดันดังกล่าว (11) มีผิวหน้ารับความดัน (14) ที่หันไปยังด้านต้นทาง ของเส้นทางการไหลของของเหลว (7) สำหรับรับความดันของของเหลว บริเวณของผิวหน้ารับความดันดังกล่าว (14) ถูกเลือกในลักษณะที่ว่า แรงที่เกิดขึ้น โดยความดันจ่ายของเหลวที่ถูกต้อง ซึ่งถูกจ่ายไปยังผิวหน้ารับความดันดังกล่าว (14) มากกว่าผล รวมของแรงหยุ่นตัวของชิ้นส่วนสปริง (13) และแรงที่กระทำต่อตัววาล์ว (10) และถูกหันไปยังด้าน ปลายทางของเส้นทางการไหลของของเหลว (7) 2. อุปกรณ์จ่ายของเหลวแบบใช้ไก ประกอบด้วยภาชนะบรรจุหน่วยปั๊มที่มี กระบอกสูบ และลูกสูบ ท่อจ่าย (F) ที่มีช่องจ่ายออก (5) และไก (102) สำหรับทำให้ลูกสูบเคลื่อนที่ ไปมา ที่ซึ่งของเหลวที่ถูกดูดขึ้นจากภาชนะบรรจุถูกจ่ายผ่านช่องจ่ายออกโดยการเคลื่อนที่ของลูก สูบไปยังปลายช่วงชัก ซึ่งมีคุณลักษณะเฉพาะที่ว่า ผนังโดยรอบด้านใน (31) ของกระบอกสูบ (23) ถูกจัดให้ด้วยร่องแบบสั้นและตื้น จำนวนหนึ่ง (32) ที่ส่วนหนึ่งที่ประชิดกับผนังด้านล่าง (29) ของกระบอกสูบ (23) ร่องแบบสั้นและ ตื้นดังกล่าว (32) ยื่นตามแนวยาว ผนังโดยรอบด้านใน (31) ของกระบอกสูบ (23) ถูกจัดไว้ด้วยช่องดูดอากาศ (123) ที่เชื่อมต่อติดกับด้านในของภาชนะบรรจุ ลูกสูบ (24) ถูกก่อรูปขึ้นด้วยส่วนชายรอบรูปวงแหวนคู่หนึ่ง (35,37) ที่ถูกยึดให้ สัมผัสกับผนังโดยรอบด้านใน ของกระบอกสูบ (23) และ ช่องว่างที่แยกส่วนชายรอบรูปวงแหวนคู่ดังกล่าว ถูกเลือกในลักษณะที่ว่า เมื่ออัน หนึ่งของส่วนชายรอบรูปวงแหวน (35) อยู่บนร่องแบบสั้นและตื้น (32) ของกระบอกสูบ อีกอัน หนึ่งของส่วนชายรอบรูปวงแหวน (37) ถูกนำเข้าสัมผัสอย่างใกล้ชิดกับผนังโดยรอบด้านในของ กระบอกสูบ ที่ตำแหน่งใกล้กับขอบเปิดของกระบอกสูบมากกว่าช่องดูดอากาศ (128) 3. อุปกรณ์จ่ายของเหลวแบบใช้ไก ประกอบด้วย ภาชนะบรรจุหน่วยปั๊มที่มี กระบอกสูบและลูกสูบ ท่อจ่าย (F) ที่มีช่องจ่ายออก (5) และไก (102) สำหรับทำให้ลูกสูบเคลื่อนที่ ไปมา ที่ซึ่งของเหลวที่ถูกดูดขึ้นจากภาชนะบรรจุ ถูกจ่ายผ่านช่องจ่ายออกโดยการเคลื่อนที่ของลูก สูบไปยังปลายช่วงชัก ซึ่งมีคุณลักษณะเฉพาะที่ว่า ตัวนำร่องของเหลว (3) ถูกจัดไว้ในเส้นทางการไหลของของเหลว (7) ที่ถูกจัดไว้ ด้านต้นทาง เมื่อเทียบกับช่องจ่ายออก (5) ตัวนำร่องของเหลวดังกล่าว (3) ประกอบด้วยตัววาล์ว (10) สำหรับปิดเส้นทางการไหลของของเหลว (7) ปลอกรับความดัน (11) ที่ถูกก่อรูปรวมเป็น ชิ้นเดียวกันกับตัววาล์ว (10) ชิ้นส่วนยึดเหนี่ยว (12) จะถูกยึดกับท่อจ่าย (F) และชิ้นส่วนสปริง (13) สำหรับเชื่อมต่อตัววาล์ว (10) และปลอกรับความดัน (11) ที่ถูกก่อรูปรวมเป็นชิ้นเดียวกันดังกล่าว เข้ากับชิ้นส่วนยึดเหนี่ยว (12) ปลอกรับความดันดังกล่าว (11) มีผิวหน้ารับความดัน (14) ที่หันไปยังด้านต้นทาง ของเส้นทางการไหลของของเหลว (7) สำหรับรับความดันของของเหลว บริเวณของผิวหน้ารับความดันดังกล่าว (14) ถูกเลือกในลักษณะที่ว่า แรงที่เกิดขึ้น โดยความดันจ่ายของเหลวที่ถูกต้อง ซึ่งถูกจ่ายไปยังผิวหน้ารับความดันดังกล่าว (14) มากกว่า ผลรวมของแรงหยุ่นตัวของชิ้นส่วนสปริง (13) และแรงที่กระทำต่อตัววาล์ว (10) และถูกหันไปยัง ด้านปลายทางของเส้นทางการไหลของของเหลว (7) ผนังโดยรอบด้านใน (31) ของกระบอกสูบ (23) ถูกจัดไว้ด้วยร่องแบบสั้นและตื้น จำนวนหนึ่ง (32) ที่ส่วนหนึ่งที่ประชิดกับผนังด้านล่าง (29) ของกระบอกสูบ (23) ร่องแบบสั้นและ ตื้นดังกล่าว (32) ยื่นตามแนวยาว ผนังโดยรองด้านใน (31) ของกระบอกสูบ (23) ถูกจัดไว้ด้วยช่องดูดอากาศ (123) ที่เชื่อมติดต่อกับด้านในของภาชนะบรรจุ ลูกสูบ (24) ถูกก่อรูปขึ้นด้วยส่วนชายรอบรูปวงแหวนคู่หนึ่ง (35, 37) ที่ถูกยึดให้ สัมผัสอย่างใกล้ชิดกับผนังโดยรองด้านใน (31) ของกระบอกสูบ (23) และ ช่องว่างที่แยกส่วนชายรูปวงแหวน คู่ดังกล่าวถูกเลือกในลักษณะที่ว่า เมื่ออัน หนึ่งของส่วนชายรอบรูปวงแหวน (35) อยู่บนร่องแบบสั้นและตื้น (32) ของกระบอกสูบอีกอันหนึ่ง ของส่วนชายรอบรูปวงแหวน (37) ถูกนำเข้าสัมผัสอย่างใกล้ชิดกับผนังโดยรอบด้านในของ กระบอกสูบ ที่ตำแหน่งใกล้กับขอบเปิดของกระบอกสูบมากกว่าช่องดูดอากาศ (123) 4. อุปกรณ์จ่ายของเหลวแบบใช้ไกลตามข้อถือสิทธิข้อ 3 ที่ซึ่ง ร่องสำหรับดูดอากาศถูกก่อรูปขึ้นบนผิวหน้าด้านในของกระบอกสูบ ระหว่าง ตำแหน่งที่หนึ่ง ซึ่งส่วนชายรอบรูปวงแหวน (35) อยู่บนร่องแบบสั้นและตื้น (32) และตำแหน่งต่อ ไปตำแหน่งที่สองซึ่งอยู่ใกล้กับช่องดูดอากาศเมื่อเทียบกับตำแหน่งที่สาม ซึ่งส่วนชายรอบรูป วงแหวน (37) ถูกจัดตำแหน่งเมื่อลูกสูบถูกจัดตำแหน่งที่ปลายเข้าใกล้ 5. อุปกรณ์จ่ายของเหลวแบบใช้ไกประกอบด้วยภาชนะบรรจุหนjวยปั๊ม ที่มี กระบอกสูบและลูกสูบ ท่อจ่าย (F) ที่มีช่องจ่ายออก (405) และไก (102) สำหรับทำให้ลูกสูบเคลื่อน ที่ไปมา ที่ซึ่งของเหลวที่ถูกดูดขึ้นจากภาชนะบรรจุถูกจ่ายผ่านช่องจ่ายออกโดยการเคลื่อนที่ของ ลูกสูบไปยังปลายช่วงชัก ซึ่งมีคุณลักษณะเฉพาะที่ว่า ตัวนำร่องของเหลว (403) ถูกจัดไว้ในเส้นทานการไหลของของเหลว (407) ที่ถูก จัดไว้ด้านต้นทางเมื่อเทียบกับช่องจ่ายออก (405) ตัวนำร่องของเหลวดังกล่าว (403) ประกอบด้วย ตัววาล์ว (410) สำหรับปิดเส้นทางการไหลของของเหลว (407) ปลอกรับความดัน (411) ที่ถูกก่อรูป รวมเป็นชิ้นเดียวกันกับตัววาล์ว (410) ปลอกนำร่อง (417) ที่เชื่อมต่อตัววาล์ว (410) และปลอกรับ ความดัน (411) โดยผ่านช่องเปิด (420) ปลอกนำร่อง (417) ของตัวนำร่องของเหลว (403) ถูกสอดไปยังด้านในของปลอก นำร่อง (418) ของชิ้นส่วนสพิน (404) ตัววาล์ว (410) ถูกกระตุ้นโดยสปริง (413) ระหว่างปลอกนำร่อง (417) และปลอก นำร่อง (418) เพื่อปิดเส้นทางการไหลของเหลว (407) ปลอกรับความดันดังกล่าว (411) มีผิวหน้ารับความดัน (414) ที่หันไปยังด้าน ต้นทางของเส้นทางการไหลของของเหลว (407) สำหรับรับความดันของของเหลว และ บริเวณของผิวหน้ารับความดันดังกล่าว (414) ถูกเลือกในลักษณะที่ว่า แรงที่เกิด ขึ้นโดยความดันจ่ายของเหลวที่ถูกต้อง ซึ่งถูกจ่ายไปยังผิวหน้ารับความดันดังกล่าว (411) มากกว่า ผลรวมของแรงหยุ่นตัวของชิ้นส่วนสปริง (413) และแรงที่กระทำต่อผิวหน้ารับความดัน (414) และ ถูกหันไปด้านปลายทางของเส้นทางการไหลของของเหลว (407) 6. อุปกรณ์จ่ายของเหลวแบบใช้ไกประกอบด้วยภาชนะบรรจุหน่วยปั๊มที่มี กระบอกสูบและลูกสูบ ท่อจ่าย (F) ที่มีช่องจ่ายออก (5) และไก (102) สำหรับทำให้ลูกสูบเคลื่อนที่ ไปมา ที่ซึ่งของเหลวที่ถูกดูดขึ้นจากภาชนะบรรจุถูกจ่ายผ่านช่องจ่ายออกโดยการเคลื่อนที่ของลูก สูบไปยังปลายช่วงชัก ซึ่งมีคุณลักษณะเฉพาะที่ว่า กระบอกสูบดังกล่าวของหน่วยปั๊มประกอบด้วยปลอกด้านนอก และปลอกด้านใน ที่ร่วมศูนย์กลางเดียวกันกับปลอกด้านนอก ร่องแบบสั้นและตื้นถูกจัดไว้ตามแนวเส้นรอบวงบนผิวหน้าด้านนอกของปลอก ด้านในที่ตำแหน่งหนึ่งประชิดกับผนังด้านล่างของปลอกด้านนอก และ ลูกสูบดังกล่าวถูกจัดไว้ด้วยส่วนชายรอบ ซึ่งสัมผัสอย่างใกล้ชิดกับผิวหน้าด้าน นอกของปลอกด้านใน และถูกจัดวางในลักษณะที่ว่า เมื่อส่วนชายรอบถูกจัดตำแหน่งในร่องแบบ สั้นและตื้น เส้นทางการไหลของของเหลวจะเชื่อมติดต่อกับด้านในของภาชนะบรรจุโดยผ่านช่อง ว่างระหว่างส่วนชายรอบ และร่องแบบสั้นและตื้น 7. อุปกรณ์จ่ายของเหลวแบบใช้ไกประกอบด้วยภาชนะบรรจุหน่วยปั๊มที่มี กระบอกสูบ และลูกสูบท่อจ่าย (F) ที่มีช่องจ่ายออก และไกสำหรับทำให้ลูกสูบเคลื่อนที่ไปมา ที่ซึ่ง ของเหลวที่ถูกดูดขึ้นจากภาชนะบรรจุลูกจ่ายผ่านช่องจ่ายออก โดยการเคลื่อนที่ของลูกสูบไปยัง ปลายช่วงชักซึ่งมีคุณสมบัติเฉพาะที่ว่า ผนังด้านล่างดังกล่าว (97) ของปลอกด้านใน (92) ของกระบอกสูบ (91) ถูกก่อรูป ขึ้นด้วยรู (98) ที่ศูนย์กลางของมัน รูดังกล่าว (98) เชื่อมติดต่อกับปลายด้านบนของเส้นทางการไหล ของของเหลว (99) เส้นทางการไหลของของเหลวดังกล่าว (99) เชื่อมติดต่อกับภาชนะบรรจุ ร่องแบบตื้นและสั้น (301) ถูกจัดไว้ที่เขตบริเวณระหว่างผิวหน้าด้านนอกของ ปลอกด้านในดังกล่าว (92) และผนังด้านล่าง (100) ของกระบอกสูบ (91) ส่วนชายรอบรูปวงแหวนดังกล่าว (96) ของลูกสูบ (93) ถูกสอดเข้าไปยังร่องแบบ สั้นและตื้น (301) บนปลายช่วงชัก ดังนั้นเส้นทางการไหลของของเหลว (303) จะเชื่อมติดต่อกับ ด้านในของภาชนะบรรจุ โดยผ่านช่องว่างระหว่างผิวหน้าด้านในของลูกสูบ (93) และผิวหน้าด้าน นอกของปลอกด้านใน (92) 8. อุปกรณ์จ่ายของเหลวแบบใช้ไกประกอบด้วยภาชนะบรรจุหน่วยปั๊มที่มี กระบอกสูบ และลูกสูบ ท่อจ่าย (F) ที่มีช่องจ่ายออก (5) และไกสำหรับทำให้ลูกสูบเคลื่อนที่ไปมา ที่ซึ่ง ของเหลวที่ถูกดูดขึ้นจากภาชนะบรรจุถูกจ่ายผ่านช่องจ่ายออก โดยการเคลื่อนที่ของลูกสูบไป ยังปลายช่วงชัก ซึ่งมีคุณลักษณะเฉพาะที่ว่า รู (321) ถูกก่อรูปขึ้นที่ศูนย์กลางของผนังด้านล่าง (311) ของกระบอกสูบ (310) รู (321) เชื่อมติดต่อกับเส้นทางการไหลของของเหลว (319) ซึ่งเชื่อมติดต่อกับด้านใน ของภาชนะบรรจุ รู (321) ถูกปิดโดยวาล์วแบบหยุ่นตัว (323) ซึ่งสัมผัสแบบหยุ่นตัวกับผิวหน้าด้าน นอกของผนังด้านล่าง (311) และ ตัวสลัก (330) ถูกจัดไว้ที่ศูนย์กลางของลูกสูบ (312) ไปยังผนังด้านล่าง (311) ของ กระบอกสูบ (310) และถูกจัดไว้ในลักษณะที่ว่า เมื่อลูกสูบ (312) มาถึงที่ปลายช่วงชัก ปลายด้าน หน้า (331) ของตัวสลัก (330) จะทำให้วาล์วแบบหยุ่นตัว (323) เปลี่ยนรูปแบบหยุ่นตัวผ่านรู (321) ดังนั้นห้องกระบอกสูบ (332) จะเชื่อมติดต่อกับเส้นทางการไหลของของเหลว (319) 9. อุปกรณ์จ่ายของเหลวแบบใช้ไกตามข้อถือสิทธิข้อ 2 ที่ซึ่ง ตัวนำร่องของเหลว (403) ถูกจัดไว้ในเส้นทางการไหลของของเหลว (407) ที่ถูก จัดไว้ที่ด้านต้นทางเมื่อเทียบกับช่องจ่ายออก (405) ตัวนำร่องของเหลวดังกล่าว (403) ประกอบด้วย ตัววาล์ว (410) สำหรับปิดเส้นทางการไหลของของเหลว (407) ปลอกรับความดัน (411) ที่ถูกก่อรูป รวมเป็นชิ้นเดียวกันกับตัววาล์ว ปลอกนำร่อง (417) ที่เชื่อมต่อตัววาล์ว (410) และปลอกรับความดัน (411) โดยผ่านช่องเปิด (420) ปลอกนำร่อง (417) ของตัวนำร่องของเหลว (403) ถูกสอดแบบเลื่อนได้เข้าไปยัง ด้านในของปลอกนำร่อง (418) ของชิ้นส่วนสพิน (404) ตัววาล์ว (410) ถูกกระตุ้นโดยสปริง (413) ระหว่างปลอกนำร่อง (417) และปลอก นำร่อง (418) เพื่อปิดเส้นทางการไหลของของเหลว (407)และ ปลอกรับความดัน (411) มีผิวหน้ารับความดัน (411) ที่หันไปยังด้านต้นทางของ เส้นทางการไหลของของเหลว (407) สำหรับรับความดันของของเหลว บริเวณของผิวหน้ารับความดันดังกล่าว (414) ถูกเลือกในลักษณะที่ว่าแรงที่เกิดขึ้น โดยความดันจ่ายของเหลวที่ถูกต้องซึ่งถูกจ่ายไปยังผิวหน้ารับความดันดังกล่าว (411) มากกว่าผล รวมของแรงหยุ่นตัวของชิ้นส่วนสปริง (413) และแรงที่กระทำต่อผิวหน้ารับความดัน (414) และถูก หันไปยังด้านปลายทางของเส้นทางการไหลของของเหลว (407) 1 0. อุปกรณ์จ่ายของเหลวแบบใช้ไกตามข้อถือสิทธิข้อ 6 ที่ซึ่ง ตัวนำร่องของเหลว (3) ถูกจัดไว้ในเส้นทางการไหลของของเหลว (7) ที่ถูกจัดไว้ที่ ด้านต้นทางเมื่อเทียบกับช่องจ่ายออก (5) ตัวนำร่องของเหลวดังกล่าว (3) ประกอบด้วยตัววาล์ว (10) สำหรับปิดเส้นทางการไหลของของเหลว (7) ปลอกรับความดัน (11) ที่ถูกก่อรูปรวมเป็นชิ้นเดียว กันกับวาล์ว (10) ชิ้นส่วนยึดเหนี่ยว (12) จะถูกยึดกับท่อจ่าย และชินส่วนสปริง (13) สำหรับ เชื่อมต่อตัววาล์ว (10) และปลอกรับความดัน (11) ที่ถูกก่อรูปรวมเป็นชิ้นเดียวกันดังกล่าวกับชิ้น ส่วนยึดเหนี่ยว (12) ปลอกรับความดันดังกล่าว (11) มีผิวหน้ารับความดัน (14) ที่หันไปยังด้านต้นทาง ของเส้นทางการไหลของของเหลว (7) สำหรับรับความดันของของเหลว บริเวณของผิวหน้ารับความดันดังกล่าว (14) ถูกเลือกในลักษณะที่ว่า แรงที่เกิดขึ้น โดยความดันจ่ายของเหลวที่ถูกต้อง ซึ่งถูกจ่ายไปยังผิวหน้ารับความดันดังกล่าว (14) มากกว่า ผล รวมของแรงหยุ่นของชิ้นส่วนสปริง (13) และแรงที่กระทำกับตัววาล์ว (10) และถูกหันไปยังด้าน ปลายทางของเส้นทางการไหลของของเหลว (7) 1
1. อุปกรณ์จ่ายของเหลวแบบใช้ไกตามข้อถือสิทธิข้อ 6 ที่ซึ่ง ตัวนำร่องของเหลว (403) ถูกจัดไว้ในเส้นทางการไหลของของเหลว (407) ที่ถูก จัดไว้ที่ด้านต้นทาง เมื่อเทียบกับช่องจ่ายออก (405) ตัวนำร่องของเหลวดังกล่าว (403) ประกอบด้วย ตัววาล์ว (410) สำหรับปิดเส้นทางการไหลของของเหลว (407) ปลอกรับความดัน (411) ที่ถูกก่อรูป รวมเป็นชิ้นเดียวกันกับตัววาล์ว (410) ปลอกนำร่อง (417) ที่เชื่อมต่อตัววาล์ว (410) และปลอกรับ ความดัน (411) โดยผ่านช่องเปิด (420) ปลอกนำร่อง (417) ของตัวนำร่องของเหลว (403) ถูกสอดแบบเลื่อนได้เข้าไปยัง ด้านในของปลอกนำร่อง (418) ของชิ้นส่วนสพิน (404) ตัววาล์ว (410) ถูกกระตุ้นโดยสปริง (413) ระหว่างปลอกนำร่อง (417) และปลอก นำร่อง (418) เพื่อปิดเส้นทางการไหลของของเหลว (407) และ บริเวณของผิวหน้ารับความดันดังกล่าว (414) ถูกเลือกในลักษณะที่ว่า แรงที่เกิด ขึ้นโดยความดันจ่ายของเหลวที่ถูกต้อง ซึ่งถูกจ่ายไปยังผิวหน้ารับความดันดังกล่าว (411) มากกว่า ผลรวมของแรงหยุ่นตัวของชิ้นส่วนสปริง (413) และแรงที่กระทำต่อผิวหน้ารับความดัน (414) และ ถูกหันไปยังดานปลายทางของเส้นทางการไหลของของเหลว 1
2. อุปกรณ์จ่ายของเหลวแบบใช้ไกตามข้อถือสิทธิข้อ 7 ที่ซึ่ง ตัวนำร่องของเหลว (3) ถูกจัดไว้ในเส้นทางการไหลของของเหลว (7) ที่ถูกจัดไว้ที่ ด้านต้นทาง เมื่อเทียบกับ่องจ่ายออก (5) ตัวนำร่องของเหลวดังกล่าว (3) ประกอบด้วย ตัววาล์ว (10) สำหรับปิดเส้นทางการไหลของของ (7) ปลอกรับความดัน (11) ที่ถูกก่อรูปรวมเป็นชิ้นเดียวกัน กับตัววาล์ว (10) ชิ้นส่วนยึดเหนี่ยว (12) จะถูกยึดกับท่อจ่าย และชิ้นส่วนสปริง (13) สำหรับเชื่อม ต่อตัววาล์ว (10) และปลอกรับความดัน (11) ที่ถูกก่อรูปรวมเป็นชิ้นเดียวกันดังกล่าวเข้ากับชิ้นส่วน ยึดเหนี่ยว (12) ปลอกรับความดันดังกล่าว (11) มีผิวหน้ารับความดัน (14) ที่หันไปยังด้านต้นทาง ของเส้นทางการไหลของของเหลว (7) สำหรับความดันของของเหลว บริเวณของผิวหน้ารับความดันดังกล่าว (14) ถูกเลือกในลักษณะที่ว่า แรงที่เกิดขึ้น โดยความดันจ่ายของเหลวที่ถูกต้อง ซึ่งถูกจ่ายไปยังผิงหน้ารับความดันดังกล่าว (14) มากกว่า ผล รวมของแรงหยุ่นตัวของชิ้นส่วนสปริง (13) และแรงที่กระทำต่อตัววาล์ว (10) และถูกหันไปยังด้าน ปลายทางของเส้นทางการไหลของของเหลว (7) 1
3. อุปกรณ์จ่ายของเหลวแบบใช้ไกตามข้อถือสิทธิข้อ 7 ที่ซึ่ง ตัวนำร่องของเหลว (403) ถูกจัดไว้ในเส้นทางการไหลของของเหลว (407) ที่ถูก จัดไว้ด้านต้นทางเมื่อเทียบกับช่องจ่ายออก (405) ตัวนำร่องของเหลวดังกล่าว (408) ประกอบด้วย ตัววาล์ว (410) สำหรับปิดเส้นทางการไหลของของเหลว (407) ปลอกรับความดัน (411) ที่ถูกก่อรูป รวมเป็นชิ้นเดียวกันกับตัววาล์ว (410) ปลอกนำร่อง (417) ที่เชื่อมต่อกับตัววาล์ว (410) และปลอก รับความดัน (411) โดยผ่านช่องปิด (420) ปลอกนำร่อง (417) ของตัวนำร่องของเหลว (403) ถูกสอดแบบเลื่อนได้เข้าไปยัง ด้านในของปลอกนำร่อง (418) ของชิ้นส่วนสพิน (404) ตัววาล์ว (410) ถูกกระตุ้นโดยสปริง (413) ระหว่างปลอกนำร่อง (417) และปลอก นำร่อง (418) เพื่อปิดเส้นทางการไหลของของเหลว (407) และ ปลอกรับความดันดังกล่าว (411) มีผิวหน้ารับความดัน (414) ที่หันไปยังด้านต้น ทางของเส้นทางการไหลของของเหลว (407) สำหรับรับความดันของของเหลว และ บริเวณของผิวหน้ารับความดันดังกล่าว (414) ถูกเลือกในลักษณะที่ว่า แรงที่เกิด ขึ้นโดยความดันจ่ายของเหลวที่ถูกต้องซึ่งถูกจ่ายไปยังผิวหน้ารับความดันดังกล่าว (411) มากกว่าผล รวมของแรงหยุ่นตัวของชิ้นส่วนสปริง (413) และแรงที่กระทำต่อผิวหน้ารับความดัน (414) และถูก หันไปยังด้านปลายทางของเส้นทางการไหลของของเหลว (407) 1
4. อุปกรณ์จ่ายของเหลวแบบใช้ไกตามข้อถือสิทธิข้อ 8 ที่ซึ่ง ตัวนำร่องของเหลว (3) ถูกจัดไว้ในเส้นทางการไหลของของเหลว (7) ที่ถูกจัดไว้ที่ ด้านต้นทางเมื่อเทียบกับช่องจ่ายออก (5) ตัวนำร่องของเหลวดังกล่าว (3) ประกอบด้วยตัววาล์ว (10) สำหรับปิดเส้นทางการไหลของของเหลว (7) ปลอกรับความดัน (11) ที่ถูกก่อรูปรวมเป็นชิ้นเดียว กันกับตัววาล์ว (10) ชิ้นส่วนยึดเหนี่ยว (12) จะถูกยึดกับท่อจ่าย และชิ้นส่วนสปริง (13) สำหรับ เชื่อมต่อตัววาล์ว (10) และปลอกรับความดัน (11) ที่ถูกก่อรูปรวมเป็นชิ้นเดียวกันดังกล่าวเข้ากับ ชิ้นส่วนยึดเหนี่ยว (12) ปลอกรับความดันดังกล่าว (11) มีผิวหน้ารับความดัน (14) ที่หันไปยังด้านต้นทาง ของเส้นทางการไหลของของเหลว (7) สำหรับรับความดันของของเหลว บริเวณของผิวหน้ารับความดันดังกล่าว (14) ถูกเลือกในลักษณะที่ว่า แรงที่เกิดขึ้น โดยความดันจ่ายของเหลวที่ถูกต้อง ซึ่งถูกจ่ายไปยังผิวหน้ารับความดันดังกล่าว (14) มากกว่าผล รวมของแรงหยุ่นตัวของชิ้นส่วนสปริง (13) และแรงที่กระทำต่อตัววาล์ว (10) และถูกหันไปยังด้าน ปลายทางของเส้นทางการไหลของของเหลว (7) 1
5. อุปกรณ์จ่ายของเหลวแบบใช้ไกตามข้อถือสิทธิข้อ 8 ที่ซึ่ง ตัวนำร่องของเหลว (403) ถูกจัดไว้ในเส้นทางการไหลของของเหลว (407) ที่ถูก จัดไว้ที่ด้านต้นทางเมื่อเทียบกับช่องจ่ายออก (405) ตัวนำร่องของเหลวดังกล่าว (403) ประกอบด้วย ตัววาล์ว (410) สำหรับปิดเส้นทางการไหลของของเหลว (407) ปลอกรับความดัน (411) ที่ถูกก่อรูป รวมเป็นชิ้นเดียวกันกับตัววาล์ว (410) ปลอกนำร่อง (417) ที่เชื่อมต่อตัววาล์ว (410) และปลอกรับ ความดัน (411) โดยผ่านช่องเปิด (420) ปลอกนำร่อง (417) ของตัวนำร่องของเหลว (403) ถูกสอดแบบเลื่อนได้เข้าไปยัง ด้านในของปลอกนำร่อง (418) ของชิ้นส่วนสพิน (404) ปลอกรับความดันดังกล่าว (411) มีผิวหน้ารับความดัน (414) ที่หันไปยังด้าน ต้นทางของเส้นทางการไหลของของเหลว (407) สำหรับรับความดันของของเหลว และ บริเวณของผิวหน้ารับความดันดังกล่าว (414) ถูกเลือกในลักษณะที่ว่า แรงที่ เกิดขึ้นโดยความดันจ่ายของเหลวที่ถูกต้อง ซึ่งถูกจ่ายไปยังผิวหน้ารับความดันดังกล่าว (411) มากกว่าผลรวมของแรงหยุ่นตัวของชิ้นส่วนสปริง (413) และแรงที่กระทำต่อผิวหน้ารับความดัน (414) และถูกหันไปยังด้านปลายทางของเส้นทางการไหลของของเหลว (407)
TH9501002676A 1995-10-25 อุปกรณ์จ่ายของเหลวแบบใช้ไก TH14309B (th)

Publications (2)

Publication Number Publication Date
TH24472A TH24472A (th) 1997-03-25
TH14309B true TH14309B (th) 2003-02-26

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
US5184755A (en) Toy water gun utilizing an air pressure pump
US4489861A (en) Manual liquid dispensing device
US3973700A (en) Bellows pump with extension having integral valves
US7637396B2 (en) Trigger sprayer piston rod with integral spring and ball and socket piston connection
US4669664A (en) Hand manipulatable sprayer
GB2300452A (en) Precompression valve for trigger sprayer
US5979712A (en) Upright/inverted sprayer
CA2501431A1 (en) Low cost trigger sprayer with double valve element
KR960010090A (ko) 트리거형 디스펜서 및 그에 사용하기 위한 일방향 밸브
GB1163444A (en) Improvements in Sprays
GB1187099A (en) Piston Pump for Dispensing Liquids or Fluid Pastes.
US20080121664A1 (en) Autoclavable piston chamber dip tube connection
JPS63502409A (ja) 非−絞り排出ポンプ
CA2227377A1 (en) Multi-part dispenser
JP2016159929A (ja) トリガー式液体噴出器
JP2004511324A (ja) 差動ピストンで形成される出口弁を有する投与部材
US4557401A (en) Fluid container safety valve
US3495544A (en) Hydraulic system
US5540360A (en) Invertible trigger sprayer assembly
JPS61249561A (ja) 液体噴霧装置
US2698700A (en) Toy pistol
US5443185A (en) Dispenser for media
US6233758B1 (en) Water saving mechanism for shower device
TH14309B (th) อุปกรณ์จ่ายของเหลวแบบใช้ไก
TH24472A (th) อุปกรณ์จ่ายของเหลวแบบใช้ไก