TH127363A - สารควบคุมสำหรับโรคเน่าและวิธีควบคุมสำหรับโรคเดียวกัน - Google Patents

สารควบคุมสำหรับโรคเน่าและวิธีควบคุมสำหรับโรคเดียวกัน

Info

Publication number
TH127363A
TH127363A TH1101003717A TH1101003717A TH127363A TH 127363 A TH127363 A TH 127363A TH 1101003717 A TH1101003717 A TH 1101003717A TH 1101003717 A TH1101003717 A TH 1101003717A TH 127363 A TH127363 A TH 127363A
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
alpha
vegetable
chloro
vegetables
soil
Prior art date
Application number
TH1101003717A
Other languages
English (en)
Other versions
TH127363B (th
TH75190B (th
Inventor
คุราตะ นายโยชิคาซุ
ฮายาชิ นายฮิโรยูคิ
Original Assignee
นางสาวยิ่งลักษณ์ ไกรฤกษ์
นางสาวปวริศา อุดมธนภัทร
นางสาววรรษิกา ฟักมีทอง
Filing date
Publication date
Application filed by นางสาวยิ่งลักษณ์ ไกรฤกษ์, นางสาวปวริศา อุดมธนภัทร, นางสาววรรษิกา ฟักมีทอง filed Critical นางสาวยิ่งลักษณ์ ไกรฤกษ์
Publication of TH127363A publication Critical patent/TH127363A/th
Publication of TH127363B publication Critical patent/TH127363B/th
Publication of TH75190B publication Critical patent/TH75190B/th

Links

Abstract

DC60 (17/04/58) การประดิษฐ์นี้ได้จัดทำไว้ด้วย สารควบคุมชนิดใหม่สำหรับโรคเน่าเละและวิธีควบคุมแบบใหม่ สำหรับโรคเดียวกัน สารควบคุมสำหรับโรคเน่าเละของผักนี้จะมี 3-คลอโร-N-(3-คลอโร-5-ไตรฟลูออโร เมทิล-2-ไพริดิล)-แอลฟา,แอลฟา,แอลฟา-ไตรฟลูออโร-2,6-ไดไนโตร-p-โทลูอิดีนอยู่ด้วยในฐานะ ส่วนประกอบออกฤทธิ์ซึ่งถูกใช้กับดินสำหรับปลูกผัก

Claims (5)

ข้อถือสิทธฺ์ (ทั้งหมด) ซึ่งจะไม่ปรากฏบนหน้าประกาศโฆษณา :------01/12/2560------(OCR) หน้า 1 ของจำนวน 1 หน้า ข้อถือสิทธิ 1. สารควบคุมสำหรับโรคเน่าเละของผักเกิดขึ้นโดย Erwinia carotovora ซึ่งประกอบรวมด้วย 3-คลอโร-N-(3-คลอโร-5-ไตรฟลูออโรเมทิล-2-ไพริดิล)-แอลฟา,แอลฟา,แอลฟา-ไตรฟลูออโร- 2,6-ไดไนโตร-p-โทลูอีนในฐานะส่วนประกอบออกฤทธิ์ ซึ่งส่วนประกอบออกฤทธิ์ถูกใช้กับผิวดินสำหรับ ผักโดยไม่ผสมลงในดิน และตามด้วยการหว่านเมล็ดผักหรือเมล็ดพืชของผักในลงไป หรือเมล็ดผักถูก เพาะปลูกลงในนั้น 2. วิธีควบคุมสำหรับโรคเน่าเละของผักเกิดขึ้นโดย Erwinia carotovora ซึ่งประกอบรวมด้วย การให้ปริมาณที่ออกฤทธิ์ 3-คลอโร-N-(3-คลอโร-5-ไตรฟลูออโรเมทิล-2-ไพริดิล)-แอลฟา,แอลฟา , แอลฟา-ไตรฟลูออโร-2,6-ไดไนโตร-p-โทลูอีนกับผิวดินสำหรับผักโดยไม่ผสมลงในดิน และตามด้วย การหว่านเมล็ดผักหรือเมล็ดพืชของผักในลงไป หรือเมล็ดผักถูกเพาะปลูกลงในนั้น 3. วิธีควบคุมสำหรับโรคเน่าเละตามข้อถือสิทธิที่ 2 ซึ่งปริมาณของ 3-คลอโร-N-(3-คลอโร-5- ไตรฟลูออโรเมทิล-2-ไพริดิล)-แอลฟา,แอลฟา,แอลฟา-ไตรฟลูออโร-2,6-ไดไนโตร-P-โทลูอีนที่ให้แก่ดิน สำหรับปลูกพืชจะอยู่ที่จาก 0.025 ถึง 2.5 ก./ม2 4. สารควบคุมสำหรับโรคเน่าเละตามข้อถือสิทธิที่ 1 ที่ซึ่งผักนี้ คือ ผักอย่างน้อยที่สุดหนึ่งชนิดที่ เลือกจากกลุ่มที่ประกอบด้วยหน่อไม้ฝรั่ง, อองดิฟ (endive), คาลล่า (calla), กะหลํ่าดอก, กะหลํ่าปลี, หัวบุก (amorphophallus konjac), Brassica campestris, ผักคึ่นช่าย, หัวผักกาดขาว (Japanese radish), ยาลูบ, หอมหัวใหญ่, ผักฉ่อย (qing-geng-cai), มะเขือเทศ, มะเขือยาวม่วง, แครอท, ต้นหอม (green onion), ผักกาดขาว (Chinese cabbage), Brassica oleracea X Brassica campestris, ผักชีฝรั่ง, มันฝรั่ง, บล็อคคอลี่, กระเทียมจีน (rakkyo), ผักกาดหอม, วาซาบิ (wasabi) และออยซีด เรพ 5. วิธีควบคุมสำหรับโรคเน่าเละตามข้อถือสิทธิที่ 2 หรือ 3 ซึ่งผักนี้ คือ ผักอย่างน้อยที่สุดหนึ่ง ชนิดที่เลือกจากกลุ่มที่ประกอบด้วยหน่อไม้ฝรั่ง, อองดิฟ (endive), คาลล่า (calla), กะหลํ่าดอก, กะหล่ำปลี, หัวบุก (amorphophallus konjac), Brassica campestris, ผักคึ่นช่าย, หัวผักกาดขาว (Japanese radish), ยาสูบ, หอมหัวใหญ่, ผักฉ่อย (qing-geng-cai), มะเขือเทศ, มะเขือยาวม่วง, แครอท, ต้นหอม (green onion), ผักกาดขาว (Chinese cabbage), Brassica oleracea X Brassica campestris, ผักชีฝรั่ง, มันฝรั่ง, บล็อคคอลี่, กระเทียมจีน (rakkyo), ผักกาดหอม, วาซาบิ (wasabi) และออยซีด เรพ ------------ แก้ไข 17/04/58
1. สารควบคุมสำหรับโรคเน่าเละของผักเกิดขึ้นโดย Erwinia carotovora ซึ่งประกอบรวมด้วย 3-คลอโร-N-(3-คลอโร-5-ไตรฟลูออโรเมทิล-2-ไพริดิล)-แอลฟา, แอลฟา,แอลฟา-ไตรฟลูออโร- 2,6-ได ไนโตร-p-โทลูอีนในฐานะส่วนประกอบออกฤทธิ์ ซึ่งส่วนประกอบออกฤทธิ์ถูกใช้กับผิวดิน สำหรับผักโดยไม่ผสมลงในดิน และตามด้วยการหว่านเมล็ดผักหรือเมล็ดพืชของผักในลงไป หรือเมล็ด ผักถูกเพาะปลูกลงในนั้น
2. วิธีควบคุมสำหรับโรคเน่าและผักเกิดขึ้นโดย Erwinia carotovora ซึ่งประกอบรวมด้วย การให้ 3-คลอโร-N-(3-คลอโร-5-ไตรฟลูออโรเมทิล-2-ไพริดิล)-แอลฟา,แอลฟา,แอลฟา-ไตรฟลูออโร- 2,6-ไดไนโตร-p-โทลูอีนกับผิวดินสำหรับผักโดยไม่ผสมลงในดิน และตามด้วยการหว่านเมล็ดผักหรือ เมล็ดพืชของผักในลงไป หรือเมล็ดผักถูกเพาะปลูกลงในนั้น
3. วิธีควบคุมสำหรับโรคเน่าเละตามข้อถือสิทธิที่ 2 ซึ่งปริมาณของ 3-คลอโร-N-(3-คลอโร-5- ไตรฟลูออโรเมทิล-2-ไพริดิล)-แอลฟา,แอลฟา,แอลฟา-ไตรฟลูออโร-2,6-ไดไนโตร-p-โทลูอีนที่ให้แก่ดิน สำหรับปลูกพืชจะอยู่ที่จาก 0.025 ถึง 2.5 ก./ม2
4. สารควบคุมสำหรับโรคเน่าเละตามข้อถือสิทธิที่ 1 ที่ซึ่งผักนี้ คืออย่างน้อยที่สุดหนึ่งชนิดที่ เลือกจากกลุ่มที่ประกอบด้วยหนอไม่ฝรั่ง, endive, calla, กะหล่ำดอก, กะหล่ำปลี, หัวบุก (amorphophallus konjac), Brassica campestris, ผักคื่นช่าย, หัวผักกาดขาว (Japanese radish), ยาสูบ, หอมหัวใหญ่, ผักฉ่อย (qing-geng-cai), มะเขือเทศ, มะเขือยาวม่วง, แครอท, ต้นหอม (green onion), ผักกาดขาว (Chinese cabbage), Brassica oleracea x Brassica campestris, ผักชีฝรั่ง, มันฝรั่ง, บล็อคคอลี่, rakkyo, ผักกาดหอม, วาซาบิ (wasabi) และออยซีด เรพ
5. วิธีควบคุมสำหรับโรคเน่าเละตามข้อถือสิทธิที่ 2 หรือ 3 ซึ่งผักนี้ คือ ผักอย่างน้อยที่สุดหนึ่ง ชนิดที่เลือกจากกลุ่มที่ประกอบด้วยหน่อไม่ฝรั่ง, endive, calla, กะหล่ำดอก, กะหล่ำปลี, หัวบุก (amorphophallus konjac), Brassica campestris, ผักคื่นช่าย, หัวผักกาดขาว (Japanese radish), ยาสูบ, หอมหัวใหญ่, ผักฉ่อย (qing-geng-cai), มะเขือเทศ, มะเขือยาวม่วง, แครอท, ต้นหอม (green onion), ผักกาดขาว (Chinese cabbage), Brassica oleracea x Brassica campestris, ผักชีฝรั่ง, มันฝรั่ง, บล็อคคอลี่, rakkyo, ผักกาดหอม, วาซาบิ (wasabi) และออยซีด เรพ ------------------------------------------- 1.สารควบคุมสำหรับโรคเน่าและของพืชซึ่งประกอบรวมด้วย 3-คลอโร-N-(3-คลอโร-5-ไตรฟลูออโรเมทิล-2-ไพริดิล)-แอลฟา,แอลฟา,แอลฟา-ไตรฟลูออโร-2,6-ไดไนโตร-p-โทลูอีนในฐานะส่วนประกอบออกฤทธิ์
TH1101003717A 2010-06-04 สารควบคุมสำหรับโรคเน่าและวิธีควบคุมสำหรับโรคเดียวกัน TH75190B (th)

Publications (3)

Publication Number Publication Date
TH127363A true TH127363A (th) 2013-09-20
TH127363B TH127363B (th) 2013-09-20
TH75190B TH75190B (th) 2020-03-18

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
Ayyogari et al. Impact of climate change on vegetable cultivation-a review
RU2012101444A (ru) Средство для борьбы с мокрой гнилью, способ борьбы с ней
Ventura et al. Effects of day length on flowering and yield production of Salicornia and Sarcocornia species
Gossen et al. Effect of environmental parameters on clubroot development and the risk of pathogen spread
Miglécz et al. Establishment of three cover crop mixtures in vineyards
Sastawa et al. Management of insect pests of soybean: effects of sowing date and intercropping on damage and grain yield in the Nigerian Sudan savanna
SA518391094B1 (ar) طريقة زراعية لإنتاج الخضروات والفطر
Knezevic et al. Soybean yield and yield components as influenced by the single and repeated flaming
Do Vale et al. Successional processes in agricultural mosaics in the eastern Amazon
Bangarwa et al. Brassicaceae cover-crop effects on weed management in plasticulture tomato
Proctor et al. Effect of boron nutrition on American ginseng in field and in nutrient cultures
JP2006213612A (ja) 植物活力剤
Majrashi Preliminary assessment of weed population in vegetable and fruit farms of Taif, Saudi Arabia
Chaudhari et al. Performance of different varieties and planting date on growth of knolkhol (Brassica oleracea var. gongylodes)
Bairwa et al. Introduction of potato cyst nematodes, life cycle and their management through biobased amendments
TH127363A (th) สารควบคุมสำหรับโรคเน่าและวิธีควบคุมสำหรับโรคเดียวกัน
TH75190B (th) สารควบคุมสำหรับโรคเน่าและวิธีควบคุมสำหรับโรคเดียวกัน
Elad et al. White mould of sweet basil: conditions influencing its development in greenhouses and cultural measures for disease management
Manzoor et al. Horticulture crop under pressure: Unraveling the impact of climate change on nutrition and fruit cracking
Kaur et al. Harvest time residues of pendimethalin and oxyfluorfen in vegetables and soil in sugarcane-based intercropping systems
Chauhan et al. Implications of watersheds in bringing Change in the cropping system and its productivity
JP2020162460A (ja) アブラナ属の野菜とダイコン属の野菜との属間雑種の生産方法、並びに、飲食品の製造方法及び飲食品
Umamaheswari et al. Effect of biofumigation on potato cyst nematodes
Vermani et al. Nutrient uptake and economic weed management in garlic (Allium sativum L.)
Jadhav et al. Crop Planning Based on Moisture Adequacy Index (MAI) of Different Talukas of Aurangabad District of Maharashtra