TH135757A - ระบบและวิธีการสำหรับการกำจัดความชื้นออกจากอากาศ (Air dehumidification) อย่างมีประสิทธิภาพและการดึงของเหลวกลับคืนมาด้วยการทำความเย็นโดยการระเหย (evaporative cooling) - Google Patents

ระบบและวิธีการสำหรับการกำจัดความชื้นออกจากอากาศ (Air dehumidification) อย่างมีประสิทธิภาพและการดึงของเหลวกลับคืนมาด้วยการทำความเย็นโดยการระเหย (evaporative cooling)

Info

Publication number
TH135757A
TH135757A TH1301002530A TH1301002530A TH135757A TH 135757 A TH135757 A TH 135757A TH 1301002530 A TH1301002530 A TH 1301002530A TH 1301002530 A TH1301002530 A TH 1301002530A TH 135757 A TH135757 A TH 135757A
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
unit
air
vapor
pressure
structured
Prior art date
Application number
TH1301002530A
Other languages
English (en)
Other versions
TH135757B (th
TH51160B (th
Inventor
อี. คลาริดจ์ นายเดวิด
เอช. คัลพ์ นายชาร์ลส
เอส. ฮาเบิร์ล นายเจฟฟรีย์
Original Assignee
นางดารานีย์ วัจนะวุฒิวงศ์
นางสาวสนธยา สังขพงศ์
Filing date
Publication date
Application filed by นางดารานีย์ วัจนะวุฒิวงศ์, นางสาวสนธยา สังขพงศ์ filed Critical นางดารานีย์ วัจนะวุฒิวงศ์
Publication of TH135757B publication Critical patent/TH135757B/th
Publication of TH135757A publication Critical patent/TH135757A/th
Publication of TH51160B publication Critical patent/TH51160B/th

Links

Abstract

DC60 (17/07/56) การประดิษฐ์นี้เกี่ยวข้องกับระบบเเละวิธีการสำหรับการกำจัดความชื้นออกจากอากาศ โดยการจัดให้มีความเเตกต่างของความชื้นในหน่วยกำจัดความชื้นหนึ่งหนึ่งหรือมากกว่า ไอน้ำจากอากาศในบรรยากาศที่ค่อนข้างชื้นที่เข้าสู่หน่วยกำจัดความชื้นจะถูกสกัดออกโดย หน่วยกำจัดความชื้นโดยเเทบจะไม่ได้ควบเเน่นเข้าสู่ปริมาตรสูญญากาศของไอน้ำความดันต่ำ ตัวอย่างเช่น ในลักษณะหนึ่งไอน้้ำจะถูกสกัดผ่านเมมเบรนที่ไอน้ำสามารถซึมผ่านได้ของหน่วยกำจัด ความชื้น เข้าสู่ปริมาตรสูญญากาศของไอน้ำความดันต่ำ ในลักษณะเช่นนี้อากาศที่ออกจาก หน่วยกำจัดความชื้นจะมีความชื้นน้อยกว่าอากาศที่เข้าสู่หน่วยกำจัดความชื้น ไอน้ำความดันต่ำ ที่ถูกสกัดจากอากาศจะถูกอัดให้มีความดันสูงขึ้นเล็กน้อย แล้วควบแน่น และถูกกำจัดออกจากระบบ ที่ภาวะของสิ่งแวดล้อม นอกจากนั้นหน่วยกำจัดความชื้นเเต่ละหน่วยยังอาจจะสัมพันธ์กับ หน่วยทำความเย็นโดยการระเหยหนึ่งหน่วยหรือมากกว่า โดยที่อากาศจะถูกควบคุมการไหลให้ หน่วยทำความเย็นโดยการระเหยเป็นด้านต้นน้ำเเละ/หรือด้านปลายน้ำของหน่วยกำจัดความชื้น ในลักษณะหนึ่งหน่วยกำจัดความชื้นจะทำหน้าที่ลดอัตราส่วนความชื้นเเละอุณหภูมิจนถึงสภาวะ สุดท้ายที่ต้องการโดยวิธีการวนจของอัตราส่วนความชื้นในอุดมคติเทียบกับเส้นโค้งของอุณหภูมิ การประดิษฐ์นี้เกี่ยวข้องกับระบบเเละวิธีการสำหรับยการกำจัดความชื้นออกจากอากาศ โดยการจัดให้มีความเเตกต่างของความชื้นในหน่วยกำจัดความชื้นหนึ่งหรือมากกว่า ไอน้ำจากอากาศในบรรยากาศที่ค่อนข้างชื้นที่เข้าสู่หน่วยกำจัดความชื้นจะถูกสกัดออกโดย หน่วยกำจัดความชื้นโดยเเทบจะไม่ได้ควบเเน่นเข้าสู่ปริมาตรสูญญากาศของไอน้ำความดันต่ำ ตัวอย่างเช่น ในลักษณะหนึ่งไอน้้ำจะถูกสกัดผ่านเมมเบรนที่ไอน้ำสามารถซึมผ่านได้ของหน่วยกำจัด ความชื้น เข้าสู่ปริมาตรสูญญกาศไอน้ำความดันต่ำ ในลักษณะเช่นนี้อากาศที่ออกจาก หน่วยกำจัดจากอากาศจะถูกความชื้นน้อยกว่าอากาศที่เข้าสู่หน่วยกำจัดความชื้น ไอน้ำความดันต่ำ ที่ถูกสกัดจากอากาศจะถูกอัดให้มีความดันสูงขึ้นเล็กน้อย แล้วควบนแน และถูกกำจัดออกจาระบบ ที่ภาวะของสิ่งแวดล้อม นอกจากนั้นหน่วยกำจัดความชื้น เเต่ละหน่วยยังอาจจะสัมพันธ์กับ หน่วยทำความเย็นโดยการระเหยหนึ่งหน่วยหรือมากกว่า โดยที่อากาศจะถูกควบคุมการไหลให้ หน่วยทำความเย็นโดยการระเหยเป็นด้านต้นน้ำเเละ/หรือด้านปลายน้ำของหน่วยกำจัดความชื้น ในลักษณะหนึ่งหน่วยกำจัดความชื้นจะทำหน้าที่ลดอัตราส่วนความชื้นเเละอุณหภูมิจนถึงสภาวะ สุดท้ายที่ต้องการโดยวิธีการวนของอัตราส่วนความชื้นในอุดมคติเทียบกับเส้นโค้งของอุณหภูมิ

Claims (1)

ข้อถือสิทธฺ์ (ทั้งหมด) ซึ่งจะไม่ปรากฏบนหน้าประกาศโฆษณา :แก้ไข 17/07/2558 1.ระบบกำจัดความชื้น (dehumidification system) สำหรับกำจัดไอน้ำจากกระเเสอากาศ ซึ่งประกอบรวมด้วย: ช่องที่หนึ่งเเละช่องที่สองที่เเยกออกจากกันโดยเมนเบรน (membrane) โดยที่เมนเบรนนี้ ถูกจัดโครงสร้างเพื่อช่วยกำจัดไอน้ำจากกระเเสอากาศที่ไหลผ่านช่องที่หนึ่งโดยการช่วยในการผ่าน ของ H2O จากไอน้ำไปยังช่องที่สองผ่านบริเวณที่สามารถเเทรกซึมผ่านได้ของเมนเบรน ในขณะที่ปิด กั้นส่วนประกอบอื่นๆ ทั้งหมดของกระเเสอากาศอย่างมีนัยสำคัญไม่ให้ไหลทะลุผ่านเมมเบรน; หน่วยทำความเย็น โดยการระเหย (evaporative cooling unit) หน่วยที่หนึ่งที่ถูกจัดโครงสร้าง เพื่อทำความเย็นกระเเสอากาศด้านปลายทางของเมมเบรน; หน่วยทำความเย็นโดยการระเหยหน่วยที่สองที่ถูกจัดโครงสร้างเพื่อทำความเย็นกระเเส อากาศด้านต้นทางของเมมเบรน; อุปกรณ์เพิ่มความดันที่ถูกจัดโครงสร้างเพื่อสร้างความดันย่อยของไอน้ำภายในช่องที่สอง ที่ต่ำกว่าช่องที่หนึ่ง ในลักษณะที่ H2O จะเคลื่อนที่ทะลุผ่านเมมเบรนไปยังช่องที่สอง โดยที่อุปกรณ์ เพิ่มความดันก็ถูกจัดโครงสร้างเพื่อเพิ่มความดันของไอน้ำที่ทางออกของอุปกรณ์เพิ่มความดันจนถึง ความดันย่อยของไอน้ำในช่วงที่เหมาะสมสำหรับ การควบเเน่นเป็นน้ำเหลวต่อมา, เเละ อุปกรณ์ควบคุม (controller) ซึ่งประกอบรวมด้วยไมโครโพรเซสเซอร์ที่ถูกจัดโครงสร้างเพื่อ ควบคุมปฏิบัติการของระบบกำจัดความชื้นนี้ 2. ระบบตามข้อถือสิทธิที่ 1 โดยที่ปฏิบัติการประกอบรวมด้วยปฏิบัติการทำความเย็น โดย การระเหยที่หนึ่งที่ได้จากหน่วยทำความเย็น โดยการระเหยหน่วยที่หนึ่ง, ปฏิบัติการกำจัดความชื้นที่ หนึ่งที่ได้จากอุปกรณ์ เพิ่มความดัน และปฏิบัติการทำความเย็นโดยการระเหยที่สองที่ได้จากหน่วยทำ ความเย็น โดยการระเหยหน่วยที่สอง ระหว่างปฏิบัติการ 3. ระบบตามข้อถือสิทธิที่ 2 โดยที่อุปกรณ์ควบคุมถูกจัดโครงสร้างเพื่อควบคุมปฏิบัติการ ของระบบกำจัดความชื้นนี้เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ของการควบคุมอุณหภูมิตามแผนผังไซโคเมตริก (psychrometric chart) ของระบบกำจัดความชื้น 4. ระบบตามข้อถือสิทธิที่ 1 ซึ่งประกอบรวมด้วยอุปกรณ์สำหรับการควบแน่นที่ถูกจัด โครงสร้างเพื่อรับไอน้ำจากอุปกรณ์เพิ่มความดันและควบแน่นไอน้ำไปเป็นน้ำในสถานะของเหลว 5. ระบบตามข้อถือสิทธิที่ 4 ซึ่งประกอบรวมด้วยอุปกรณ์ลำเลียงน้ำที่ถูกจัดโครงสร้างเพื่อ ลำเลียงน้ำในสถานะของเหลวจากอุปกรณ์สำหรับการควบแน่น 6. ระบบตามข้อถือสิทธิที่ 1 โดยที่เมมเบรนนั้นประกอบรวมด้วยซีโอไลต์ (zeolite) 7. ระบบซึ่งประกอบรวมด้วย: หน่วยกำจัดความชื้นสำหรับกำจัดไอ H2O จากกระแสอากาศซึ่งประกอบรวมด้วย: ช่องอากาศที่ถูกจัดโครงสร้างเพื่อรับกระแสอากาศที่เข้ามาและปล่อยกระแสอากาศออกไป: และ วัสดุที่ H2O สามารถซึมผ่านได้ซึ่งอยู่ติดกับช่องอากาศ โดยที่วัสดุที่ H2O สามารถซึมผ่านได้ ถูกจัดโครงสร้างเพื่อให้สามารถเลือก H2O จาก ไอ H2O ในกระแสอากาศที่เข้ามาให้ไหลทะลุผ่านวัสดุ ที่ H2O สามารถซึมผ่านได้ไปยังด้านดูดของวัสดุที่ H2O สามารถซึมผ่านได้ และปิดกั้นส่วนประกอบ อื่นๆ ในกระแสอากาศที่เข้ามาอย่างมีนัยสำคัญไม่ให้ไหลผ่านวัสดุที่ H2O สามารถซึมผ่านได้ไปยัง ด้านดูดของวัสดุที่ H2O สามารถซึมผ่านได้; หน่วยทำความเย็นโดยการระเหยที่ถูกจัดโครงสร้างเพื่อทำความเย็นกระแสอากาศ; อุปกรณ์เพิ่มความดัน ที่ถูกจัดโครงสร้างเพื่อสร้างความดันย่อยของไอ H2O บนด้านดูด ของวัสดุที่ H2O สามารถซึมผ่านได้ที่ต่ำกว่าความดันย่อยของไอ H2O ในกระแสอากาศที่เข้ามา เพื่อขับเคลื่อนการไหลของ H2O ออกจากไอ H2O ในกระแสอากาศที่เข้ามาให้ทะลุผ่านวัสดุที่ H2O สามารถซึมผ่านได้ และเพื่อเพิ่มความดันที่ทางออกของอุปกรณ์เพิ่มความดันจนถึงความดันย่อย ของไอ H2O ที่เหมาะสมสำหรับการควบแน่นไอ H2O ไปเป็น H2O ของเหลว; และ อุปกรณ์ควบคุมซึ่งประกอบรวมด้วยไมโครโพรเซสเซอร์ที่ถูกจัดโครงสร้างเพื่อควบคุม ปฏิบัติการที่หนึ่งของหน่วยกำจัดความชื้น 8. ระบบตามข้อถือสิทธิที่ 7 ซึ่งประกอบรวมด้วย หน่วยทำความเย็นโดยการระเหยหน่วยที่ สองติดตั้งอยู่ที่ด้านต้นทางของหน่วยกำจัดความชื้น 9. ระบบตามข้อถือสิทธิที่ 7 โดยที่อุปกรณ์ควบคุมถูกจัดโครงสร้างเพื่อควบคุมปฏิบัติการที่ สองของหน่วยทำความเย็นโดยการระเหย 1 0. ระบบตามข้อถือสิทธิที่ 7 ซึ่งประกอบรวมด้วยอุปกรณ์สำหรับการควบแน่นที่ถูกจัด โครงสร้างเพื่อรับไอ H2O จากทางออกของอุปกรณ์เพิ่มความดัน และเพื่อควบแน่นไอ H2O ไปเป็น H2O ของเหลว 11. ระบบตามข้อถือสิทธิที่ 10 ซึ่งประกอบรวมด้วยปั๊มป์ของเหลวที่ถูกจัดโครงสร้างเพื่อ ลำเลียง H2O ของเหลวจากอุปกรณ์สำหรับการควบแน่น 12. ระบบตามข้อถือสิทธิที่ 7 โดยที่วัสดุที่ H2O สามารถซึมผ่านได้ประกอบรวมด้วยเมม เบรนที่ H2O สามารถซึมผ่านได้ 13. ระบบตามข้อถือสิทธิที่ 7 โดยที่วัสดุที่ H2O สามารถซึมผ่านได้ประกอบรวมด้วยซีโอไลต์ 14. ระบบตามข้อถือสิทธิที่ 7 โดยที่หน่วยกำจัดความชื้นคือหน่วยกำจัดความชื้นชนิดปรับ ความเร็วได้ และหน่วยทำความเย็น โดยการระเหยคือหน่วยทำความเย็น โดยการระเหยชนิดปรับ ความเร็วได้ 15. วิธีการซึ่งประกอบรวมด้วย: การรับกระแสอากาศที่ประกอบด้วยไอ H2O เข้าสู่ช่องอากาศของหน่วยกำจัดความชื้น โดยที่ กระแสอากาศนั้นมีความดันย่อยค่าแรกของไอ H2O การทำความเย็นกระแสอากาศด้วยหน่วยทำความเย็นโดยการระเหย; การดูด H2O เข้าสู่ช่อไอ H2O ของหน่วยกำจัดความชื้นทะลุผ่านวัสดุที่ H2O สามารถ ซึมผ่านได้ของหน่วยกำจัดความชื้น โดยใช้ความต่างของความดันตลอดวัสดุที่ H2O สามารถซึมผ่าน ได้ โดยที่วัสดุที่ H2O สามารถซึมผ่านได้ประกอบรวมด้วยซีโอไลต์ และช่องไอ H2O มีความดันย่อย ค่าที่สองของไอ H2O ที่ต่ำกว่าความดันย่อยค่าแรกของไอ H2O ของกระแสอากาศ; และ การรับไอ H2O จากช่องไอ H2O เข้าสู่อุปกรณ์เพิ่มความดัน และการเพิ่มความดันของไอ H2O จากอุปกรณ์เพิ่มความดันจนถึงความดันย่อยค่าที่สามของไอ H2O ที่สูงกว่าความดันย่อยค่าที่สอง ของไอ H2O 1 6. วิธีการตามข้อถือสิทธิที่ 15 ซึ่งประกอบรวมด้วยการทำความเย็นกระแสอากาศด้วยหน่วย ความเย็นโดยการระเหย ก่อนจะควบคุมกระแสอากาศเข้าสู่หน่วยกำจัดความชื้น 1 7. วิธีการตามข้อถือสิทธิที่ 15 ซึ่งประกอบรวมด้วยการทำความเย็นกระแสอากาศด้วย หน่วยทำความเย็น โดยการระเหยหลังจากการรับ กระแสอากาศ จากหน่วยกำจัดความชื้น 18. วิธีการตามข้อถือสิทธิที่ 15 ซึ่งประกอบรวมด้วยการทำความเย็นกระแสอากาศด้วย หน่วยทำความเย็น โดยการระเหยหน่วยที่หนึ่ง ก่อนจะควบคุมกระแสอากาศเข้าสู่หน่วยกำจัดความชื้น และการทำความเย็นกระแสอากาศด้วยหน่วยทำความเย็น โดยการระเหยหน่วยที่สองหลังจากการรับ กระแสอากศจากหน่วยกำจัดความชื้น 1 9. วิธีการตามข้อถือสิทธิที่ 15 ซึ่งประกอบรวมด้วยการรับ ไอ H2O จากอุปกรณ์เพิ่มความดัน เข้าสู่อุปกรณ์สำหรับการควบแน่นและการควบแน่นไอ H2O ไปเป็น H2O ของเหลว 2 0. วิธีการตามข้อถือสิทธิที่ 19 โดยที่กระแสอากาศนั้นมีค่าความดันย่อยค่าแรกของไอ H2O ในช่วงประมาณ 0.2-1.0 psia, ความดันย่อยค่าที่สองของไอ H2O มีค่าในช่วงประมาณ 0.1-1.0 psia, และความดันย่อยค่าที่สามของไอ H2O มีค่าในช่วงประมาณ 0.25-1.1 psia 21. ระบบตามข้อถือสิทธิที่ 3 โดยที่การควบคุมตามแผนผังไซโคเมตริก ประกอบรวมด้วย การปรับอย่างน้อยหนึ่งจุดบนแผนผังไซโคเมตริก ------------------------------------------------
1.ระบบกำจัดความชื้น(dehumidification system)สำหรับกำจัดไอน้ำจากกระเเสอากาศ ซึ่งประกอบด้วย ช่องที่หนึ่งเเละช่องที่สองที่เเยกออกจากกันโดยเมนเเรน(membrane)โดยที่เมนเบรนนี้ ถูกจัดโครงสร้างเพื่อช่วยกำจัดไอน้ำจากกระเเสอากาศที่ไหลผ่านช่องที่หนึ่งโดยการใช้เส้นทางของ H O จากไอน้ำไปยังช่องที่สองผ่านบริเวณที่สามารถเเทรกซึมผ่านได้ของเมนเบรน ในขณะที่ปิดกั้น ส่วนประกอบอื่นๆ ทั้งหมดของกระเเสอากาศเป็นส่วนใหญ่ไม่ให้ไหลทะลุผ่านเมมเบรน หน่วยหล่อเย็นโดยการระเหย(cvaportive cooling unit)หน่วยที่หนึ่งที่ถูกจัดโครงสร้าง เพื่อหล่อเย็นกระเเสอากาศด้านปลายน้ำของเมมเบรน หน่วยหล่อเย็นโดยการระเหยหน่วยที่สองที่ถูกจัดโครงสร้างเพื่อหล่อเย็นกระเเสอากาศ ด้านต้นน้ำของเมมเบรน อุปกรณ์เพิ่มความดันที่ถูกจัดโครงสร้างเพื่อสร้างความดันย่อยของไอน้ำภายในช่องที่สอง ที่ต่ำกว่าช่องที่หนึ่ง ในลักษณะที่ H O จะเคลื่อนที่ทะลุผ่านเมมเบรนไปยังช่องที่สอง โดยที่อุปกรณ์ เพิ่มความดันก็ถูกจัดฌโครงสร้างเพื่อเพิ่มความดันของไอน้ำที่ทางออกของอุปกรณ์เพิ่มความดันจนถึง ความดันย่อยของไอน้ำในช่วงที่เหมาะสมสำหรับ การควบเเน่นเป็นน้ำต่อมา เเละ อุปกรณ์ควบคุม(controller)ที่ถูกจัดโครงสร้างเพื่อควบคุมปฏิบัติการของระบบกำจัด ความชื้นนี้
TH1301002530A 2011-11-11 ระบบและวิธีการสำหรับการกำจัดความชื้นออกจากอากาศ (Air dehumidification) อย่างมีประสิทธิภาพและการดึงของเหลวกลับคืนมาด้วยการทำความเย็นโดยการระเหย (evaporative cooling) TH51160B (th)

Publications (3)

Publication Number Publication Date
TH135757B TH135757B (th) 2014-07-28
TH135757A true TH135757A (th) 2014-07-28
TH51160B TH51160B (th) 2016-09-08

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
KR101939417B1 (ko) 증발 냉각에 의한 효율적 공기 제습 및 액체 회수용 위한 시스템 및 방법
KR101939416B1 (ko) 다단 펌프를 사용하여 공기 제습 및 현열 냉각을 위한 시스템 및 방법
JP2014500793A5 (th)
US8685145B2 (en) System and method for efficient multi-stage air dehumidification and liquid recovery
JP2015102284A (ja) 除湿機
WO2012065137A3 (en) System and method for efficient air dehumidification and liquid recovery
US6705092B1 (en) Vapor membrane dehumidification for air cycle environment control system
JP2019196899A (ja) 加湿装置及び空気組成調節装置
EP2623179A1 (en) A rotary air drying apparatus
TH135757A (th) ระบบและวิธีการสำหรับการกำจัดความชื้นออกจากอากาศ (Air dehumidification) อย่างมีประสิทธิภาพและการดึงของเหลวกลับคืนมาด้วยการทำความเย็นโดยการระเหย (evaporative cooling)
US20190145638A1 (en) High volume air stream water recovery system
TH51160B (th) ระบบและวิธีการสำหรับการกำจัดความชื้นออกจากอากาศ (Air dehumidification) อย่างมีประสิทธิภาพและการดึงของเหลวกลับคืนมาด้วยการทำความเย็นโดยการระเหย (evaporative cooling)
KR20150136206A (ko) 산소발생 기능을 구비하는 제습기
TH135757B (th) ระบบและวิธีการสำหรับการกำจัดความชื้นออกจากอากาศ (Air dehumidification) อย่างมีประสิทธิภาพและการดึงของเหลวกลับคืนมาด้วยการทำความเย็นโดยการระเหย (evaporative cooling)
RU2729408C1 (ru) Способ получения воды из воздуха
TH65765B (th) ระบบและวิธีการขจัดความชื้นในอากาศและทำความเย็นที่ตรวจรู้ได้โดยใช้เครื่องสูบแบบหลายภาค
TH131721A (th) ระบบและวิธีการขจัดความชื้นในอากาศและทำความเย็นที่ตรวจรู้ได้โดยใช้เครื่องสูบแบบหลายภาค
TH131721B (th) ระบบและวิธีการขจัดความชื้นในอากาศและทำความเย็นที่ตรวจรู้โดยใช้เครื่องสูบแบบหลายภาค
JPH02222711A (ja) 除湿方法