TH9299B - Metal production from ore - Google Patents

Metal production from ore

Info

Publication number
TH9299B
TH9299B TH9301001117A TH9301001117A TH9299B TH 9299 B TH9299 B TH 9299B TH 9301001117 A TH9301001117 A TH 9301001117A TH 9301001117 A TH9301001117 A TH 9301001117A TH 9299 B TH9299 B TH 9299B
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
electrolyte
line
copper
metals
cell
Prior art date
Application number
TH9301001117A
Other languages
Thai (th)
Other versions
TH16785A (en
Inventor
เคนเน็ธ เอเวอเร็ตต์ นายปีเตอร์
Original Assignee
นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์
นายดำเนิน การเด่น
นายดำเนิน การเด่น นายต่อพงศ์ โทณะวณิก นายวิรัช ศรีเอนกราธา นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์
นายต่อพงศ์ โทณะวณิก
นายวิรัช ศรีเอนกราธา
Filing date
Publication date
Application filed by นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์, นายดำเนิน การเด่น, นายดำเนิน การเด่น นายต่อพงศ์ โทณะวณิก นายวิรัช ศรีเอนกราธา นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์, นายต่อพงศ์ โทณะวณิก, นายวิรัช ศรีเอนกราธา filed Critical นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์
Publication of TH16785A publication Critical patent/TH16785A/en
Publication of TH9299B publication Critical patent/TH9299B/en

Links

Abstract

ได้ให้รายละเอียดกรรมวิธี สำหรับการผลิตโลหะชนิดเดียวหรือมากกว่าจากแร่ที่เป็นวัสดุ ป้อน 12 ป้อนแร่นั้นเข้าสู่อุปกรณ์ชะละลาย 10 ซึ่งแร่นั้นจะสัมผัสกับสารอิเล็กโทรไลต์ 14 อุปกรณ์ชะละลายมี แนวของการลดศักย์ออกซิเดชัน 17, 18, 19, 20 ตามลำดับ แยกสาย ของอิเล็กโทรไลต์ 14A ออกจากแนว 20 และจัดการเพื่อแยกสารเจือปนและโลหะที่ไม่ต้อง การออกในหน่วยการจัดการ 25A ก่อนการฟื้นตัวโลหะด้วยการแยกสารด้วยไฟฟ้า แล้วจึงคืน สารอิเล็กโทรไลต์หลังการแยกสารด้วยไฟฟ้ากลับไปยังหน่วยชะละลาย 10 อาจแยกสายอิเล็กโทรไลต์ที่สอง 14B ออกจากแนว 19 สำหรับการฟื้นตัวของโลหะเพิ่ม เติม จัดการสายอิเล็กโทรไลต์ที่สอง 14B เพื่อแยกสารเจือปนและโลหะที่ไม่ต้องการใดๆออกใน หน่วยการจัดการ 25B ก่อนการฟื้นตัวโลหะด้วยการแยกสารด้วยไฟฟ้า แล้วจึงคืนสาร อิเล็กโทรไลต์หลังการแยก สารด้วยไฟฟ้ากลับไปยังหน่วยชะละลาย 10 กรรมวิธีทำให้การชะละลายของแร่ที่ชะละลายยาก, รวมถึงทอง, เป็นไปได้ และสามารถ ผลิตโลหะความบริสุทธิสูงชนิดเดียวหรือมากกว่า Has given details of the process For the production of one or more metals from the feed material 12, feed the ore into the leachate 10, where the ore is in contact with the electrolyte. Line of reduction of oxidation potential 17, 18, 19, 20, respectively, separates the electrolyte wire 14A from line 20 and manages to separate impurities and unwanted metals. Issued in the 25A handling unit before the metal recovery with electrolysis, and then return the electrolyte after electrolysis back to the leaching unit 10, the second electrolyte cable may be separated 14B. Out of line 19 for additional metal recovery, handle the second electrolyte wire 14B to separate any unwanted impurities and metals in the Handling unit 25B before metal recovery by electrolysis And then return the message Electrolytes after separation Electrolytic substances are returned to 10 leaching units, making the leaching of difficult leaching minerals, including gold, possible and capable of producing one or more high purity metals.

Claims (7)

1. กรรมวิธีสำหรับการผลิตโลหะหนึ่งชนิดหรือมากกว่า จากแร่ที่มีโลหะเดียวกันนั้น ซึ่ง ได้มีการถ่ายโอนไปยังกรรมวิธีการชะละลายที่ประกอบด้วยแนวศักย์ออกซิเดชันสูง (แนว hop) และแนวศักย์ออกซิเดชันต่ำ (แนว lop) และซึ่งผ่านสารอิเล็กโทรไลต์ที่มี pH กรดจากแนว hop ไปยังแนว lop ที่ประกอบด้วยขั้นตอนของ: ( i ) การป้อนแร่เข้า ในแนว lop ให้สัมผัสกับสารอิเล็กโทรไลต์ ซึ่งชะละลายอย่างน้อย บางโลหะหรือแต่ละโลหะ จากแร่ ด้วยอย่างน้อยบางโลหะหรือแต่ละโลหะที่ชะ ละลายนั้น อยู่ในสถานะเวเลนท์ออกซิเดชันต่ำ; ( ii ) การแยกสารอิเล็กโทรไลต์ที่ออกจากแนว lop ด้วยไฟฟ้า ในกรรมวิธีการแยกด้วย ไฟฟ้า เพื่อผลิตโลหะหนึ่งชนิดหรือมากกว่า และเพื่อเพิ่มศักย์ออกชิเดชันของสาร อิเล็กโทรไลต์ ที่ออกจากกรรมวิธีแยกสารด้วยไฟฟ้า; ( iii ) การคืนสารอิเล็กโทรไลต์ที่ได้เพิ่มศักย์ออกชิเดชันไปยังแนว hop ของกรรมวิธีการ ชะละลาย; และ ( iv ) การลดศักย์ออกชิเดชันของสารอิเล็กโทรไลต์ เมื่อผ่านทะลุแนว lop ไปยังระดับก่อน การแยกด้วยไฟฟ้า ซึ่งลดศักย์ออกชิเดชันของสารอิเล็กโทรไลต์นั้นโดยการสัมผัสทวน กระแสของสารอิเล็กโทรไลต์ กับแร่ เมื่อผ่านสารอิเล็กโทรไลต์ทะลุแนว hop ไปยัง แนว lop และเมื่อผ่านแร่นั้นจากแนว lop ไปยังแนว hop 2. กรรมวิธีตามที่ข้อถือสิทธิในข้อถือสิทธิข้อ 1 ซึ่งสารที่ออกซิไดซ์ได้นั้นเป็นแร่ และสาร อิเล็กโทรไลต์อยู่ในการสัมผัสต่อเนื่องกับแร่นั้น เมื่อผ่านแร่นั้นจากแนว lop ไปยังแนว hop เพื่อ ชะละลายอย่างเพียงพอโลหะนั้นหรือแต่ละโลหะจากแร่นั้น 3. กรรมวิธีตามที่ขอถือสิทธิในข้อถือสิทธิข้อ 2 ซึ่งสารอิเล็กโทรไลต์นั้นรวมถึง เฮไลด์ สองสารหรือมากกว่า และนำมาซึ่งการเพิ่มในศักย์ออกซิเดชันของสารอิเล็กโทรไลต์ โดยการก่อ เกิดสารเชิงซ้อน เฮไลด์ หนึ่งสารหรือมากกว่า ซึ่งทำให้เกิดการชะละลายต่อไปอีกของโลหะหนึ่ง ชนิดหรือมากกว่าจากแร่นั้น เมื่อมันผ่านทะลุแนว hop 4. กรรมวิธีตามที่ขอถือสิทธิในข้อถือสิทธิข้อ 3 ซึ่งสารอิเล็กโทรไลต์นั้นรวมถึง ทองแดงที่ละลายในแนว hop และแนว hop นั้นประกอบด้วยแนวการชะละลายสารเชิงซ้อน เฮไลด์ (แนว hcl) ซึ่งผ่านสารอิเล็กโทรไลต์ที่คืนจากกรรมวิธีการแยกด้วยไฟฟ้าเข้าในนั้น และ ซึ่งการชะละลายสุดท้ายของแร่นั้นเกิดขึ้นก่อนแยกเอามันออกจากกรรมวิธีการชะละลายนั้น และ แนวการผึ่งอากาศ ซึ่งผ่านสารอิเล็กโทรไลต์จากแนว hcp และผึ่งอากาศ และซึ่งผ่านแร่ที่ชะ ละลายบางส่วนจากแนว lop สำหรับการชะละลายต่อไปอีก ก่อนการถ่ายโอนไปยังแนว hcl, การผึ่งอากาศตกตะกอนเหล็กที่ชะละลาย เมื่อมีอยู่ในแร่นั้น และ/หรือ ออกซิไดซ์ อย่างน้อยบาง ส่วนของทองแดง คิวพรัส ใดๆ ที่มีอยู่ในแนวการผึ่งอากาศไปเป็นทองแดง คิวพริค 5. กรรมวิธีตามที่ขอถือสิทธิในข้อถือสิทธิข้อ 4 ซึ่งสารอิเล็กโทรไลต์ที่คืนไปยังแนว hop อยู่ที่ศักย์ออกซิเดชัน (Eh) มากกว่า 600 มิลลิโวลต์ ด้วยการอ้างอิงถึงขั้วไฟฟ้ามาตรฐาน Ag/AgCl 6. กรรมวิธีตามที่ขอถือสิทธิในข้อถือสิทธิข้อ 5 ซึ่งสารอิเล็กโทรไลต์ชะละลายทองใดๆ ที่มีอยู่ในแร่ที่ป้อนแก่กรรมวิธีการชะละลาย และซึ่งแยกส่วนหนึ่งของสารอิเล็กโทรไลต์ในแนว hop และผ่านไปยังกรรมวิธีการแยกบริสุทธิ์กลับคืน (recovery) ทอง ที่ประกอบด้วยขั้นตอนของ: การผ่านส่วนสารอิเล็กโทรไลต์นั้นไปยังฐานคาร์บอนกัมมันต์ (activated carbon); การสัมผัสส่วนสารอิเล็กโทรไลต์นั้นด้วยสารละลายศักย์ออกซิเดชันต่ำ เพื่อลด Eh ถึงใต้ +600 มิลลิโวลต์ ด้วยการอ้างอิงถึงขั้วไฟฟ้ามาตรฐาน Ag/AgCl เพื่อทำให้ทองนั้นออกมาจาก สารละลาย และดูดซับบนคาร์บอนกัมมันต์นั้น; การแยกคาร์บอนนูนด้วยทองที่ดูดซับบนนั้นออกจากส่วนสารอิเล็กโทรไลต์เป็นผลิตภัณฑ์ คาร์บอน/ทอง; การคืนส่วนสารอิเล็กโทรไลต์ที่พร่องทองไปยังแนว hop; และ การแยกบริสุทธิ์กลับคืนจากผลิตภัณฑ์ คาร์บอน/ทอง 7. กรรมวิธีตามที่ขอถือสิทธิในข้อถือสิทธิข้อ 6 ซึ่งใช้สารละลายศักย์ออกซิเดชันต่ำ แคโทไลต์ (catholyte) จากกรรมวิธีการแยกด้วยไฟฟ้า 8. กรรมวิธีตามที่ขอถือสิทธิในข้อถือสิทธิข้อ 2 ซึ่งใช้สารอิเล็กโทรไลต์รวมถึง คลอไรต์ และทองแดงที่ละลาย ซึ่งถือได้ว่าอยู่ในสถานะ คิวพริค เมื่อสารอิเล็กโทรไลต์เข้าในแนว hop และถือได้ว่าอยู่ในสถานะ คิวพรัส เมื่อสารอิเล็กโทรไลต์ออกจากแนว lop 9. กรรมวิธีตามที่ขอถือสิทธิในข้อถือสิทธิข้อ 8 ซึ่งแร่ที่ป้อนแก่กรรมวิธีการชะละลายรวม ถึงทองแดงในรูป ซัลไฟด์ ซึ่งทำให้การถ่ายโอนของแร่ผ่านกรรมวิธีการชะละลาย ตกตะกอน กำมะถัน ที่เป็นธาตุ ซึ่งจะแยกกับแร่ที่ชะละลายออกจากกรรมวิธีการชะละลายนั้น 1 0. กรรมวิธีตามที่ขอถือสิทธิในข้อถือสิทธิข้อ 9 ซึ่งแนว lop ประกอบด้วยแนวทองแดงที่ ละลาย (แนว dc) ซึ่งอย่างน้อยส่วนหนึ่งของทองแดงนั้นอยู่ในรูปที่ละลายแล้ว และแนวตกตะกอน ทองแดง (แนว cp) ซึ่งตกตะกอนอย่างน้อยส่วนหนึ่งของทองแดงที่ละลายใดๆ ในสาร อิเล็กโทรไลต์นั้น จากสิ่งนั้นให้ผสมกับแร่ใดๆ ที่ได้ป้อนแก่กรรมวิธีการชะละลายในแนว cp เพื่อก่อ เกิดสารผสม แล้วจึงถ่ายโอนสารผสมนั้นทวนกระแสผ่านกรรมวิธีการชะละลาย, ด้วยสารอิเล็กโทรไลต์จากแนว hop ที่ขั้นแรกผ่านทะลุแนว dc แล้วจึงผ่านแนว cp และ ด้วยแร่ที่กำลังป้อนแก่กรรมวิธีชะละลายไปยังถ้าไม่แนวใดแนวหนึ่งก็ทั้งสองแนวของแนว dc และ cp 1 1. กรรมวิธีตามที่ขอถือสิทธิในข้อถือสิทธิข้อ 10 ซึ่งกรรมวิธีการแยกด้วยไฟฟ้ารวมถึง การผลิตทองแดงในอย่างน้อยหนึ่งเซลล์การแยกทองแดงด้วยไฟฟ้า ซึ่งทำให้สารอิเล็กโทรไลต์ที่ ผ่านไปยังเซลล์การแยกทองแดงด้วยไฟฟ้า มาจากแนว lop และโดยทำให้สารอิเล็กโทรไลต์นั้น มาจากแนว dc 1 2. กรรมวิธีตามที่ขอถือสิทธิในข้อถือสิทธิข้อ 11 ซึ่งจัดการสารอิเล็กโทรไลต์หลังจาก ออกจากแนว lop และก่อนที่จะเข้าเซลล์การแยกทองแดงด้วยไฟฟ้า กรรมวิธีการจัดการนั้น ประกอบด้วยขั้นตอนของ; (ic) การแยกอย่างเพียงพอสารเจือปนใดๆในสารอิเล็กโทรไลต์; และ/หรือ (id) การแยกอย่างเพียงพอโลหะบางชนิดหรือหลายชนิด ซึ่งปนเปื้อนทองแดงที่ผลิตใน เซลล์การแยกทองแดงด้วยไฟฟ้า 1 3. กรรมวิธีตามที่ขอถือสิทธิในข้อถือสิทธิข้อ 12 ซึ่งแร่ที่ป้อนแก่กรรมวิธีชะละลายนั้นรวม ถึงหนึ่งโลหะหรือมากกว่าของ Pb, Zn, As, Sb, Bi, Hg, Ag, Fe เป็นโลหะบางชนิดหรือ หลายชนิด และการแยกที่เพียงพอของโลหะบางชนิดหรือหลายชนิดในขั้นตอน (id) รวมถึงการ จัดการสารอิเล็กโทรไลต์ในกรรมวิธีการจัดการ; (ie) ประกอบด้วยขั้นตอนของ การผ่านสารอิเล็กโทรไลต์ไปยังเซลล์การแยกด้วยไฟฟ้าที่มี แคโทด และ แอโนด ทองแดง; การเติมปรอทที่ละลายได้แก่สารอิเล็กโทรไลต์ในเซลล์นั้น; การแยกด้วยไฟฟ้าสารละลายที่ได้นั้น เพื่อก่อเกิดโลหะเจือปรอท (amalgam) Cu/Hg/Ag บน แคโทด, และในบางครั้งการแยกเอาโลหะเจือปรอทนั้น และการ ละลายมันในสารละลายการออกซิไดซ์; การเจือจางสารละลายนั้นเพื่อตกตะกอน เงิน เป็น เงิน คอลไรด์; และ การแยกเอา เงิน คลอไรด์ ออกจากสารละลายส่วนเหลือ, เพื่อแยกเอา Ag และ Hg ใดๆ ในสารอิเล็กโทรไลต์; หรือ ( if ) ประกอบด้วยขั้นตอนของ การเพิ่ม pH ของสารอิเล็กโทรไลต์สูงถึงค่าในช่วงจากประมาณ 6 ถึง 6.5 หรือ ถึงค่าก่อนการตกตะกอน ทองแดง คิวพรัส พอดี, ในการเพิ่มทีละขั้นของช่วง pH ที่ กำหนดล่วงหน้า หนึ่งช่วงหรือมากกว่า ระหว่าง pH 3.5 และค่าที่กล่าวแล้วนั้น, แต่ละช่วง pH ตรงกับจุดหนึ่งซึ่งหนึ่งชนิดหรือมากกว่าของโลหะบางชนิดหรือหลาย ชนิด ตกตะกอนจากสารอิเล็กโทรไลต์; และ การแยกเอาตะกอนของหนึ่งชนิดหรือมากกว่าของโลหะบางชนิดหรือหลายชนิด ที่แต่ ละช่วง pH ออกจากสารอิเล็กโทรไลต์, เพื่อแยกอย่างเพียงพอโลหะบางชนิดหรือ หลายชนิดที่เหลือ 1 4. กรรมวิธีตามที่ขอถือสิทธิในข้อถือสิทธิข้อ 13 ซึ่งก่อนขั้นตอน (ie) สาร อิเล็กโทรไลต์สัมผัสกับโลหะทองแดงเพื่อรีดิวซ์ทองแดง ควิพริค ไปเป็นทองแดง คิวพรัส และเพื่อ ทำให้ความเข้มข้นของเงินใดๆในสารอิเล็กโทรไลต์เกิดบนทองแดงนั้น โดยทำให้ลดปริมาณที่มีอยู่ สารอิเล็กโทรไลต์เงิน ถึงประมาณ 15 ppm 1 5. กรรมวิธีตามที่ขอถือสิทธิในข้อถือสิทธิข้อ 13 ซึ่งสารละลายการออกซิไดซ์เป็นส่วน หนึ่งของ แอโนไลต์ ที่กลับคืน ที่มีอย่างน้อยบางทองแดง คิวพริคอยู่ในนั้น เมื่อมี จากหนึ่งเซลล์ การแยกทองแดงด้วยไฟฟ้า ในกรรมวิธีนั้น 1 6. กรรมวิธีตามที่ขอถือสิทธิในข้อถือสิทธิข้อ 13 ซึ่งขั้นตอน (ie) ไม่ได้แยกเอา Hg ใดๆออกอย่างเพียงพอ ถูกแยกเอาออกอย่างเพียงพอโดยการสัมผัสอย่างน้อยส่วนหนึ่งของสาร อิเล็กโทรไลต์จากขั้นตอน (ie) กับโลหะทองแดง แล้วคืนกลับสารอิเล็กโทรไลต์ที่สัมผัสแล้วนั้นไป ยังขั้นตอน (if) 1 7. กรรมวิธีตามที่ขอถือสิทธิในข้อถือสิทธิข้อ 10 ซึ่งชะละลายตะกอนทองแดงที่ถ่ายโอน ผ่านแนว dc และเข้าในแนว hop ตามลำดับ จากสิ่งนั้นโดยทำให้แร่ที่ออกจากกรรมวิธีการชะ ละลายนั้นถือได้ว่าปราศจากทองแดง 1 8. กรรมวิธีตามที่ขอถือสิทธิในข้อถือสิทธิข้อ 1 ซึ่งจัดการสารอิเล็กโทรไลต์หลังจากออก จากแนว lop และก่อนที่จะเข้ากรรมวิธีการแยกด้วยไฟฟ้า กรรมวิธีการจัดการนั้นประกอบด้วยขั้น ตอนของ; (ia) การแยกสารเจือปนใดๆ ในสารอิเล็กโทรไลต์; และ/หรือ (ib) การแยกโลหะบางชนิดหรือหลายชนิด ซึ่งอาจปนเปื้อนโลหะหรือแต่ละโลหะในกรรม วิธีการแยกด้วยไฟฟ้า 1 9. กรรมวิธีตามที่ขอถือสิทธิในข้อถือสิทธิข้อ 18 ซึ่งขั้นตอน (ib) รวมถึงการเพิ่ม pH ของสารอิเล็กโทรไลต์นั้นถึงระดับที่เพียงพอที่จะรักษาโลหะหรือแต่ละโลหะในสารละลายไว้ และ ซึ่งทำให้เกิดการตกตะกอนของอย่างน้อยบางส่วนของโลหะบางชนิดแล้ว จึงแยกตะกอนออกจาก สารอิเล็กโทรไลต์นั้น 2 0. กรรมวิธีตามที่ขอถือสิทธิในข้อถือสิทธิข้อ 18 ซึ่งอย่างน้อยหนึ่งสารเจือปนเป็นเงิน และขั้นตอน (ia) เป็นกรรมวิธีการจัดการสำหรับการแยกเงินออย่างเพียงพอจากสาร อิเล็กโทรไลต์ คิวพรัส คลอไรด์ ที่ประกอบด้วยขั้นตอนของ: การผ่านสารอิเล็กโทรไลต์ไปยังเซลล์การแยกด้วยไฟฟ้าที่มี แคโทด และ แอโนด ทองแดง; การเติมปรอทที่ละลายได้แก่สารอิเล็กโทรไลต์ในเซลล์นั้น การแยกด้วยไฟฟ้าสารละลายที่ได้นั้นเพื่อก่อเกิดโลหะเจือปรอท Cu/Hg/Ag บน แคโทด, 2 1. กรรมวิธีตามที่ขอถือสิทธิในข้อถือสิทธิข้อ 20 ที่ประกอบด้วยขั้นตอนเพิ่มเติมของ: การแยกโลหะเจือปรอทนั้นและละลายมันในสารละลายการออกซิไดซ์; การเจือจางสารละลายนั้นเพื่อตกตะกอน เงิน เป็น เงิน คลอไรด์; และ การแยกเอา เงิน คลอไรด์ ออกจากสารละลายส่วนเหลือนั้น 2 2. กรรมวิธีตามที่ขอถือสิทธิในข้อถือสิทธิข้อ 20 ซึ่งการแยกด้วยไฟฟ้าที่กล่าวแล้วนั้นของ สารละลายที่ได้นั้น ใช้ความหนาแน่นกระแส แคโทด ต่ำ 2 3. กรรมวิธีตามที่ขอถือสิทธิในข้อถือสิทธิข้อ 20 ซึ่งวัสดุ แคโทดเป็น ไทเทเนียม และ ทำให้เกิด แอโนด ทองแดง เป็นแท่งที่ไม่ต่อเนื่อง หรือ แกรนูล (granule) ในตะกร้า ไทเทเนียม รูพรุน 2 4. กรรมวิธีตามที่ขอถือสิทธิในข้อถือสิทธิข้อ 18 ซึ่งสารเจือปนนั้นรวมถึงโลหะบางชนิด หรือหลายชนิดและขั้นตอน (ib) เป็นกรรมวิธีการจัดการสำหรับการแยกออกอย่างเพียงพอโลหะ บางชนิดหรือหลายชนิดนั้น จากสารอิเล็กโทรไลต์ คิวพรัส คลอไรด์ ที่มี pH โดยทั่วไปน้อยกว่า 3.5 ที่ประกอบด้วยขั้นตอนของ: การเพิ่ม pH ของสารอิเล็กโทรไลต์สูงถึงค่าในช่วงจากประมาณ 6 ถึง 6.5 หรือถึงค่า ก่อนการตกตะกอน ทองแดง คิวพรัส พอดี, ในการเพิ่มทีละขั้นของช่วง pH ที่กำหนดล่วง หน้า หนึ่งช่วงหรือมากกว่า ระหว่าง pH 3.5 และค่าที่กล่าวแล้วนั้น, แต่ละช่วง pH ตรง กับจุดหนึ่งซึ่งหนึ่งชนิดหรือมากกว่าของโลหะบางชนิดหรือหลายชนิด ตกตะกอนจากสาร อิเล็กโทรไลต์; และ การแยกเอาตะกอนของหนึ่งชนิดหรือมากกว่าของโลหะบางชนิดหรือหลายชนิด ที่แต่ละช่วง pH ออกจากสารอิเล็กโทรไลต์ 2 5. กรรมวิธีตามที่ขอถือสิทธิในข้อถือสิทธิข้อ 24 ซึ่งโลหะที่ตกตะกอนรวมถึง เหล็ก, อาร์เซนิก, พลวง, บิสมัท, ตะกั่ว, สังกะสี, นิกเกิล และ ทองแดง ควิพริค 2 6. กรรมวิธีตามที่ขอถือสิทธิในข้อถือสิทธิข้อ 24 ซึ่งอาจเติมเกลือ เฟอร์รัส ที่ละลายได้ แก่สารละลาย และเพิ่ม pH โดยการเติม โซเดียม คาร์บอเนท Na2 CO3 2 7. กรรมวิธีตามที่ขอถือสิทธิในข้อถือสิทธิข้อ 1 ซึ่งกรรมวิธีการแยกด้วยไฟฟ้า รวมถึง การผลิตโลหะหนึ่งชนิดหรือมาก ในเซลล์การแยกด้วยไฟฟ้าหนึ่งเซลล์หรือมากกว่า ซึ่งเซลล์การ แยกด้วยไฟฟ้านั้นหรือแต่ละเซลล์ ประกอบด้วยเยื่อ ที่แบ่งแยก แคโทด ออกจาก แอโนด และซึ่ง ผลิตโลหะนั้นหรือแต่ละโลหะ ที่ แคโทด ของเซลล์ที่กำหนดให้ สารอิเล็กโทรไลต์ก่อเกิด แคโทไลต์ ที่ด้าน แคโทด ของเซลล์นั้น และสารอิเล็กโทรไลต์ก่อเกิด แอโนไลต์ ที่ด้าน แอโนด ของ เซลล์ ด้วยอย่างน้อยส่วนหนึ่งของ แคโทไลต์ ที่ถ่ายโอนไปเป็น แอโนไลต์ ถ้าไม่ทะลุ ก็โดย ผ่านเยื่อ โดยตรง, หรือโดยทางอ้อมผ่านเซลล์การแยกด้วยไฟฟ้าต่อไปอีกหนึ่งเซลล์หรือมากกว่า 2 8. กรรมวิธีตามที่ขอถือสิทธิในข้อถือสิทธิข้อ 27 ซึ่งเยื่อไม่เป็นรูพรุน และ แคโทไลต์ ไหลอ้อมเยื่อนั้น 2 9. กรรมวิธีตามที่ขอถือสิทธิในข้อถือสิทธิข้อ 27 ซึ่งกรรมวิธีการแยกด้วยไฟฟ้ารวมถึง หลายเซลล์การแยกด้วยไฟฟ้าเป็นอนุกรม ด้วย แคโทไลต์ และ แอโนไลต์ อยู่ในถ้าไม่การไหล ตามกระแส ก็การไหลทวนกระแส เป็นอนุกรม และเมื่อไหลทวนกระแส: ถ่ายโอนอย่างน้อยส่วนหนึ่งของ แคโทไลต์ จากเซลล์ที่กำหนดให้ในอนุกรมนั้น แก่เซลล์ ลำดับต่อไปในอนุกรมนั้น เพื่อก่อเกิดอย่างน้อยส่วนหนึ่งของ แคโทไลต์ ของเซลล์นั้น และ คืนอย่างน้อยส่วนหนึ่งของ แอโนไลต์ ในเซลล์ลำดับต่อไป กลับไปที่เซลล์ที่กำหนดให้ เพื่อ ก่อเกิดอย่างน้อยส่วนหนึ่งของ แอโนไลต์ ในเซลล์ที่กำหนดให้นั้น; และเมื่อไหลตามกระแส: ถ่ายโอนอย่างน้อยส่วนหนึ่งของ แคโทไลต์ จากเซลล์ที่กำหนดให้ในอนุกรมนั้น แก่เซลล์ ลำดับต่อไปในอนุกรมนั้น เพื่อก่อเกิดอย่างน้อยส่วนหนึ่งของ แคโทไลต์ ของเซลล์นั้น และ ถ่ายโอนอย่างน้อยส่วนหนึ่งของ แอโนไลต์ ในเซลล์ที่กำหนดให้นั้น เพื่อก่อเกิดอย่างน้อย ส่วนหนึ่งของ แอโนไลต์ ในเซลล์ลำดับต่อไป; ซึ่งอย่างน้อยส่วนหนึ่งของ แคโทไลต์ สำหรับเซลล์แรกในอนุกรมนั้น เป็นสารอิเล็กโทรไลต์ จากแนว S lop และอย่างน้อยส่วนหนึ่งของสารอิเล็กโทรไลต์ที่คืนกลับไปยังแนว hop ถ้า ไม่เป็น แอโนไลต์ จากเซลล์แรกในอนุกรม เมื่อ แคโทไลต์ และ แอโนไลต์ อยู่ในการ ไหลทวนกระแส ก็เป็น แอโนไลด์ จากเซลล์สุดท้าย เมื่อ แคโทไลต์ และ แอโนไลต์ อยู่ ในการไหลตามกระแส 3 0. กรรมวิธีตามที่ขอถือสิทธิในข้อถือสิทธิข้อ 29 ซึ่ง แคโทไลต์ และ แอโนไลต์ อยู่ใน การไหลทวนกระแส ถ่ายโอนอย่างน้อยส่วนหนึ่งของ แคโทไลต์ จากเซลล์สุดท้ายในอนุกรมนั้น เพื่อก่อเกิด แอโนไลต์ ของเซลล์สุดท้าย และเมื่อ แคโทไลต์ และ แอโนไลต์ อยู่ในการไหลตาม กระแส ถ่ายโอนอย่างน้อยส่วนหนึ่งของ แคโทไลต์ จากเซลล์สุดท้ายในอนุกรมนั้น เพื่อก่อเกิด แอโนไลต์ ของเซลล์แรก 3 1. กรรมวิธีตามที่ขอถือสิทธิในข้อถือสิทธิข้อ 29 ซึ่งใช้กรรมวิธีการจัดการสำหรับสาร อิเล็กโทรไลต์ที่เข้ามาถึงแต่ละเซลล์ สำหรับการแยกเอาสารเจือปนใดๆ ในสารอิเล็กโทรไลต์ และสำหรับการแยกเอาโลหะใดๆ ซึ่งอาจปนเปื้อนโลหะนั้นหรือแต่ละโลหะที่ผลิตในเซลล์นั้น 3 2. กรรมวิธีตามที่ขอถือสิทธิในข้อถือสิทธิข้อ 31 ซึ่งแร่ที่ป้อนแก่กรรมวิธีการชะละลาย รวมถึง Ni, Pb และ Zn และหนึ่งของเซลล์ในอนุกรมเป็นสำหรับการผลิตของ Ni, อีกเซลล์ เป็นสำหรับการผลิต Pb หรือ Pb/Zn และอีกเซลล์เป็นสำหรับการผลิตของ Zn 3 3. กรรมวิธีตามที่ขอถือสิทธิในข้อถือสิทธิข้อ 32 ซึ่งกรรมวิธีการจัดการก่อนเซลล์การ ผลิต นิกเกิล รวมถึงการผ่านสารอิเล็กโทรไลต์ ผ่าน นิกเกิล ที่เป็นอนุภาค, กรรมวิธีการจัดการ ก่อนเซลล์การผลิต ตะกั่ว รวมถึงการผ่านสารอิเล็กโทรไลต์ ผ่าน ตะกั่ว ที่เป็นอนุภาค และกรรม วิธีการจัดการก่อนเซลล์การผลิต สังกะสี รวมถึงการผ่านสารอิเล็กโทรไลต์ ผ่าน สังกะสี ที่เป็น อนุภาค 3 4. กรรมวิธีตามที่ขอถือสิทธิในข้อถือสิทธิข้อ 27 ซึ่งใช้กรรมวิธีการจัดการยังรวมถึงการ จัดการสารอิเล็กโทรไลต์ที่เข้ามาในกรรมวิธีนั้นประกอบด้วยขั้นตอนของ: การผ่านสารอิเล็กโทรไลต์ไปยังเซลล์การแยกด้วยไฟฟ้าที่มี แคโทด และ แอโนด ทองแดง; การเติมปรอทที่ละลายได้แก่สารอิเล็กโทรไลต์ในเซลล์นั้น; การแยกด้วยไฟฟ้าสารละลายที่ได้นั้น เพื่อก่อเกิดโลหะเจือปรอท Cu/Hg/Ag บน แคโทด, และในบางครั้งการแยกเอาโลหะเจือปรอทนั้น และการละลายมันในสารละลายการ ออกซิไดซ์; การเจือจางสารละลายนั้นเพื่อตกตะกอน เงิน เป็น เงิน คลอไรด์; และ การแยกเอา เงิน คลอไรด์ ออกจากสารละลายส่วนเหลือ, เพื่อแยกเอา Ag และ Hg ใดๆ อย่างเพียงพอ; หรือ การเพิ่ม pH ของสารอิเล็กโทรไลต์สูงถึงค่าในช่วงจากประมาณ 6 ถึง 6.5 หรือถึงค่า ก่อนการตกตะกอน ทองแดง คิวพรัส พอดี, ในการเพิ่มทีละขั้นของช่วง pH ที่กำหนดล่วง หน้า หนึ่งช่วงหรือมากกว่า ระหว่าง pH 3.5 และค่าที่กล่าวแล้วนั้น, แต่ละช่วง pH ตรง กับจุดหนึ่งซึ่งหนึ่งชนิดหรือมากกว่าของโลหะบางชนิดหรือหลายชนิด ตกตะกอนจากสาร อิเล็กโทรไลต์; และ การแยกเอาตะกอนของหนึ่งชนิดหรือมากกว่าของโลหะบางชนิดหรือหลายชนิด ที่แต่ละช่วง pH ออกจากสารอิเล็กโทรไลต์, เพื่อแยกอย่างเพียงพอโลหะบางชนิดหรือหลายชนิดที่เหลือ ของโลหะที่กล่าวแล้วนั้น ซึ่งอาจปนเปื้อนโลหะนั้นหรือแต่ละโลหะที่ผลิตในเซลล์ที่กำหนดให้ 3 5. กรรมวิธีการชะละลายทวนกระแสสำหรับการชะละลายโลหะหนึ่งชนิดหรือมากกว่า จากแร่ที่มีสิ่งเดียวกันนั้น กรรมวิธีนั้นประกอบด้วยแนวศักย์ออกซิเดชันสูง (แนว hop) และแนว ศักย์ออกซิเดชันต่ำ (แนว lop) ซึ่งป้อนสารอิเล็กโทรไลต์ที่มี pH กรดแก่แนว hop และป้อนแร่ แก่แนว lop ที่ประกอบด้วยขั้นตอนของ: (1) การผ่านสารอิเล็กโทรไลต์จากแนว hop ไปยังแนว lop และการถ่ายโอนแร่จาก แนว lop ไปยังแนว hop ในทิศทางทวนกระแสกับการไหลสารอิเล็กโทรไลต์ รักษาสารอิเล็กโทรไลต์นั้นในการสัมผัสต่อเนื่องกับแร่ เพื่อชะละลายอย่างน้อยบาง ส่วนของโลหะหนึ่งชนิดหรือมากกว่า จากสิ่งนั้น โดยสิ่งนั้นลดต่ำศักย์ออกซิเดชันของ มัน (2) การแยกสารอิเล็กโทรไลต์ออกจากแนว lop ด้วยโลหะหนึ่งชนิดหรือมากกว่าในนั้น และการแยกบางส่วนหรืออย่างเพียงพอ แร่ที่ชะละลายจากแนว hop ซึ่งสารอิเล็กโทรไลต์ที่ป้อนแก่แนว hop รวมถึงสารเชิงซ้อน เฮไลด์ หนึ่งสารหรือมากกว่าที่ก่อ เกิดจากการผสมรวมกันของ เฮไลด์ สองชนิดหรือมากกว่า 3 6. กรรมวิธีตามที่ขอถือสิทธิในข้อถือสิทธิข้อ 35 ซึ่งสารอิเล็กโทรไลต์รวมถึง คลอไรด์ และทองแดงที่ละลาย ซึ่งถือได้ว่าอยู่ในสถานะ คิวพริค เมื่อสารอิเล็กโทรไลต์เข้าในแนว hop 3 7. กรรมวิธีตามที่ขอถือสิทธิในข้อถือสิทธิข้อ 36 ซึ่งแนว hop นั้นประกอบด้วยแนวการ ชะละลายสารเชิงซ้อน เฮไลด์ (แนว hcl) ซึ่งป้อนสารอิเล็กโทรไลต์แก่กรรมวิธีนั้น และซึ่ง การชะละลายสุดท้ายของแร่นั้นเกิดขึ้นก่อนแยกเอามันออกจากกรรมวิธีการชะละลายนั้น และแนว การผึ่งอากาศ ซึ่งผ่านสารอิเล็กโทรไลต์จากแนว hcp และผึ่งอากาศ และซึ่งผ่านแร่ที่ชะละลาย บางส่วนจากแนว lop สำหรับการชะละลายต่อไปอีก ก่อนการถ่ายโอนไปยังแนว hcl, การผึ่ง อากาศตกตะกอนเหล็กที่ชะละลาย เมื่อมีอยู่ในแร่นั้น และ/หรือ ออกซิไดซ์ อย่างน้อยบางส่วนของ ทองแดง คิวพรัส ใดๆ ที่มีอยู่ในแนวการผึ่งอากาศไปเป็นทองแดง คิวพริค 3 8. กรรมวิธีตามที่ขอถือสิทธิในข้อถือสิทธิข้อ 37 ซึ่งแนว lop ประกอบด้วยแนวทองแดง ที่ละลาย (แนว dc) ซึ่งอย่างน้อยส่วนหนึ่งของทองแดงนั้นอยู่ในรูปที่ละลายแล้ว และแนวตก ตะกอนทองแดง (แนว cp) ซึ่งตกตะกอนอย่างน้อยส่วนหนึ่งของทองแดงที่ละลายใดๆ ในสาร อิเล็กโทรไลต์นั้น จากสิ่งนั้นให้ผสมกับแร่ใดๆ ที่ได้ป้อนแก่กรรมวิธีการชะละลายในแนว cp กับสาร อิเล็กโทรไลต์จากแนว hop ที่ขั้นแรกผ่านทะลุแนว dc แล้วผ่านแนว cp ก่อนออกจากกรรมวิธีนั้น และกับแร่ที่ป้อนแก่กรรมวิธีไปยัง ถ้าไม่แต่ละแนวก็ทั้งสองแนวของแนว dc และ cp 3 9. กรรมวิธีตามที่ขอถือสิทธิในข้อถือสิทธิข้อ 38 ซึ่งแร่ที่ป้อนแก่กรรมวิธีการชะละลาย รวมถึงทองแดงในรูป ซัลไฟด์ ซึ่งทำให้การถ่ายโอนของแร่ผ่านกรรมวิธีการชะละลาย ตกตะกอน กำมะถัน ที่เป็นธาตุ ซึ่งจะแยกกับแร่ที่ชะละลายออกจากกรรมวิธีการชะละลายนั้น 4 0. กรรมวิธีตามที่ขอถือสิทธิในข้อถือสิทธิข้อ 38 ซึ่งศักย์ออกซิเดชันในแนว dc มากกว่า ศักย์ออกซิเดชันในแนว cp 41. a process for the production of one or more metals. From ores of the same metal, which were transferred to a leaching process consisting of high oxidation potential (hop line) and low oxidation potential (lop line), and through which pH electrolyte. The acid from the hop line to the lop consists of the steps of: (i) Feeding the minerals into the lop line, in contact with the electrolyte. Leaching at least Some metals or individual metals from ore with at least some metals or each leached metal are in a low oxidation state; (ii) Electrolyte separation from the lop line in electrolysis to produce one or more metals. And to increase the oxidation potential of the substance Electrolyte From the electrolysis process; (iii) recovery of the oxidation potential electrolyte to the hop line of the leaching process; And (iv) reduction of the oxidation potential of the electrolyte. When passing through the lop line to the previous level Electrical isolation Which reduces the oxidation potential of that electrolyte by counter-contact The electrolyte flows through the mineral through the electrolyte through the hop line to the lop line, and when passing the mineral from the lop line to the hop line. 1 where the oxidizing substance is a mineral and the electrolyte is in continuous contact with that mineral The mineral is passed from the lop to the hop line for sufficient leaching, that metal or each metal from that mineral. 3. The process as requested in claim 2, in which the electrolyte includes hali. Two or more substances And it brings an increase in the oxidation potential of the electrolyte by the formation of one or more halide complexes. Which causes further leaching of one metal A type or more from that mineral When it passes through the hop line 4. The process of claiming claim 3, in which the electrolyte includes The copper dissolved in the hop and hop lines consists of the halide complex leaching line (hcl line) through which the electrolyte recovered from the electrolysis process is in it, and the final leaching of The mineral is formed before removing it from the leaching process and the aeration path. Which through the electrolyte from the hcp and aerated and through the leached minerals Partially thawed from the lop line for further leaching. Before transfer to hcl line, aeration is precipitated leached iron. When it is present in the mineral and / or oxidizes at least some of the cuprous copper contained in the aerating line to the cupric copper. 5. Procedures required by the claim. Clause 4 where the electrolyte returned to the hop line is at an oxidation potential (Eh) greater than 600 millivolt with reference to the Ag / AgCl standard electrode. 6. Clause 5 which any electrolyte leaches gold Contained in ores fed to the leaching process And which separates a part of the electrolyte in the hop line and goes through a process of pure gold recovery which consists of the process of: passing that electrolyte part to the activated carbon base. Munt (activated carbon); Contacting the electrolyte part with a low oxidation potential solution to reduce Eh to under +600 mV with reference to the Ag / AgCl standard electrode to make the gold come out of the solution and absorb it on the carbon. Mantle; The separation of the upper adsorbent gold embossed carbon from the electrolyte portion is a carbon / gold product; Return of the gold-depleted electrolyte portion to the hop line; 7. Process as requested in claim 6, which uses a low-catolytic oxidation potential (catholyte) solution from electrolysis. 8. Process as requested. Clause 2, which uses electrolytes including chlorite and dissolved copper. This can be considered in the queue state when the electrolyte enters the hop line and can be regarded as in the cuvette state when the electrolyte leaves the lop line. Clause 8 in which minerals fed to the total leaching process To copper in the form of sulfide which makes the transfer of the mineral through the leaching process, precipitate the elemental sulfur, which is separated with the leachate from the leaching process. 1 0. Clause 9, where the lop consists of a dissolved copper line (dc), where at least part of the copper is in the melted form. And the copper precipitation line (cp line), which precipitates at least part of any dissolved copper in that electrolyte. From that, mix it with any mineral The mixture was then fed to the cp leaching process to form a mixture, then the mixture was transferred counter-current through the leaching process, with a hop electrolyte that first passed through the dc line, then Through the cp line and with the mineral being fed to the leaching process, to, if not, either direction or both of the dc and cp lines 1. 1. The process as requested in claim 10, which also separates the process. Electric including Copper production in one or more cells, electrolytic copper separation Which makes the electrolyte Through to the cell, the electrolytic copper separation is from the lop line, and by the electrolyte is supplied from the dc line 1. 2. The procedure as requested in claim 11, which handles the electrolyte. After leaving the lop line and before entering the electrolytic copper separation cell The management process. It consists of the steps of; (ic) adequate separation of any impurity in the electrolyte; And / or (id) adequate separation of some or several metals. Which is contaminated with copper produced in Electrolytic copper separation cell 1 3. The process as requested in claim 12, in which the minerals fed to the leaching process included To one or more metals of Pb, Zn, As, Sb, Bi, Hg, Ag, Fe belong to some or more metals and adequate separation of some or more metals in the (id) phase, including their handling. Electrolytes in the handling process; (ie) consists of the steps of Passage of electrolytes to electrolytic separation cells with cathode and copper anode; The addition of dissolved mercury, i.e. electrolyte in that cell; Electrolysis, the resulting solution To form the Cu / Hg / Ag mercury alloy (amalgam) Cu / Hg / Ag on the cathode, and sometimes the separation of the mercury alloy and dissolve it in the oxidizing solution; Dilution of the solution to precipitate silver to silver chloride; And the separation of silver chloride from the remainder of the solution, to remove any Ag and Hg in the electrolyte; Or (if) consists of a step of increasing the pH of the electrolyte up to a value in the range from approximately 6 to 6.5 or up to the value before the cuprous copper precipitation, in a step-by-step increment of the pH range at Preset One or more ranges between pH 3.5 and the above, each pH corresponds to a point in which one or more of some or more metals are precipitated from electrolytes; And the separation of sediments of one or more of some or more metals at each pH range from the electrolyte, to adequately separate certain metals or The remainder of the number 1 4. Procedures required for claim No. 13, which, prior to the procedure (ie), the electrolyte was in contact with the copper metal to reduce quipric copper to cupric copper. And to make any concentration of silver in the electrolyte on that copper By reducing the amount available Silver electrolyte up to approximately 15 ppm 1 5. Process as requested in Clause 13 in which the oxidizing solution is part of a reversible anolyte containing at least some copper. The queue is in it when it is from one cell. Electrolytic copper separation In the process 1 6. Process for which claim is made in Clause 13 in which the procedure (ie) does not adequately exclude any Hg. Is sufficiently isolated by exposure to at least part of the substance Electrolyte from step (ie) to copper metal. The contacted electrolyte is returned to step (if) 1. 7. Process as requested in Clause 10, which leaches the copper sludge transferred through the dc line and into the line. hop sequentially from that, by making the ore from the leaching process The solubility can be regarded as copper-free. 1 8. The method as requested in claim 1, which manages the electrolyte after leaving the lop line and before entering the electrolysis process. The management process consists of a process of; (ia) separation of any impurity In electrolyte substances; And / or (ib) separation of some or several metals. Which may contaminate metals or individual metals in karma Electrolysis Method 1 9. Procedure as claimed in claim 18 where the procedure (ib) includes increasing the pH of the electrolyte to a level sufficient to maintain the metal or individual metal. In the solution, and which then causes the precipitation of at least some of the metal Therefore separating the sediment from The electrolyte is 2 0. Process under Clause 18 in which at least one of the additives is silver and a procedure (ia) is a management method for the separation of sufficient funds from the substance. Cupras chloride electrolyte consisting of the steps of: electrolyte passage to the electrolytic cell with cathode and copper anode; Adding dissolved mercury is an electrolyte in that cell. Electrolysis The resulting solution to form Cu / Hg / Ag mercury alloys on the cathode, 2. 1. Procedure as requested in claim 20, which includes additional steps of: Separation of the mercury alloy and dissolving it. It in an oxidizing solution; Dilution that solution to precipitate silver to silver chloride; And separation of silver chloride from the remainder of the solution. 2 2. Process according to claim 20. The resulting solution Low cathode current density 2 3. Process as requested in claim 20, in which the cathode material is titanium and produces a discontinuous copper anode or granule in porous titanium baskets. 2 4. The process for which the claim is made in Clause 18 in which the additive includes certain metals. Or multiple types and procedures (ib) are management methods for the separation of sufficient metals. Some or many of them From an electrolyte cupras chloride with a typical pH of less than 3.5 consisting of a procedure: increasing the pH of the electrolyte to a value in the range from approximately 6 to 6.5 or up to Before the cuprous copper precipitation, in a stepwise increment of one or more pre-determined pH ranges between pH 3.5 and the foregoing, each pH range corresponds to a point where one or more of the metals. Some or many kinds Precipitated from substances Electrolytes; And the separation of sediments of one or more of some or more metals at each pH range from the electrolyte. 2 5. The process as requested in claim 24, in which the precipitated metals include Iron, Arsenic, Antimony, Bismuth, Lead, Zinc, Nickel and Copper Quipric 2 6. Process as requested in Clause 24 which may add soluble ferrous salts to the solution and increase pH by: Adding Sodium Carbonate Na2 CO3 2 7. Process as requested in Clause 1 where the electrolysis process includes the production of one or more metals. In one or more electrolysis cells in which that electrolysis cell or individual cells It consists of a membrane that separates the cathode from the anode and which produces that metal or individual metal at the cathode of a given cell. Electrolytes form the cathode on the cathode side of the cell, and electrolytes form an anolite on the anode side of the cell, with at least part of the catolytes transferred. It is an anolyte, if not penetrated, either directly through membranes, or indirectly through one or more electrolytic separation cells. 2. 8. Procedures in accordance with claim 27, in which the membrane is not The porosity and catalytic flow around the membrane. 2. 9. The process as requested in claim 27, which the electrolysis process includes Multi-cells, series electrolysis with catolytes and anolytes in, if not, flow in series, and when countercurrent: transfer at least part of the catalytic. From a cell assigned in that series to the next cell in that series To form at least part of that cell's catolytes and return at least part of the anolytes in subsequent cells. Return to the cell assigned to produce at least part of the anolyte in the given cell; And as it flows: transfer at least a portion of the catolytes from the cells given in the series to the next cells in that series. To form at least part of that cell's catolytes and transfer at least part of the anolite in the cells assigned to it To form at least part of the anolytes in subsequent cells; Which at least part of the catolytes for the first cell in that series It is an electrolyte from the S-lop line and at least part of the electrolyte returned to the hop line if not anolite from the first cell in the series. The lite is in counter-flow, it is an anolyide from the last cell when the catolite and anolite are in the flow according to the current 3 0. The process as requested in claim 29, which c. Tolite and anolite are in counter flow. Transfer at least part of the catolytes from the last cell in that series to form the last cell anolytes and when the catolytes and anolites are in the flow, at least part of the transfer current. The cytolites were obtained from the last cell in that series to form the first cell anolyte. 3. 1. Procedures that apply to claim No. 29, which uses a management method for the substance. Electrolytes entering each cell For the separation of any impurity In the electrolyte And for removing any metal This may contaminate that metal or individual metals produced in that cell. 3. 2. Process as requested in Clause 31 in which minerals fed to the leaching process include Ni, Pb and Zn and one of the cells. In series it is for the production of Ni, the other cell is for the production of Pb or Pb / Zn and the other is for the production of Zn 3. 3. The process as requested in Clause 32 is the pre-cell handling process. Nickel production includes electrolyte passivation through nickel particles, handling processes. Pre-lead production cells include electrolyte pass through particle lead and handling methods before zinc production cells include electrolyte pass through particle zinc. The right to claim Article 27, which uses the management process, also includes Handling the electrolytes that come into the process consists of steps of: passing electrolyte to cells, electrolysis with cathode and copper anode; The addition of dissolved mercury, i.e. electrolyte in that cell; Electrolysis, the resulting solution To form Cu / Hg / Ag mercury alloy on the cathode, and sometimes the separation of mercury alloy And dissolving it in an oxidizing solution; Dilution that solution to precipitate silver to silver chloride; And separation of silver chloride from the remainder of the solution, in order to adequately separate any Ag and Hg; Or an increase in the pH of the electrolyte up to a value in the range from approximately 6 to 6.5 or up to a value before the cuprase copper precipitation, in a step-by-step increment of one or more pre-defined pH ranges. Between pH 3.5 and the above value, each pH range corresponds to a point, one or more of some or more metals. Precipitated from substances Electrolytes; And the sedimentation of one or more of some or more metals at each pH range from the electrolyte, to adequately separate some or more of the remaining metals. Of the said metal This may contaminate that metal or individual metal produced in a given cell. 3. 5. Counter-leaching process for leaching one or more metals. From the same ore The process consists of a high oxidation potential line (hop line) and a low oxidation potential line (lop line), which feeds electrolytes with strong acid pH, hop lines and mineral lop lines consisting of steps of: (1). Through the electrolyte from hop to lop and mineral transfer from lop to hop in countercurrent direction with electrolyte flow. Maintain that electrolyte in continuous contact with the mineral. For at least some leaching The part of one or more metals from that, by which it decreases its oxidation potential (2) the separation of the electrolyte from the lop line with one or more metals in it. And partial or adequate separation A mineral leached from the hop line in which the electrolytes fed to the hop line, including one or more halide complexes, are formed. This is caused by a combination of two or more halides. 3. 6. Process as requested in Clause 35 in which the electrolytes, including chloride and dissolved copper, are not allowed. This can be considered in the queue status when the electrolyte enters the hop line 3. 7. The process of which the claim is made in Clause 36, which the hop method consists of. Leaching the halide complex (hcl line) which feeds the electrolyte to the process and where the final leaching of the mineral takes place before separating it from the leaching process and the aeration line, which Through the electrolyte from the hcp line and aerated and through the leachate mineral Some from the lop line for further leaching Before transfer to hcl line, aeration is precipitated leached iron. When it is present in the mineral and / or oxidizes at least some of the cuprous copper contained in the aerating line to the cupric copper. 3. 8. The process as requested in the Clause Holds Article 37 where the lop line consists of dissolved copper (dc line) where at least part of the copper is dissolved, and the copper precipitate (cp line) precipitates at least part of any dissolved copper. In that electrolyte From that, mix it with any mineral It was fed to the cp leaching process with the hop electrolyte that first passed through the dc line and then passed the cp before exiting the process. And the ore that is fed to the process If not, each line is both dc and cp 3. 9. Process under claim 38 in which the minerals fed to the leaching process. Including copper in the form of sulfide which makes the transfer of minerals through the leaching process, precipitate the elemental sulfur, which is separated with the leachate from the leaching process. 4 0. Process as requested. In claim 38, where the dc oxidation potential is greater than the cp 4 oxidation potential. 1. กรรมวิธีตามที่ขอถือสิทธิในข้อถือสิทธิข้อ 39 ซึ่งแร่ที่ป้อนแก่กรรมวิธีนั้นรวมทั้งแร่ที่มี กำมะถัน 41. The process for which the claim is made in Clause 39, the minerals fed to the process, including those containing sulfur 4 2. กรรมวิธีตามที่ขอถือสิทธิในข้อถือสิทธิข้อ 41 ซึ่งตกตะกอนทองแดงในแนวการตก ตะกอน เป็นทั้ง คิวพริค และ คิวพรัส ซัลไฟด์ ด้วยทองแดงที่ตกตะกอนโดยการประสานบนแร่ที่มี กำมะถันที่กำลังป้อนแก่แนว cp นั้น 42. The process as requested by claim 41, in which copper precipitates in the sedimentation line are both cupric and cuprous sulfide with copper precipitated by bonding on the mineral containing The sulfur being fed to the cp line 4. 3. กรรมวิธีตามที่ขอถือสิทธิในข้อถือสิทธิข้อ 35 ซึ่งดำเนินงานกรรมวิธีโดยทั่วไปที่ความ ดันบรรยากาศ 43. The process for which the claim is made in Clause 35, which operates general processes at atmospheric pressure 4. 4. กรรมวิธีตามที่ขอถือสิทธิในข้อถือสิทธิข้อ 35 ซึ่งสารอิเล็กโทรไลต์เป็นสาร อิเล็กโทรไลต์ โซเดียม คลอไรด์ ที่มีความเข้มข้นในช่วงจาก 250 ถึง 300 gpl ของสาร อิเล็กโทรไลต์ 44. Process as requested in Clause 35 in which electrolyte is a substance A sodium chloride electrolyte with a concentration in the range from 250 to 300 gpl of 4 electrolytes. 5. กรรมวิธีตามที่ขอถือสิทธิในข้อถือสิทธิข้อ 44 ซึ่ง pH ของสารอิเล็กโทรไลต์เป็น 3.5 หรือน้อยกว่า, และที่ควรใช้คือในช่วงจาก 0.5 ถึง 3 45. The process as requested in Clause 44, where the pH of the electrolyte is 3.5 or less, and which should be used is in the range from 0.5 to 3 4. 6. กรรมวิธีตามที่ขอถือสิทธิในข้อถือสิทธิข้อ 45 ซึ่งอุณหภูมิของสารอิเล็กโทรไลต์เพียง พอที่จะชะละลายโลหะนั้นหรือแต่ละโลหะ และเพื่อคงโลหะนั้นหรือแต่ละโลหะไว้ในสารละลาย 46. The process as requested in Clause 45, in which the temperature of the electrolyte only Enough to leach that metal or each metal And to keep that metal or each metal in solution 4 7. กรรมวิธีตามที่ขอถือสิทธิในข้อถือสิทธิข้อ 46 ซึ่งอุณหภูมิของสารอิเล็กโทรไลต์มาก กว่า 60 ํซ และที่ความใช้คือในช่วงจาก 70 ํซ สูงถึงจุดเดือดของสารอิเล็กโทรไลต์ที่ความดัน แวดล้อม7. The process as requested in Clause 46, where the temperature of the electrolyte is more than 60 ํ and at its use is in the range from 70 ํ up to the boiling point of the electrolyte at Ambient pressure
TH9301001117A 1993-06-25 Metal production from ore TH9299B (en)

Publications (2)

Publication Number Publication Date
TH16785A TH16785A (en) 1995-10-19
TH9299B true TH9299B (en) 1999-12-17

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
AU669906B2 (en) Production of metals from minerals
EP1434893B1 (en) Zinc recovery process
CN102560534B (en) Process for electrolytic refining of copper
US3776826A (en) Electrolytic recovery of metal values from ore concentrates
KR100207041B1 (en) Method of recovering antimony and bismuth from copper electrolyte
US20040144208A1 (en) Process for refining raw copper material containing copper sulfide mineral
US4337128A (en) Cupric and ferric chloride leach of metal sulphide-containing material
US8398740B2 (en) Method for the production of metal powder
US507130A (en) Carl hoepfner
US20060011014A1 (en) Method for the recovery of metals using chloride leaching and extraction
JP2019147990A (en) Method of recovering ruthenium
CA1260429A (en) Electrochemical production of zinc in membrane cell using chloride and copper ions
CA2017032C (en) Hydrometallurgical silver refining
TH9299B (en) Metal production from ore
TH16785A (en) Metal production from ore
Letowski et al. A new hydrometallurgical method for the processing of copper concentrates using ferric sulphate
ZA200501505B (en) Method for removal of silver from a copper chloride solution
US5997719A (en) Electrochemical process for refining platinum group metals with ammonium chloride electrocyte
JP2019147991A (en) Method of recovering ruthenium
Agrawal et al. Seperation & Recovery of Copper & Nickel from Copper Bleed Stream by Solvent Extraction Route
PL111091B1 (en) Process for recovering the high purity copper from diluted ammonia solution
WO2003062498A1 (en) Anodic energy storage in electrolysis of a single halide solution