TH86846A - วิธีการใช้อุปกรณ์แม่เหล็กไฟฟ้าในบริเวณที่มีน้ำตื้น โดยใช้แหล่งกำเนิดที่ได้รับการควบคุม - Google Patents

วิธีการใช้อุปกรณ์แม่เหล็กไฟฟ้าในบริเวณที่มีน้ำตื้น โดยใช้แหล่งกำเนิดที่ได้รับการควบคุม

Info

Publication number
TH86846A
TH86846A TH701000636A TH0701000636A TH86846A TH 86846 A TH86846 A TH 86846A TH 701000636 A TH701000636 A TH 701000636A TH 0701000636 A TH0701000636 A TH 0701000636A TH 86846 A TH86846 A TH 86846A
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
field
sea
electromagnetic
transmitter
formula
Prior art date
Application number
TH701000636A
Other languages
English (en)
Other versions
TH86846B (th
TH72562B (th
Inventor
เวสเตอร์ดาฮ์ล แฮรอลด์
เออร์ลิง จอห์นสแตด สเวน
แอนโธนี แฟร์เรลลี ไบรอัน
Original Assignee
นางดารานีย์ วัจนะวุฒิวงศ์
นางสาวสนธยา สังขพงศ์
นางสาวสุคนธ์ทิพย์ จิตมงคลทอง
Filing date
Publication date
Application filed by นางดารานีย์ วัจนะวุฒิวงศ์, นางสาวสนธยา สังขพงศ์, นางสาวสุคนธ์ทิพย์ จิตมงคลทอง filed Critical นางดารานีย์ วัจนะวุฒิวงศ์
Publication of TH86846A publication Critical patent/TH86846A/th
Publication of TH86846B publication Critical patent/TH86846B/th
Publication of TH72562B publication Critical patent/TH72562B/th

Links

Abstract

DC60 วิธีการสำหรับวิเคราะห์ข้อมูลจากการวัดแม่เหล็กไฟฟ้าที่ได้มา (R) ซึ่งดำเนินการที่ทะเลหรือใน ทะเล (4) เหนือพื้นทะเล (1) กับชั้นหิน (3) ซึ่งมีสภาพต้านทานค่อนข้างต่ำ (โร3) สำหรับตรวจจับชั้นหินกัก เก็บที่มีปิโตรเลียมซึ่งเป็นไปได้ว่าอยู่ข้างใต้ (2) ซึ่งมีสภาพต้านทานค่อนข้างสูง (โร2) โดยที่เครื่องส่ง สัญญาณแม่เหล็กไฟฟ้าความถี่ต่ำ (5) ที่จัดเรียงไว้ในทะเล (4) จะปล่อยสนามแม่เหล็กไฟฟ้า (P) ที่แพร่ กระจายในทะเล (4) ในหิน (3, 2) และในอากาศ (0) เหนือทะเล โดยที่ตัวรับสัญญาณแม่เหล็กไฟฟ้า (6) จะถูกจัดเรียงไว้โดยมีระยะแยก (x) ที่ต้องการในทะเล (4) สำหรับวัดสนามแม่เหล็กไฟฟ้า (P(x)) ในขณะที่ สนามแพร่กระจายออกไป ซึ่งทำให้มีลักษณะพิเศษตรงที่ว่าส่วนประกอบของสนามแม่เหล็กไฟฟ้า (P) ส่วนหนึ่งหรือมาก กว่าจะถูกวัดที่ระยะแยกขนาดใหญ่ (XL) อย่างน้อยหนึ่งระยะจากเครื่องส่งสัญญาณ (5) ที่ซึ่งสนาม (P) มี จุดเริ่มต้นจากสนามที่แพร่กระจายในรูปสนาม (P0) ที่ผ่านอากาศ (0) เท่านั้นอย่างแท้จริง, ส่วนประกอบ ของสนามแม่เหล็กไฟฟ้า (P) ส่วนหนึ่งหรือมากกว่าที่ถูกวัดที่ระยะแยกขนาดใหญ่ (XL) จะถูกคำนวณกลับ ไปยังสนามที่ถูกคำนวณใหม่ (F0(x)) ให้เป็นระยะแยก (x) หนึ่งระยะหรือมากกว่าซึ่งสั้นกว่าระยะแยก ขนาดใหญ่ (XL) และสนามที่ถูกคำนวณใหม่ (P0(x)) จะถูกลบออกจากสนาม (P(x)) เพื่อให้เป็นไปได้ที่จะ เน้นสนามที่เกิดขึ้นจากชั้นหินกักเก็บที่มีปิโตรเลียมในลักษณะที่เป็นไปได้ (2) ที่มีสภาพต้านทานค่อนข้าง สูง (โร2) (รูปที่ 1 สำหรับบทสรุป) วิธีการสำหรับวิเคราะห์ข้อมูลจากการวัดแม่เหล็กไฟฟ้าที่ได้มา (R) ซึ่งดำเนินการที่ทะเลหรือใน ทะเล (4) เหนือพื้นทะเล (3) ซึ่งมีสภาพต้านทานค่อนข้างต่ำ (สูตร3) สำหรับตรวจจับชั้นหินกัก เก็บที่มีปิโตรเลียมเป็นไปได้ (2) ซึ่งมีสภาพต้านทานค่อนข้างสูง (สูตร2) โดยที่เครื่องส่ง สัญญาณแม่เหล็กไฟฟ้าความถี่ต่ำ (5) ที่จัดเรียงไว้ในทะเล (4) จะปล่อยสนามแม่เหล็กไฟฟ้า (P) ที่แพร่ กระจายในทะเล (4) ในหิน (3,2) และในอากาศ (0) เหนือทะเล โดยที่ตัวรับสัญญาณแม่เหล็กไฟฟ้า (6) จะถูกจัดเรียงไว้โดยมีระยะแยก (X) ที่ต้องการในทะเล (4) สำหรับสนามแม่เหล็กไฟฟ้า (P(x)) ในขณะที่ สนามแพร่กระจายออกไป ซึ่งทำให้มีลักษณะพิเศษตรงที่ว่าส่วนประกอบของสนามแม่เหล็กไฟฟ้า (P) ส่วนหนึ่งหรือมา กว่าจะถูกวัดที่ระยะแยกขนาดใหญ่ (สูตรl) อย่างน้อยหนึ่งระยะจากเครื่องส่งสัญญาณ (5) ที่ซึ่งสนาม (P) มี จุดเริ่มต้นจากสนามที่แพร่กระจายในรูปสนาม (สูตร0) ที่ผ่านอากาศ (0) เท่านั้นอย่างแท้จริง, ส่วนประกอบ ของสนามแม่เหล็กไฟฟ้า (P) ส่วนหนึ่งหรือมากกว่าที่ถูกวัดที่ระยะแยกขนาดใหญ่ (สูตรl) จะถูกคำนวณกลับ ไปยังสนามที่ถูกคำนวณใหม่ (สูตร0(x)) ให้เป็นระยะแยก (x) หนึ่งระยะหรือมากกว่าซึ่งสั้นกว่าระยะแยก ขนาดใหญ่ (X) และสนามที่ถูกคำนวณใหม่ (สูตร(x)) จะถูกลบออกจากสนาม (P(x)) เพื่อให้เป็นไปได้ที่จะ เน้นสนามที่เกิดขึ้นจากชั้นหินกักเก็บที่มีปิโตรเลียมในลักษณะที่เป็นไปได้ (2) ที่มีสภาพต้านทานค่อนข้าง สูง (สูตร2)

Claims (7)

ข้อถือสิทธฺ์ (ทั้งหมด) ซึ่งจะไม่ปรากฏบนหน้าประกาศโฆษณา :แก้ไขด่วน 24/12/61 (ไม่มีข้อถือสิทธิ) -------------------------------------- 1. วิธีการสำหรับประมวลผลและวิเคราะห์ข้อมูลจากการวัดแม่เหล็กไฟฟ้าที่ได้มา (R) ซึ่ง ดำเนินการที่ทะเลหรือในทะเล (4) เหนือพื้นทะเล (1) กับชั้นหิน (3)ที่มีสภาพต้านทานค่อนข้างต่ำ (p3) สำหรับตรวจจับชั้นหินกักเก็บที่มีปิโตรเลียมซึ่งเป็นไปได้ว่าอยู่ข้างใต้ (2) ที่มีสภาพต้านทานค่อนข้างสูง (p2) โดยที่เครื่องส่งสัญญาณแม่เหล็กไฟฟ้าความถี่ต่ำ (5) จะถูกจัดเรียงไว้ทะเล (4) และปล่อย สนามแม่เหล็กไฟฟ้า (F) ที่แพร่กระจายในทะเล (4) ในหิน (3,2) และในอากาศ (0) เหนือทะเล โดยที่ตัวรับสัญญาณแม่เหล็กไฟฟ้า (6) จะถูดจัดเรียงไว้โดยมีระยะแยก (x) ที่ต้องการในทะเล (4)สำหรับวัดสนามแม่เหล็กไฟฟ้า (p(x))ในขณะที่สนามแพร่กระจายออกไป ซึ่งทำให้มีลักษณะพิเศษตรงที่ว่า ส่วนประกอบของสนามแม่เหล็กไฟฟ้า (F) หนึ่งส่วนหรือมากกว่าจะถูดวัดที่ระยะแยกขนาดใหญ่ (XL) อย่างน้อยหนึ่งระยะจากเครื่องส่งสัญญาณ (5) ที่ซึ่งสนาม (F) จะมีจุดเริ่มต้นจากสนามที่แพร่กระจาย ในรูปสนาม (p0)ที่ผ่านอากาศ (0) เท่านั้นอย่างแท้จริง ส่วนประกอบของสนามแม่เหล็กไฟฟ้า (F)หนึ่งส่วนหรือมากกว่าที่ถูกวัดที่ระยะแยกขนาดใหญ่ (XL) จะถูกคำนวณกลับไปยังสนามที่ถูกคำนวณใหม่ (F0(x))ให้เป็นระยะแยก (x) ระยะหนึ่งหรือมากกว่า ที่สั้นกว่าระยะแยกขนาดใหญ่ (XL) สนามที่ถูกคำนวณใหม่ (F0(x)) จะถูกลบออกจากสนาม (F(x))เพื่อให้เป็นไปได้ที่จะเน้นสนามซึ่ง มีจุดเริ่มต้นในค่าผิดปกติทางสภาพต้านทานในชั้นใต้ดิน อาทิเช่น ชั้นหินกักเก็บที่มีปิโตรเลียมในลักษณะ ที่เป็นไปได้ (2) ที่มีสภาพต้านทานค่อนข้างสูง (p2) 2. วิธีการตามข้อถือสิทธิ 1 โดยที่เครื่องส่งสัญญาณ (5) ดังกล่าวจะถูกลากในทะเลและเครื่องรับ ดังกล่าวจะอยู่กับที่ 3. วิธีการตามข้อถือสิทธิ 1 โดยที่สนามแม่เหล็กไฟฟ้า (F) ทึ่ถูกปล่อยดังกล่าวเป็นสนามแบบสลับ ซึ่งมีความถี่อยู่ในช่วง 0.01 ถึง 20O HZ 4. วิธีการตามข้อถือสิทธิ 3 โดยที่สนามแม่เหล็กไฟฟ้า (F) ที่ถูกปล่อยดังกล่าวเป็นสนามแบบสลับ ซึ่งมีความถี่อยู่ในช่วง 0.1 ถึง 1 Hz 5. วิธีการตามข้อถือสิทธิ 1 โดยที่ส่วนประกอบด้งกล่าวของสนามแม่เหล็กไฟฟ้า (F) ดังกล่าวที่ ถูกวัดเป็นสนามไฟฟ้า (E) 6. วิธีการตามข้อถือสิทธิ 1 โดยที่ส่วนประกอบดังกล่าวของสนามแม่เหล็กไฟฟ้า (F) ดังกล่าวทึ่ ถูกวัดเป็นสนามแม่เหล็ก (B) 7. วิธีการตามข้อถือสิทธิ 1 โดยที่เครื่องส่งสัญญาณ (5) ดังกล่าวที่ประยุกต์ใช้จะประกอบด้วย ขั้วไฟฟ้า (50A, 50B) ดังกล่าวจัดเรียงไว้โดยมีการแยกในทะเล (4) ดังกล่าวเพื่อประกอบเป็นเครื่องส่ง สัญญาณไฟฟ้าขั้วคู่ (5) 8. วิธีการตามข้อถือสิทธิ 7 โดยที่เครื่องส่งสัญญาณ (5) ดังกล่าวเป็นสายอากาศเครื่องสังสัญญาณ ที่จัดเตรียมไว้ในแนวราบโดยทั่วไปซึ่งขั้วไฟฟ้า (50A, 50B) ดังกล่าวถูกจัดเรียงไว้ที่ความลึกที่เท่านั้น โดยทั่วไป 9. วิธีการตามข้อถือสิทธิ 8 โดยที่ตัวรับสัญญาณ (6) ดังกล่าวจะถูกจัดเรียงไว้ในขั้วไฟฟ้าที่เป็น คู่ๆ บนสถานีสำหรับวัดที่แยกต่างหากหรือในรูปขั้วไฟฟ้าตามแนวสายเคเบิลเชื่อมต่อตัวรับสัญญาณ ซึ่งจัดเรียงไว้ตามแนวเส้นตรง (7) โดยทั่วไปซึ่งทอดไปจากเครื่องส่งสัญญาณ (5) ดังกล่าว 1 0. วิธีการตามข้อถือสิทธิ 9 โดยที่แกนหลักของเครื่องส่งสัญญาณ (5) ดังกล่าว กล่าวคือ แกน ระหว่างขั้วไฟฟ้า (50A,50B) ดังกล่าวสำหรับกรณีที่แหลงกำเนิดดังกล่าวเป็นขั้วไฟฟ้าขั้วคู่ จะทอดไปใน ระนาบในแนวดิ่งเดียวกันกับเส้น (7) ดังกล่าวโดยทั่วไป 1
1. วิธีการตามข้อถือสิทธิ 9 โดยที่แกนหลักของเครื่องส่งสัญญาณ (5) ดังกล่าว กล่าวคือ แกน ระหว่างขั้วไฟฟ้า (50A,50B) ดังกล่าวสัาหรับกรณีที่แหล่งกำเนิดดังกล่าวเป็นขั้วไฟฟ้าขั้วคู่ จะทอดตั้งฉาก กับระนาบในแนวดิ่งโดยทั่วไปในรูปเส้น (7) ดังกล่าวที่มีขั้วไฟฟ้า (6) ดังกล่าว 1
2. วิธีการตามข้อถือสิทธิ 1 โตยที่เครื่องส่งสัญญาณ (5) ดังกล่าวจะถูกจัดเรียงไว้ใน, บนหรือใกล้ กับพื้นผิวของทะเล (4) ดังกล่าว 1
3. วิธีการตามข้อถือสิทธิ 1 โดยที่เครื่องส่งสัญูญาณดังกล่าวจะถูกจมไว้ในทะเล (4) ดังกล่าว 1
4. วิธีการตามข้อถือสิทธิ 13 โดยที่เครื่องส่งสัญญาณ (5) ดังกล่าวจะถูกจัดเรียงไว้บนหรือใก(กับ พื้นทะเล (1) 1
5. วิธีการตามข้อถือสิทธิ 13 โดยที่เครื่องส่งสัญญาณ (5) ดังกล่าวจะถูกจัดเรียงไว้ระหว่างพื้น ทะเล (1) และพื้นผิวของทะเล (4) 1
6. วิธีการตามข้อถือสิทธิ 1 โดยที่ความลึกของพื้นทะเล (1) ภายใต้พื้นผิวของทะเล (4) จะน้อย กว่า/ตื้นกว่าความลึกของชั้นหินกักเก็บที่มีปิโตรเลียมอยู้่ข้างใต้ (2) ใต้พื้นทะเล (1) อย่างแท้จริง 1
7. วิธีการตามข้อถือสิทธิ 1 โดยที่เครื่องส่งสัญญาณ (5) ที่ประยุกต์ใช้จะประกอบด้วย แหล่งกำเนิดขั้วคู่แม่เหล็กหรือสิ่งที่ผสมผสานขึ้นจากแหล่งกำเนิดขั้วไฟฟ้าขั้วๆคู่และแหล่งกำเนิดขั้วคู่ แม่เหล็ก
TH701000636A 2007-02-12 วิธีการใช้อุปกรณ์แม่เหล็กไฟฟ้าในบริเวณที่มีน้ำตื้น โดยใช้แหล่งกำเนิดที่ได้รับการควบคุม TH72562B (th)

Publications (3)

Publication Number Publication Date
TH86846A true TH86846A (th) 2007-10-01
TH86846B TH86846B (th) 2007-10-01
TH72562B TH72562B (th) 2019-11-13

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
Steuer et al. A comparison of helicopter-borne electromagnetics in frequency-and time-domain at the Cuxhaven valley in Northern Germany
US8099239B2 (en) Electromagnetic surveying for resistive or conductive bodies
RU2008136858A (ru) Электромагнитный способ на мелководье с использованием управляемого источника
US8299794B2 (en) Method for electromagnetic geophysical surveying of subsea rock formations
Streich et al. Strategies for land-based controlled-source electromagnetic surveying in high-noise regions
GB2413188A (en) Locating the boundary of a subterranean reservoir
CN104360399A (zh) 长导线接地源地下瞬变电磁探测方法及装置
EP2135114A2 (en) Csem surveying method using an arrangement of plural signal sources
Mattsson et al. Towed streamer EM: the challenges of sensitivity and anisotropy
JP2011508205A (ja) 海底下の炭化水素貯留層の誘電分極マッピング方法および装置
MY153813A (en) Method for attenuating air wave response in marine electromagnetic surveying
DK2668524T3 (en) Source of electromagnetic mapping
AU2012217065B2 (en) Detection system of geological formations
CN101688927A (zh) 海洋em勘探中的改进
CN104391332B (zh) 浅海双频可控源电磁勘探方法
RU2639728C1 (ru) Системы сбора данных для морской модификации с косой и приемным модулем
TH86846A (th) วิธีการใช้อุปกรณ์แม่เหล็กไฟฟ้าในบริเวณที่มีน้ำตื้น โดยใช้แหล่งกำเนิดที่ได้รับการควบคุม
Lu et al. Computer modeling of electromagnetic data for mineral exploration: Application to uranium exploration in the Athabasca Basin
TH72562B (th) วิธีการใช้อุปกรณ์แม่เหล็กไฟฟ้าในบริเวณที่มีน้ำตื้น โดยใช้แหล่งกำเนิดที่ได้รับการควบคุม
EA009117B1 (ru) Способ проведения геофизических исследований
Amundsen et al. A sea bed logging (SBL) calibration survey over the Troll gas field
Chiadikobi et al. Detection of hydrocarbon reservoirs using the controlled-source electromagnetic (CSEM) method in the ‘Beta’field deep water offshore Niger Delta, Nigeria
CN107203007B (zh) 一种类十字接地导线源瞬变电磁探测方法
Shantsev et al. Surface towing versus deep towing in marine CSEM
Zhou et al. Response characteristics and detectability of pegmatitic rare-metal deposits using different grounded-wire configurations