TH86823A - ระบบดับเพลิงโดยการใช้ท่อฉีดแบบความดันต่ำและความเร็วสูง - Google Patents

ระบบดับเพลิงโดยการใช้ท่อฉีดแบบความดันต่ำและความเร็วสูง

Info

Publication number
TH86823A
TH86823A TH601004213A TH0601004213A TH86823A TH 86823 A TH86823 A TH 86823A TH 601004213 A TH601004213 A TH 601004213A TH 0601004213 A TH0601004213 A TH 0601004213A TH 86823 A TH86823 A TH 86823A
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
gas
liquid
outlet
pipe
nozzle
Prior art date
Application number
TH601004213A
Other languages
English (en)
Other versions
TH86823B (th
TH56018B (th
Inventor
เจ. เรลลี่ วิลเลี่ยม
เจ. บัลลาร์ด โรเบิร์ต
เจ. บลีส เควิ่น
อาร์. ไอดี้ สตีเฟ่น
Original Assignee
นายเอนก ศรีสนิท
นางสาวเอกดรุณ ศรีสนิท
Filing date
Publication date
Application filed by นายเอนก ศรีสนิท, นางสาวเอกดรุณ ศรีสนิท filed Critical นายเอนก ศรีสนิท
Publication of TH86823B publication Critical patent/TH86823B/th
Publication of TH86823A publication Critical patent/TH86823A/th
Publication of TH56018B publication Critical patent/TH56018B/th

Links

Abstract

DC60 (22/11/59) ระบบดับเพลิงได้ถูกเปิดเผยขึ้น ระบบจะประกอบด้วยแหล่งกำเนิดแก๊สอัดความดัน และแหล่งกำเนิด ของเหลวอัดความดัน ท่อฉีดอย่างน้อยหนึ่งท่อจะมีการแลกเปลี่ยนของไหลกับ แหล่งกำเนิดแก๊สอัดความดัน และ แหล่งกำเนิดของเหลวอัดความดัน ท่อฉีดจะถูกใช้เพื่อทำให้เกิด กระแสแก๊ส ซึ่งถูกทำให้เป็นละอองและนำพาไป พร้อมกับของเหลวไปสู่กระแสแก๊สและผลที่ได้ก็ จะปล่อยกระแสของของเหลวกับแก๊สออกมายังกองเพลิง วิธีการ ปฏิบัติการระบบจะถูกเปิดเผยด้วย วิธีการจะประกอบด้วยการทำให้เกิดกระแสแก๊สซึ่งมีหน้าคลื่นกระแทกลูกที่หนึ่ง และลูกที่สองโดย ใช้ท่อฉีด ซึ่งจะถูกทำให้เป็นละออง และนำพาของเหลวไปผสมกับแก๊สที่หน้าคลื่นลูกใดลูกหนึ่ง เพื่อทำให้เกิดกระแสของของเหลวกับแก๊ส และปล่อยกระแสดังกล่าวไปที่กองเพลิง วิธีการยังรวม ไปถึงการสร้าง เพชรจากการกระแทกหลายๆอัน ในกระแสของของเหลวกับแก๊สที่ถูกปล่อยออกมา จากท่อฉีด แก้ไข 22/11/2559 ระบบดับเพลิงได้ถูกเปิดเผยขึ้น ระบบจะประกอบด้วยแหล่งกำเนิดแก๊สอัดความดันและแหล่งกำเนิด ของเหลวอัดความดัน ท่อฉีดอย่างน้อยหนึ่งท่อจะมีการแลกเปลี่ยนของไหลกับแหล่งกำเนิดแก๊สอัดความดัน และ แหล่งกำเนิดของเหลวอัดความดัน ท่อฉีดจะถูกใช้เพื่อทำให้เกิดกระแสแก๊ส ซึ่งถูกทำให้เป็นละอองและนำพาไป พร้อมกับของเหลวไปสู่กระแสแก๊สและผลที่ได้ก็จะปล่อยกระแสของของเหลวกับแก๊สออกมายังกองเพลิง วิธีการ ปฏิบัติการระบบจะถูกเปิดเผยด้วยวิธีการจะประกอบด้วยการทำให้เกิดกระแสแก๊สซึ่งมีหน้าคลื่นกระแทกลูกที่หนึ่ง และลูกที่สองโดยใช้ท่อฉีด ซึ่งจะถูกทำให้เป็นละออง และนำพาของเหลวไปผสมกับแก๊สที่หน้าคลื่นลูกใดลูกหนึ่ง เพื่อทำให้เกิดกระแสของของเหลวกับแก๊ส และปล่อยกระแสดังกล่าวไปที่กองเพลิง วิธีการยังรวมไปถึงการสร้าง เพชรจากการกระแทกหลายๆ อัน ในกระแสของของเหลวกับแก๊สที่ถูกปล่อยออกมาจากท่อฉีด ------------------------ แก้ไขบทสรุปการประดิษฐ์ 15/03/2559 ระบบดับเพลิงได้ถูกเปิดเผยขึ้น ระบบจะประกอบด้วยแหล่งกำเนิดแก๊สอัดความดันและแหล่งกำเนิด ของเหลวอัดความดัน ท่อฉีดอย่างน้อยหนึ่งท่อจะมีการแลกเปลี่ยนของไหลกับแหล่งกำเนิดแก๊สอัดความดัน และแหล่งกำเนิดของเหลวอัดความดัน ท่อฉีดจะถูกใช้เพื่อทำให้เกิดกระแสแก๊ส ซึ่งถูกทำให้เป็นละอองและนำพาไป พร้อมกับของเหลวไปสู่กระแสแก๊สและผลที่ได้ก็จะปล่อยกระแสของของเหลวกับแก๊สออกมายังกองเพลิง วิธีการ ปฏิบัติระบบจะถูกเปิดเผยด้วยวิธีการจะประกอบด้วยการทำให้เกิดกระแสแก๊สซึ่งมีหน้าคลื่นกระแทกลูกที่หนึ่ง และลูกที่สองโดยใช้ท่อฉีด ซึ่งจะถูกทำให้เป็นละออง และนำพาของเหลวไปผสมกับแก๊สที่หน้าคลื่นลูกใดลูกหนึ่ง เพื่อทำให้เกิดกระแสของของเหลวกับแก๊ส และปล่อยกระแสดังกล่าวไปที่กองเพลิง วิธีการยังรวมไปถึงการสร้าง เพชรจากการกระแทกหลายๆ อัน ในกระแสของของเหลวกับแก๊สที่ถูกปล่อยออกมาจากท่อฉีด -------------------------------------------- ระบบดับเพลิงได้ถูกเปิดเผยขึ้น ระบบจะประกอบด้วยแหล่งกำเนิดแก๊สอัดความดัน และแหล่งกำเนิดของเหลวอัดความดัน ท่อฉีดอย่างน้อยหนึ่งท่อจะมีการแลกเปลี่ยนของไหลกับ แหล่งกำเนิดแก๊สอัดความดัน และแหล่งกำเนิดของเหลวอัดความดัน ท่อฉีดจะถูกใช้เพื่อทำให้เกิด กระแสแก๊ส ซึ่งถูกทำให้เป็นละอองและนำพาไปพร้อมกับของเหลวไปสู่กระแสแก๊สและผลที่ได้ก็ จะปล่อยกระแสของของเหลวกับแก๊สออกมายังกองเพลิง วิธีการปฏิบัติระบบจะถูกเปิดเผยด้วย วิธีการจะประกอบด้วยการทำให้เกิดกระแสแก๊สซึ่งมีหน้าคลื่นกระแทกลูกที่หนึ่งและลูกที่สองโดย ใช้ท่อฉีด ซึ่งจะถูกทำให้เป็นละออง และนำพาของเหลวไปผสมกับแก๊สที่หน้าคลื่นลูกใดลูกหนึ่ง เพื่อทำให้เกิดกระแสของของเหลวกับแก๊ส และปล่อยกระแสดังกล่าวไปที่กองเพลิง วิธีการยังรวม ไปถึงการสร้างเพชรจากการกระแทกหลายๆ อัน ในกระแสของของเหลวกับแก๊สที่ถูกปล่อยออกมา จากท่อฉีด

Claims (9)

ข้อถือสิทธฺ์ (ทั้งหมด) ซึ่งจะไม่ปรากฏบนหน้าประกาศโฆษณา :แก้ไข 22/11/2559
1. วิธีการในการปฎิบัติการระบบดับเพลิงโดยที่ระบบดังกล่าวจะมีท่อฉีดซึ่งประกอบด้วย: หัวฉีดที่มีลำกระบอกที่โล่งอยู่ระหว่างทางเข้าและทางออกนั้น ส่วนทางเข้าของหัวฉีดดังกล่าว ซึ่งเชื่อมต่อของเหลวเข้ากับแหล่งกำเนิดแก๊สอัดความดัน ทางออกดังกล่าวซึ่งมีเส้นผ่าศูนย์กลาง; ท่อซึ่งแยกออกจากหัวฉีดดังกล่าวและเชื่อมต่อของไหลเข้ากับแหล่งกำเนิดแก๊สอัดความดันนั้น ท่อดังกล่าวที่มีรูเปิดทางออกอยู่ในตำแหน่งที่ติดกับทางออกของหัวฉีดดังกล่าว; พื้นผิวสะท้อนจะอยู่ในตำแหน่งหันหน้าเข้าหาทางออกของหัวฉีดดังกล่าวโดยมีช่องว่าง ระหว่างกัน พื้นผิวสะท้อนดังกล่าวซึ่งประกอบด้วยพื้นผิวแบนราบที่จะพุ่งไปอย่างตั้งฉากกับหัวฉีดดังกล่าว พื้นผิวแบนราบดังกล่าวที่มีพื้นที่เปียกที่ถูกกำหนดขึ้นโดยเส้นผ่าศูนย์กลางเล็กที่สุดประมาณเท่ากับ เส้นผ่าศูนย์กลางทางออกดังกล่าว; วิธีการดังกล่าวจะประกอบด้วย: การปล่อยของเหลวดังกล่าวออกจากรูเปิดทางออกดังกล่าว; การปล่อยแก๊สดังกล่าวออกจากทางออกของหัวฉีดดังกล่าวซึ่งทำให้เกิดการไหลของแก๊สด้วย ความเร็วเหนือเสียง; การทำให้เกิดหน้าคลื่นกระแทกลูกแรกระหว่างท่อทางออกดังกล่าวกับพื้นผิวสะท้อนดังกล่าว ในที่ซึ่งแก๊สดังกล่าวเคลื่อนที่จากช้าไปจนถึงความเร็วเหนือเสียง แล้วไปกระทบกับพื้นที่เปียกดังกล่าว; การทำให้เกิดหน้าคลื่นกระแทกลูกที่สองบริเวณพื้นผิวสะท้อนดังกล่าว แก๊สดังกล่าวซึ่ง เคลื่อนที่ผ่านข้ามพื้นที่เปียกดังกล่าว และความเร็วเพิ่มขึ้นจนถึงความเร็วเหนือเสียงระหว่างหน้าคลื่น กระแทกหน้าลูกแรกดังกล่าวกับหน้าคลื่นกระแทกลูกที่สองดังกล่าว และลดความเร็วลงหลังจากผ่านทะลุ หน้าคลื่นกระแทกลูกที่สองดังกล่าว การนำพาของเหลวดังกล่าวผสมลงในแก๊สดังกล่าวซึ่งอยู่ใกล้กับหน้าคลื่นกระแทกลูกที่สอง ดังกล่าวเพื่อก่อให้เกิดกระแสระหว่างของเหลวกับแก๊ส; และ การทำให้กระแสของของเหลวกับแก๊สดังกล่าวออกไปจากท่อฉีดดังกล่าว
2. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อที่ 1 ในที่ซึ่งระบบดังกล่าวประกอบด้วย: ถังแก๊สอัดความดันหลายๆ ถัง ซึ่งทำให้เกิดแหล่งกำเนิดแก๊สอัดความดัน; วาล์วควบคุมหลายตัว ซึ่งแต่ละตัวจะทำงานสัมพันธ์กับถังแก๊สอัดความดันแต่ละถังดังกล่าว; วงแหวนตรวจตรา (supervisory loop) ในการสื่อสารกับวาล์วควบคุมดังกล่าวในการคอยเฝ้า ระวังสถานะการเปิดและปิดของวาล์วควบคุมดังกล่าว; และ วิธีดังกล่าวที่ประกอบด้วยการเฝ้าระวังสถานะของวาล์วควบคุมดังกล่าวและการรักษาวาล์ว ควบคุมดังกล่าวให้เปิดอยู่ตลอดเวลาในระหว่างการทำงานของระบบดังกล่าว
3. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อที่ 1 ซึ่งประกอบด้วยการทำให้เกิดเป็นรูปข้าวหลามตัดที่เกิดจากการ กระแทกในกระแสของของเหลวกับแก๊สดังกล่าว
4. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อที่ 1 ซึ่งประกอบด้วยการทำให้เกิดไหลของแก๊สที่ขยายตัวเกินขนาด ด้วยความเร็วสูงหลังออกจากหัวฉีดดังกล่าว
5. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อที่ 1 ซึ่งประกอบด้วยการส่งจ่ายแก๊สไปยังท่อทางเข้าดังกล่าวด้วย ความดันระหว่างประมาณ 29 psia ถึงประมาณ 60 psia
6. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อที่ 1 ซึ่งประกอบด้วยการส่งจ่ายของเหลวไปยังท่อดังกล่าวด้วยความ ดันที่มีค่าอยู่ระหว่างประมาณ 1 psig ถึงประมาณ 50 psig
7. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อที่ 1 ยังจะประกอบด้วยการนำของเหลวดังกล่าวไปผสมกับแก๊ส ดังกล่าวซึ่งใกล้กับหน้าคลื่นกระแทกลูกที่หนึ่งดังกล่าว
8. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อที่ 1 โดยที่กระแสของไหลดังกล่าวจะไม่แยกออกจากพื้นผิวสะท้อน ดังกล่าว
9. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อที่ 1 ยังจะประกอบด้วยการไม่ก่อให้เกิดพลังงานเสียงจากท่อฉีด ดังกล่าวซึ่งนอกเหนือไปจากเสียงรบกวนของการเคลื่อนที่ด้วยความเร็วสูง 1
0. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อที่ 1 ยังจะประกอบด้วยการก่อให้เกิดโมเมนตัมในการไหลของ แก๊สด้วยความเร็วสูงดังกล่าว 1
1. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อที่ 1 ยังจะประกอบด้วยการทำให้กระแสของของการเหลวกับแก๊ส ดังกล่าวพุ่งด้วยความเร็วประมาณ 1,200 ฟุตต่อนาที ที่ระยะทางประมาณ 18 นิ้วจากท่อฉีดดังกล่าว 1
2. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อที่ 1 ยังจะประกอบด้วยการทำให้กระแสของของเหลวกับแก๊ส ดังกล่าวพุ่งด้วยความเร็วประมาณ 700 ฟุตต่อนาที ที่ระยะทางประมาณ 8 ฟุตจากท่อฉีดดังกล่าว 1
3. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อที่ 1 ยังจะประกอบด้วยการก่อให้เกิดรูปแบบการไหลจากท่อฉีด ดังกล่าวซึ่งมีมุมที่ได้กำหนดไว้แล้วล่วงหน้าโดยการกำหนดให้มีส่วนที่มีมุมเอียงของพื้นผิวสะท้อนดังกล่าว รอบพื้นผิวแบนราบดังกล่าว 1
4. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อที่ 1 ซึ่งประกอบด้วยการใส่ของเหลวดังกล่าวเข้าไปกับแก๊ส ดังกล่าว โดยใช้ความแตกต่างระหว่างความดันในแก๊สดังกล่าวกับความดันบรรยากาศ 1
5. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อที่ 1 ซึ่งประกอบด้วยการนำของเหลวดังกล่าวให้ไปผสมกับแก๊ส ดังกล่าว และทำให้ของเหลวดังกล่าวเป็นละอองเป็นหยดซึ่งมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางน้อยกว่า 20 ไมโครเมตร 1
6. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อที่ 1 ซึ่งประกอบด้วยการใส่ชั้นควันที่ไม่มีออกซิเจนลงไปในแก๊ส ดังกล่าวและนำพาชั้นควันดังกล่าวไปกับกระแสของของเหลว-แก๊สดังกล่าวของท่อฉีดดังกล่าว 1
7. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อที่ 1 ประกอบด้วยการปล่อยแก๊สเฉื่อยออกจากท่อทางออกดังกล่าว 1
8. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อที่ 1 ซึ่งประกอบด้วยการปล่อยส่วนผสมของแก๊สเฉื่อยกับแก๊สที่มี ปฏิกิริยาทางเคมีออกจากท่อทางออกดังกล่าว 1
9. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อที่ 18 โดยที่ส่วนผสมของแก๊สดังกล่าวประกอบด้วยอากาศ 2
0. วิธีการในการปฏิบัติการระบบดับเพลิงโดยที่ระบบดังกล่าวจะจะมีท่อฉีดซึ่งประกอบด้วย: หัวฉีดที่มีลำกระบอกที่โล่งอยู่ระหว่างทางเข้าและทางออกนั้น ส่วนทางเข้าของหัวฉีดดังกล่าว ซึ่งเชื่อมต่อของเหลวเข้ากับแหล่งกำเนิดแก๊สอัดความกดดัน ทางออกดังกล่าวซึ่งมีเส้นผ่าศูนย์กลาง; ท่อซึ่งแยกออกจากหัวฉีดดังกล่าวและเชื่อมต่อของไหลเข้ากับแหล่งกำเนิดแก๊สอัดความดันนั้น ท่อดังกล่าวที่มีรูเปีดทางออกอยู่ในตำแหน่งที่ติดกับทางออกของหัวฉีดดังกล่าว; พื้นผิวสะท้อนจะอยู่ในตำแหน่งหันหน้าเข้าหาทางออกของหัวฉีดดังกล่าวโดยมีช่องว่าง ระหว่างกัน พื้นผิวสะท้อนดังกล่าวซึ่งประกอบด้วยพื้นผิวแบนราบที่จะพุ่งไปอย่างตั้งฉากกับหัวฉีดดังกล่าว พื้นผิวแบนราบดังกล่าวที่มีพื้นที่เปียกที่ถูกกำหนดขึ้นโดยเส้นผ่าศูนย์กลางเล็กที่สุดประมาณเท่ากับ เส้นผ่าศูนย์กลางทางออกดังกล่าว; วิธีการดังกล่าวจะประกอบด้วย; การปล่อยของเหลวดังกล่าวออกจากรูเปิดทางออกดังกล่าว; การปล่อยแก๊สดังกล่าวออกจากทางออกของหัวฉีดดังกล่าวซึ่งทำให้เกิดการไหลของแก๊สด้วย ความเร็วเหนือเสียง; การทำให้เกิดหน้าคลื่นกระแทกลูกแรกระหว่างท่อทางออกดังกล่าวกับพื้นผิวสะท้อนดังกล่าว ในที่ซึ่งแก๊สดังกล่าวเคลื่อนที่จากช้าไปจนถึงความเร็วเหนือเสียง แล้วไปกระทบกับพื้นผิวที่เปียกดังกล่าว; การทำให้เกิดหน้าคลื่นกระแทกลูกที่สองบริเวณพื้นผิวสะท้อนดังกล่าว แก๊สดังกล่าวซึ่ง เคลื่อนที่ผ่านข้ามพื้นที่เปียกดังกล่าว และความเร็วเพิ่มขึ้นจนถึงความเร็วเหนือเสียงระหว่างหน้าคลื่น กระแทกลูกแรกดังกล่าวกับหน้าคลื่นกระแทกลูกที่สองดังกล่าว และลดความเร็วลงหลังจากผ่านทะลุหน้า คลื่นกระแทกลูกที่สองดังกล่าว การนำพาของเหลวดังกล่าวผสมลงในแก๊สดังกล่าวที่หนึ่งในหน้าคลื่นกระแทกดังกล่าวเพื่อ ก่อให้เกิดกระแสระหว่างของเหลวกับแก๊ส; และ การทำให้กระแสของของเหลวกับแก๊สดังกล่าวออกไปจากท่อฉีดดังกล่าว 2
1. วิธีตามข้อถือสิทธิข้อที่ 20 ยังประกอบด้วยการทำให้ของเหลวดังกล่าวถูกนำพาไปพร้อมกับ แก๊สดังกล่าวซึ่งอยู่ใกล้กับหน้าคลื่นกระแทกลูกที่สองดังกล่าว 2
2. วิธีตามข้อถือสิทธิข้อที่ 20 ยังประกอบด้วยการทำให้ของเหลวดังกล่าวถูกนำพาไปพร้อมกับ แก๊สดังกล่าวซึ่งอยู่ใกล้กับหน้าคลื่นกระแทกลูกที่หนึ่งดังกล่าว 2
3. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อที่ 20 ยังประกอบด้วยการใส่ชั้นควันที่ไม่มีออกซิเจนลงไปในการ ไหลของแก๊สดังกล่าวและนำพาชั้นควันดังกล่าวไปกับกระแสของของเหลว-แก๊สดังกล่าว 2
4. ระบบดับเพลิงซึ่งประกอบด้วย: แหล่งกำเนิดแก๊สอัดความดัน; แหล่งกำเนิดของเหลวอัดความดัน: ท่อฉีดอย่างน้อยหนึ่งท่อสำหรับทำให้ของเหลวกลายเป็นละอองและปล่อยของเหลวดังกล่าวให้ ไหลไปพร้อมกับแก๊สดังกล่าวบนกองเพลิง; ท่อแก๊สซึ่งกำหนดให้มีการแลกเปลี่ยนของไหลระหว่างแหล่งกำเนิดแก๊สอัดความดันดังกล่าว กับท่อฉีดดังกล่าว; โครงข่ายท่อนํ้า, แยกออกจากท่อแก๊สดังกล่าว, โครงข่ายท่อนํ้าดังกล่าวที่จัดเตรียมไว้ให้ซึ่งการ สื่อสารของไหลระหว่างแหล่งกำเนิดของเหลวอัดความดันดังกล่าวกับท่อฉีดดังกล่าว; วาล์วตัวแรกในท่อแก๊สดังกล่าวซึ่งควบคุมความดันและอัตราการไหลของแก๊สดังกล่าวไปสู่ท่อ ฉีดดังกล่าว; วาล์วตัวที่สองในโครงข่ายท่อนํ้าดังกล่าวซึ่งควบคุมความดันและอัตราการไหลของของเหลว ดังกล่าวไปสู่ท่อฉีดดังกล่าว; เครื่องแปรแรงดัน (pressure transducer) ซึ่งวัดความดันภายในท่อแก๊สดังกล่าว; อุปกรณ์ตรวจจับเพลิงไหม้ซึ่งจะถูกวางอยู่ในตำแหน่งที่ใกล้กับท่อฉีดดังกล่าว; ท่อฉีดดังกล่าวประกอบด้วย: หัวฉีดที่มีทางเข้าและทางออกและลำกระบอกที่โล่งอยู่ระหว่างทางเข้าและทางออกนั้น ส่วน ทางเข้าดังกล่าวซึ่งเชื่อมต่อของเหลวเข้ากับวาล์วตัวแรกดังกล่าว ทางออกดังกล่าวซึ่งมีเส้นผ่าศูนย์กลาง: ท่อซึ่งแยกออกจากหัวฉีดดังกล่าวและถูกเชื่อมต่อการสื่อสารของไหลกับวาล์วตัวที่สองดังกล่าว ท่อดังกล่าวที่มีรูเปิดทางออกแยกออกจากและอยู่ในตำแหน่งที่ติดกับทางออกของหัวฉีดดังกล่าว; พื้นผิวสะท้อนจะอยู่ในตำแหน่งหันหน้าเข้าหาทางออกของหัวฉีดดังกล่าว พื้นผิวสะท้อน ดังกล่าวซึ่งถูกจัดวางตำแหน่งไว้โดยเว้นช่องว่างสัมพันธ์กับทางออกของหัวฉีดดังกล่าวและซึ่งมีส่วนของ พื้นผิวแรกที่ประกอบด้วยพื้นผิวแบนราบที่จะพุ่งไปอย่างตั้งฉากกับหัวฉีดดังกล่าว และส่วนพื้นผิวที่สองที่ ประกอบด้วยพื้นผิวที่เอียงทำมุมอยู่รอบพื้นผิวแบนราบดังกล่าว พื้นผิวแบนราบดังกล่าวที่มีพื้นที่เปียกที่ถูก กำหนดขึ้นโดยเส้นผ่าศูนย์กลางเล็กที่สุดประมาณเท่ากับเส้นผ่าศูนย์กลางทางออกดังกล่าว; และ ระบบควบคุมจะติดต่อสื่อสารกับวาล์วตัวที่หนึ่งและตัวที่สองดังกล่าว เครื่องแปรแรงดัน ดังกล่าวและอุปกรณ์ตรวจจับเพลิงไหม้ดังกล่าว ระบบควบคุมดังกล่าวจะได้รับสัญญาณจากเครื่องแปร แรงดันดังกล่าวและอุปกรณ์ตรวจจับเพลิงไหม้ดังกล่าว และจะไปเปิดวาล์วดังกล่าวเพื่อตอบสนองต่อ สัญญาณที่บ่งชี้ว่าเกิดเพลิงไหม้จากอุปกรณ์ตรวจจับเพลิงไหม้ดังกล่าว 2
5. ระบบตามข้อถือสิทธิข้อที่ 24 ยังจะประกอบด้วย: ถังแก๊สอัดความดันหลายๆถัง ซึ่งประกอบด้วยแหล่งกำเนิดแก๊สอัดความดันดังกล่าว และ ท่อความดันสูงซึ่งมีหลายทางเข้าออกซึ่งจะมีการถ่ายเทของไหลกันระหว่างถังแก๊สอัดความดัน ดังกล่าวกับวาล์วตัวแรกดังกล่าว 2
6. ระบบตามข้อถือสิทธิข้อที่ 25 ยังประกอบด้วย วาล์วควบคุมหลายตัว ซึ่งแต่ละตัวจะทำงานสัมพันธ์กับถังแก๊สอัดความดันแต่ละถังดังกล่าว; และ วงแหวนตรวจตราในการสื่อสารกับระบบควบคุมดังกล่าวและวาล์วควบคุมดังกล่าวในการคอย เฝ้าระวังสถานะการเปิดปิดของวาล์วควบคุมดังกล่าว 2
7. ระบบตามข้อถือสิทธิข้อที่ 24 โดยที่หัวฉีดดังกล่าวจะเป็นแบบหัวฉีดที่มีพื้นผิวโค้งมา บรรจบกัน 2
8. ระบบตามข้อถือสิทธิข้อที่ 24 โดยที่ท่อทางออกดังกล่าวจะมีเส้นผ่าศูนย์กลางระหว่าง ประมาณ 1/8 นิ้วถึงประมาณ 1 นิ้ว 2
9. ระบบตามข้อถือสิทธิข้อที่ 24 โดยที่รูเปิดทางออกดังกล่าวจะมีเส้นผ่าศูนย์กลางระหว่าง ประมาณ 1/32 นิ้ว ถึงประมาณ 1/8 นิ้ว 3
0. ระบบตามข้อถือสิทธิข้อที่ 24 โดยที่พื้นผิวสะท้อนดังกล่าวจะมีช่องว่างจากท่อทางออก ดังกล่าวด้วยระยะห่างระหว่างประมาณ 1/10 นิ้วถึงประมาณ 3/4 นิ้ว 3
1. ระบบตามข้อถือสิทธิข้อที่ 24 โดยที่ส่วนพื้นผิวทำมุมดังกล่าวจะมีมุมย้อนกลับซึ่งมีค่าอยู่ ระหว่างประมาณ 15 องศาถึงประมาณ 45 องศาวัดจากพื้นผิวเรียบดังกล่าว 3
2. ระบบตามข้อถือสิทธิข้อที่ 24 โดยที่รูเปิดทางออกดังกล่าวจะมีระยะห่างจากท่อทางออก ดังกล่าวเป็นระยะทางระหว่างประมาณ 1/64 นิ้วถึงประมาณ 1/8 นิ้ว 3
3. ระบบตามข้อถือสิทธิข้อที่ 24 โดยที่หัวฉีดดังกล่าวจะถูกปรับให้ทำงานที่ความดันของแก๊ส มีค่าอยู่ระหว่างประมาณ 29 psia ถึงประมาณ 60 psia 3
4. ระบบตามข้อถือสิทธิข้อที่ 24 โดยที่ท่อดังกล่าวจะถูกปรับให้ทำงานที่ความดันของ ของเหลวมีค่าอยู่ระหว่างประมาณ 1 psia ถึงประมาณ 50 psig 3
5. ระบบตามข้อถือสิทธิข้อที่ 24 โดยที่ท่อดังกล่าวจะพุ่งออกไปเชิงมุมไปยังหัวฉีดดังกล่าว 3
6. ระบบตามข้อถือสิทธิข้อที่ 24 ยังประกอบด้วยรูเปิดทางออกดังกล่าวจำนวนมาก 3
7. ระบบการดับเพลิงซึ่งประกอบด้วย: แหล่งกำเนิดแก๊สอัดความดัน; แหล่งกำเนิดของเหลวอัดความดัน; ท่อฉีดอย่างน้อยหนึ่งท่อสำหรับทำให้ของเหลวกลายเป็นละอองและปล่อยของเหลวดังกล่าวให้ ไหลไปพร้อมกับแก๊สดังกล่าวบนกองเพลิง; ท่อแก๊สซึ่งกำหนดให้มีการแลกเปลี่ยนของไหลระหว่างแหล่งกำเนิดแก๊สอัดความดันดังกล่าว กับท่อฉีดดังกล่าว; โครงข่ายท่อน้ำ, แยกออกจากท่อแก๊สดังกล่าว, โครงข่ายท่อน้ำดังกล่าวที่จัดเตรียมไว้ให้ซึ่งการ สื่อสารของไหลระหว่างแหล่งกำเนิดของเหลวอัดความดันดังกล่าวกับท่อฉีดดังกล่าว; วาล์วตัวแรกในท่อแก๊สดังกล่าวซึ่งควบคุมความดันและอัตราไหลของแก๊สดังกล่าวไปสู่ท่อฉีด ดังกล่าว; วาล์วตัวที่สองในโครงข่ายท่อน้ำดังกล่าวซึ่งควบคุมความดันและอัตราการไหลของของเหลว ดังกล่าวไปสู่ท่อฉีดดังกล่าว; เครื่องแปรแรงดันซึ่งวัดความดันภายในท่อแก๊สดังกล่าว; อุปกรณ์ตรวจจับเพลิงไหม้ซึ่งจะถูกวางอยู่ในตำแหน่งที่ใกล้กับท่อฉีดดังกล่าว; ท่อฉีดดังกล่าวประกอบด้วย: หัวฉีดที่มีทางเข้าและทางออกและลำกระบอกที่โล่งอยู่ระหว่างทางเข้าและทางออกนั้น ส่วน ทางเข้าดังกล่าวซึ่งเชื่อมต่อของเหลวเข้ากับวาล์วตัวแรกดังกล่าว ทางออกดังกล่าวซึ่งมีเส้นผ่าศูนย์กลาง; ท่อซึ่งแยกออกจากหัวฉีดดังกล่าวและถูกเชื่อมต่อการสื่อสารของไหลกับวาล์วตัวที่สองดังกล่าว ท่อดังกล่าวที่มีรูเปิดทางออกแยกออกมาและอยู่ในตำแหน่งที่ติดกับทางออกของหัวฉีดดังกล่าว; พื้นผิวสะท้อนจะอยู่ในตำแหน่งหันหน้าเข้าหาทางออกของหัวฉีดดังกล่าว พื้นผิวสะท้อน ดังกล่าวซึ่งถูกจัดวางตำแหน่งไว้โดยเว้นช่องว่างสัมพันธ์กับทางออกของหัวฉีดดังกล่าวและซึ่งมีส่วนของ พื้นผิวแรกที่ประกอบด้วยพื้นผิวแบนราบที่จะพุ่งไปอย่างตั้งฉากกับหัวฉีดดังกล่าว และส่วนพื้นผิวที่สองที่ ประกอบด้วยพื้นผิวโค้งอยู่รอบพื้นผิวแบนราบดังกล่าว พื้นผิวแบนราบดังกล่าวที่มีพื้นที่เปียกที่ถูกกำหนด ขึ้นโดยเส้นผ่าศูนย์กลางเล็กที่สุดประมาณเท่ากับเส้นผ่าศูนย์กลางทางออกดังกล่าว; และ ระบบควบคุมจะติดต่อสื่อสารกับวาล์วตัวที่หนึ่งและตัวที่สองดังกล่าว เครื่องแปรแรงดัน ดังกล่าวและอุปกรณ์ตรวจจับเพลิงไหม้ดังกล่าว ระบบควบคุมดังกล่าวจะได้รับสัญญาณจากเครื่องแปร แรงดันดังกล่าวและอุปกรณ์ตรวจจับเพลิงไหม้ดังกล่าว และจะไปเปิดวาล์วดังกล่าวเพื่อตอบสนองต่อ สัญญาณที่บ่งชี้ว่าเกิดเพลิงไหม้จากอุปกรณ์ตรวจจับเพลิงไหม้ดังกล่าว -------------------------- แก้ไข 15/3/2559
1. วิธีการในการปฏิบัติการระบบดับเพลิงโดยที่ระบบดังกล่าวจะมีท่อฉีดซึ่งประกอบด้วย: หัวฉีดที่มีลำกระบอกที่โล่งอยู่ระหว่างทางเข้าและทางออกนั้น ส่วนทางเข้าของหัวฉีดดังกล่าวซึ่ง เชื่อมต่อของเหลวเข้ากับแหล่งกำเนิดแก๊สอัดความดัน ทางออกดังกล่าวซึ่งมีเส้นผ่าศูนย์กลาง; ท่อซึ่งแยกออกจากหัวฉีดดังกล่าวและเชื่อมต่อของไหลเข้ากับแหล่งกำเนิดแก๊สอัดความดันนั้น ท่อ ดังกล่าวที่มีรูเปิดทางออกอยู่ในตำแหน่งที่ติดกับทางออกของหัวฉีดดังกล่าว; พื้นผิวสะท้อนจะอยู่ในตำแหน่งหันหน้าเข้าหาทางออกของหัวฉีดดังกล่าวโดยมีช่องว่างระหว่างกัน พื้นผิวสะท้อนดังกล่าวซึ่งประกอบรวมด้วยพื้นผิวแบนราบที่จะพุ่งไปอย่างตั้งฉากกับหัวฉีดดังกล่าวพื้นผิวแบนราบ ดังกล่าวที่มีพื้นที่เปียกที่ถูกกำหนดขึ้นโดยเส้นผ่าศูนย์กลางเล็กที่สุดประมาณเท่ากับเส้นผ่าศูนย์กลางทางออก ดังกล่าว; วิธีการดังกล่าวจะประกอบด้วย: การปล่อยของเหลวดังกล่าวออกจากรูเปิดทางออกดังกล่าว; การปล่อยแก๊สดังกล่าวออกจากทางออกของหัวฉีดดังกล่าวซึ่งทำให้เกิดการไหลของแก๊สด้วยความเร็ว เหนือเสียง; การทำให้เกิดหน้าคลื่นกระแทกลูกแรกระหว่างท่อทางออกดังกล่าวกับพื้นผิวสะท้อนดังกล่าวในที่ซึ่ง แก๊สดังกล่าวเคลื่อนที่จากช้าไปจนถึงความเร็วเหนือเสียง และไปกระทบกับพื้นที่เปียกดังกล่าว; การทำให้เกิดหน้าคลื่นกระแทกลูกที่สองบริเวณพื้นผิวสะท้อนดังกล่าว แก๊สดังกล่าวซึ่งเคลื่อนที่ผ่าน ข้ามพื้นที่เปียกดังกล่าว และความเร็วเพิ่มขึ้นจนถึงความเร็วเหนือเสียงระหว่างหน้าคลื่นกระแทกหน้าลูกแรก ดังกล่าวกับหน้าคลื่นกระแทกลูกที่สองดังกล่าว และลดความเร็วลงหลังจากผ่านทะลุหน้าคลื่นกระแทกลูกที่สอง ดังกล่าว การนำพาของเหลวดังกล่าวผสมลงในแก๊สดังกล่าวซึ่งอยู่ใกล้กับหน้าคลื่นกระแทกลูกที่สองดังกล่าว เพื่อก่อให้เกิดกระแสระหว่างของเหลวกับแก๊ส; และ การทำให้กระแสของของเหลวกับแก๊สดังกล่าวออกไปจากท่อฉีดดังกล่าว
2. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อที่ 1 ในที่ซึ่งระบบดังกล่าวประกอบด้วย: ถังแก๊สอัดความดันหลายๆถัง ซึ่งทำให้เกิดแหล่งกำเนิดแก๊สอัดความดัน; วาล์วควบคุมหลายตัวซึ่งแต่ ละตัวจะทำงานสัมพันธ์กับถังแก๊สอัดความดันแต่ละถังดังกล่าว; วงแหวนตรวจตรา (supervisory loop) ในการสื่อสารกับวาล์วควบคุมดังกล่าวในการคอยเฝ้าระวัง สถานะการเปิดและปิดของวาล์วควบคุมดังกล่าว; และ วิธีการดังกล่าวที่ประกอยด้วยการเฝ้าระวังสถานะของวาล์วควบคุมดังกล่าวและการรักษาวาล์วควบคุม ดังกล่าวให้เปิดอยู่ตลอดเวลาในระหว่างการทำงานของระบบดังกล่าว
3. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อที่ 1 ซึ่งประกอบด้วยการทำให้เกิดเป็นรูปข้าวหลามตัดที่เกิดจากการ กระแทกในกระแสของของเหลวกับแก๊สดังกล่าว
4. วิธีตามข้อถือสิทธิข้อที่ 1 ซึ่งประกอบด้วยการทำให้เกิดไหลของแก๊สที่ขยายตัวเกินขนาดด้วย ความเร็วสูงหลังออกจากหัวฉีดดังกล่าว
5. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อที่ 1 ซึ่งประกอบด้วยการส่งจ่ายแก๊สไปยังท่อทางเข้าดังกล่าวด้วยความดัน ระหว่างประมาณ 29 psia ถึงประมาณ 60 psia
6. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อที่ 1 ซึ่งประกอบด้วยการส่งจ่ายของเหลวไปยังท่อดังกล่าวด้วยความดันที่มี ค่าอยู่ระหว่างประมาณ 1 psig ถึงประมาณ 50 psig
7. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อที่ 1 ยังจะประกอบด้วยการนำของเหลวดังกล่าวไปผสมกับแก๊สดังกล่าวซึ่ง ใกล้กับหน้าคลื่นกระแทกลูกที่หนึ่งดังกล่าว
8. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อที่ 1 โดยที่กระแสของไหลดังกล่าวจะไม่แยกออกจากพื้นผิวสะท้อน ดังกล่าว
9. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อที่ 1 ยังจะประกอบด้วยการไม่ก่อให้เกิดพลังงานเสียงจากท่อฉีดดังกล่าวซึ่ง นอกเหนือไปจากเสียงรบกวนของการเคลื่อนที่ด้วยความเร็วสูง 1
0. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อที่ 1 ยังจะประกอบด้วยการก่อให้เกิดโมเมนตัมในการไหลของแก๊สด้วย ความเร็วสูงดังกล่าว 1
1. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อที่ 1 ยังจะประกอบด้วยการทำให้กระแสของของการเหลวกับแก๊ส ดังกล่าวพุ่งด้วยความเร็วประมาณ 1,200 ฟุตต่อนาที ที่ระยะทางประมาณ 18 นิ้วจากท่อฉีดดังกล่าว 1
2. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อที่ 1 ยังจะประกอบด้วยการทำให้กระแสของของเหลวกับแก๊สดังกล่าวพุ่ง ด้วยความเร็วประมาณ 700 ฟุตต่อนาที ที่ระยะทางประมาณ 8 ฟุตจากท่อฉีดดังกล่าว 1
3. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อที่ 1 ยังจะประกอบด้วยการก่อให้เกิดรูปแบบการไหลจากท่อฉีดดังกล่าว ซึ่งมีมุมที่ได้กำหนดไว้แล้วล่วงหน้าโดยการกำหนดให้มีส่วนที่มีมุมเอียงของพื้นพิวสะท้อนดังกล่าวรอบพื้นผิวแบน ราบดังกล่าว 1
4. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อที่ 1 ซึ่งประกอบด้วยการใส่ของเหลวดังกล่าวเข้าไปกับแก๊สดังกล่าว โดย ใช้ความแตกต่างระหว่างความดันในแก๊สดังกล่าวกับความดันบรรยากาศ 1
5. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อที่ 1 ซึ่งประกอบด้วยการนำของเหลวดังกล่าวให้ไปผสมกับแก๊สดังกล่าว และทำให้ของเหลวดังกล่าวเป็นละอองเป็นหยดซึ่งมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางน้อยกว่า 20 ไมโครเมตร 1
6. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อที่ 1 ซึ่งประกอบด้วยการใส่ชั้นควันที่ไม่มีออกซิเจนลงไปในแก๊สดังกล่าว และนำพาชั้นควันดังกล่าวไปกับกระแสของของเหลว-แก๊สดังกล่าวของท่อฉีดดังกล่าว 1
7. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อที่ 1 ประกอบด้วยการปล่อยแก๊สเฉื่อยออกจากท่อทางออกดังกล่าว 1
8. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อที่ 1 ซึ่งประกอบด้วยการปล่อยส่วนผสมของแก๊สเฉื่อยกับแก๊สที่มี ปฏิกิริยาทางเคมีออกจากท่อทางออกดังกล่าว 1
9. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อที่ 18 โดยที่ส่วนผสมของแก๊สดังกล่าวประกอบด้วยอากาศ 2
0. วิธีการในการปฏิบัติการระบบดับเพลิงโดยที่ระบบดังกล่าวจะจะมีท่อฉีดซึ่งประกอบด้วย: หัวฉีดที่มีลำกระบอกที่โล่งอยู่ระหว่างทางเข้าและทางออกนั้น ส่วนทางเข้าของหัวฉีดดังกล่าวซึ่ง เชื่อมต่อของเหลวเข้ากับแหล่งกำเนิดแก๊สอัดความกดดัน ทางออกดังกล่าวซึ่งมีเส้นผ่าศูนย์กลาง; ท่อซึ่งแยกออกจากหัวฉีดดังกล่าวและเชื่อมต่อของไหลเข้ากับแหล่งกำเนิดแก๊สอัดความดันนั้นท่อ ดังกล่าวที่มีรูเปิดทางออกอยู่ในตำแหน่งที่ติดกับทางออกของหัวฉีดดังกล่าว; พื้นผิวสะท้อนจะอยู่ในตำแหน่งหันหน้าเข้าทางออกของหัวฉีดดังกล่าวโดยมีช่องว่างระหว่างกัน พื้นผิวสะท้อนดังกล่าวซึ่งประกอบด้วยพื้นผิวแบนราบที่จะพุ่งไปอย่างตั้งฉากกับหัวฉีดดังกล่าวพื้นผิวแบนราบ ดังกล่าวที่มีพื้นที่เปียกที่ถูกกำหนดขึ้นโดยเส้นผ่าศูนย์กลางเล็กที่สุดประมาณเท่ากับเส้นผ่าศูนย์กลางทางออก ดังกล่าว; วิธีการดังกล่าวจะประกอบด้วย; การปล่อยของเหลวดังกล่าวออกจากรูเปิดทางออกดังกล่าว; การปล่อยแก๊สดังกล่าวออกจากทางออกของหัวฉีดดังกล่าวซึ่งทำให้เกิดการไหลของแก๊สด้วยความเร็ว เหนือเสียง; การทำให้เกิดหน้าคลื่นกระแทกลูกแรกระหว่างท่อทางออกดังกล่าวกับพื้นผิวสะท้อนดังกล่าวในที่ซึ่ง แก๊สดังกล่าวเคลื่อนที่จากช้าไปจนถึงความเร็วเหนือเสียง แล้วไปกระทบกับพื้นผิวที่เปียกดังกล่าว; การทำให้เกิดหน้าคลื่นกระทกลูกที่สองบริเวณพื้นผิวสะท้อนดังกล่าว แก๊สดังกล่าวซึ่งเคลื่อนที่ผ่าน ข้ามพื้นที่เปียกดังกล่าว และความเร็วเพิ่มขึ้นจนถึงความเร็วเหนือเสียงระหว่างหน้าคลื่นกระแทกลูกแรกดังกล่าวกับ หน้าคลื่นกระแทกลูกที่สองดังกล่าว และลดความเร็วลงหลังจากผ่านทะลุหน้าคลื่นกระแทกดังกล่าวเพื่อก่อให้เกิด การนำพาของเหลวดังกล่าวผสมลงในแก๊สดังกล่าวที่หนึ่งในหน้าคลื่นกระแทกดังกล่าวเพื่อก่อให้เกิด กระแสระหว่างของเหลวกับแก๊ส; และ การทำให้กระแสของของเหลวกับแก๊สดังกล่าวออกไปจากท่อฉีดดังกล่าว 2
1. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อที่ 20 ยังประกอบด้วยการทำให้ของเหลวดังกล่าวถูกนำพาไปพร้อมกับแก๊ส ดังกล่าวซึ่งอยู่ใกล้กับหน้าคลื่นกระแทกลูกที่สองดังกล่าว 2
2. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อที่ 20 ยังประกอบด้วยการทำให้ของเหลวดังกล่าวถูกนำพาไปพร้อมกับแก๊ส ดังกล่าวซึ่งอยู่ใกล้กับหน้าคลื่นกระแทกลูกที่หนึ่งดังกล่าว 2
3. ระบบดับเพลิงซึ่งประกอบด้วย; แหล่งกำเนิดแก๊สอัดความดัน; แหล่งกำเนิดของเหลวอัดความดัน: ท่อฉีดอย่างน้อยหนึ่งท่อสำหรับทำให้ของเหลวกลายเป็นละอองและปล่อยของเหลวดังกล่าวให้ไหล ไปพร้อมกับแก๊สดังกล่าวบนกองเพลิง; ท่อแก๊สซึ่งกำหนดให้มีการแลกเปลี่ยนของไหลระหว่างแหล่งกำเนิดแก๊สอัดความดันดังกล่าวกับท่อฉีด ดังกล่าว; โครงข่ายท่อน้ำซึ่งจะกำหนดให้มีการแลกเปลี่ยนของไหลระหว่างแหล่งกำเนิดของเหลวอัดความดัน ดังกล่าวกับท่อฉีดดังกล่าว; วาล์วตัวแรกในท่อแก๊สดังกกล่าวซึ่งควบคุมความดันและอัตราการไหลของแก๊สดังกล่าวไปสู่ท่อฉีด ดังกล่าว; วาล์วตัวที่สองในโครงข่ายท่อน้ำดังกล่าวซึ่งควบคุมความดันและอัตราการไหลของของเหลวดังกล่าว ไปสู่ท่อฉีดดังกล่าว; เครื่องแปรแรงดัน (pressure transducer) ซึ่งวัดความดันภายในท่อแก๊สดังกล่าว; อุปกรณ์ตรวจจับเพลิงไหม้ซึ่งจะถูกวางอยู่ในตำแหน่งที่ใกล้กับท่อฉีดดังกล่าว; ท่อฉีดดังกล่าวประกอบด้วย: หัวฉีดที่มีทางเข้าและทางออกและลำกระบอกที่โล่งอยู่ระหว่างทางเข้าและทางออกนั้น ส่วนทางเข้า ดังกล่าวซึ่งเชื่อมต่อของเหลวเข้ากับวาล์วตัวแรกดังกล่าว ทางออกดังกล่าวซึ่งมีเส้นผ่าศูนย์กลาง: ท่อซึ่งแยกออกจากหัวฉีดดังกล่าวและถูกเชื่อมต่อการสื่อสารของไหลกับวาล์วตัวที่สองดังกล่าวท่อ ดังกล่าวที่มีรูเปิดทางออกแยกออกจากและอยู่ในตำแหน่งที่ติดกับทางออกของหัวฉีดดังกล่าว; พื้นผิวสะท้อนจะอยู่ในตำแหน่งหันหน้าเข้าหาทางออกของหัวฉีดดังกล่าว พื้นผิวสะท้อนดังกล่าวซึ่ง ถูกจัดวางตำแหน่งไว้โดยเว้นช่องว่างสัมพันธ์กับทางออกของหัวฉีดดังกล่าวและซึ่งมีส่วนของพื้นผิวแรกที่ ประกอบด้วยพื้นผิวแบนราบที่จะพุ่งไปอย่างตั้งฉากกับหัวฉีดดังกล่าว และส่วนพื้นผิวสองที่ประกอบด้วยพื้นผิวที่ เอียงทำมุมอยู่รอบพื้นผิวแบนราบดังกล่าว พื้นผิวแบนราบดังกล่าวที่มีพื้นที่เปียกที่ถูกกำหนดขึ้นโดย เส้นผ่าศูนย์กลางเล็กที่สุดประมาณเท่ากับเส้นผ่าศูนย์กลางทางออกดังกล่าว; และ ระบบควบคุมจะติดต่อสื่อสารกับวาล์วตัวที่หนึ่งและตัวที่สองดังกล่าว เครื่องแปรแรงดันดังกล่าวและ อุปกรณ์ตรวจจับเพลิงไหม้ดังกล่าว ระบบควบคุมดังกล่าวจะได้รับสัญญาณจากเครื่องแปรแรงดันดังกล่าวและ อุปกรณ์ตรวจจับเพลิงไหม้ดังกล่าว และจะไปเปิดวาล์วดังกล่าวเพื่อตอบสนองต่อสัญญาณที่บ่งชี้ว่าเกิดเพลิงไหม้ จากอุปกรณ์ตรวจจับเพลิงไหม้ดังกล่าว 2
4. ระบบตามข้อถือสิทธิข้อที่ 23 ยังจะประกอบด้วย: ถังแก๊สอัดความดันหลายๆถัง ซึ่งประกอบด้วยแหล่งกำเนิดแก๊สอัดความดันดังกล่าว และ ท่อความดันสูงซึ่งมีหลายทางเข้าออกซึ่งจะมีการถ่ายเทของไหลกันระหว่างถังแก๊สอัดความดันดังกล่าว กับวาล์วแรกดังกล่าว 2
5. ระบบตามข้อถือสิทธิข้อที่ 24 ยังประกอบด้วย วาล์วควบคุมหลายตัว ซึ่งแต่ละตัวจะทำงานสัมพันธ์กับถังแก๊สอัดความดันแต่ละถังดังกล่าวและ วงแหวนตรวจตราในการสื่อสารกับระบบความคุมดังกล่าวและวาล์วควบคุมดังกล่าวในการคอยเฝ้า ระวังสถานะการเปิดปิดของวาล์วควบคุมดังกล่าว 2
6. ระบบตามข้อถือสิทธิข้อที่ 23 โดยที่หัวฉีดดังกล่าวจะเป็นแบบหัวฉีดที่มีพื้นผิวโค้งมาบรรจบกัน 2
7. ระบบตามข้อถือสิทธิข้อที่ 23 โดยที่ท่อทางออกดังกล่าวจะมีเส้นผ่าศูนย์กลางระหว่างประมาณ 1/8 นิ้วถึงประมาณ 1 นิ้ว 2
8. ระบบตามข้อถือสิทธิข้อที่ 23 โดยที่รูเปิดทางออกดังกล่าวจะมีเส้นผ่าศูนย์กลางระหว่างประมาณ 1/32 นิ้ว ถึงประมาณ 1/8 นิ้ว 2
9. ระบบตามข้อถือสิทธิข้อที่ 23 โดยที่พื้นผิวสะท้อนดังกล่าวจะมีช่องว่างจากท่อทางออกดังกล่าว ด้วยระยะห่างระหว่างประมาณ 1/10 นิ้วถึงประมาณ 3/4 นิ้ว 3
0. ระบบตามข้อถือสิทธิข้อที่ 23 โดยที่ส่วนพื้นผิวทำมุมดังกล่าวจะมีมุมย้อนกลับซึ่งมีค่าอยู่ระหว่าง ประมาณ 15 องศาถึงประมาณ 45 องศาวัดจากพื้นผิวเรียบดังกล่าว 3
1. ระบบตามข้อถือสิทธิข้อที่ 23 โดยที่รูเปิดทางออกดังกล่าวจะมีระยะห่างจากท่อทางออกดังกล่าว เป็นระยะทางระหว่างประมาณ 1/64 นิ้วถึงประมาณ 1/8 นิ้ว 3
2. ระบบตามข้อถือสิทธิข้อที่ 23 โดยที่หัวฉีดดังกล่าวจะถูกปรับให้ทำงานที่ความดันของแก๊สมีค่าอยู่ ระหว่างประมาณ 29 psia ถึงประมาณ 60 psia 3
3. ระบบตามข้อถือสิทธิข้อที่ 23 โดยที่ท่อดังกล่าวจะถูกปรับให้ทำงานที่ความดันของเหลวมีค่า อยู่ระหว่างประมาณ 1 psia ถึงประมาณ 50 psig 3
4. ระบบตามข้อถือสิทธิข้อที่ 23 โดยที่หัวฉีดดังกล่าวจะพุ่งออกไปเชิงมุมไปยังหัวฉีดดังกล่าว 3
5. ระบบตามข้อถือสิทธิข้อที่ 23 ยังประกอบด้วยรูเปิดทางออกดังกล่าวจำนวนมาก 3
6. ระบบการดับเพลิงซึ่งประกอบด้วย: แหล่งกำเนิดแก๊สอัดความดัน; แหล่งกำเนิดของเหลวอัดความดัน; ท่อฉีดอย่างน้อยหนึ่งท่อสำหรับทำให้ของเหลวกลายเป็นละอองและปล่อยของเหลวดังกล่าวให้ไหล ไปพร้อมกับแก๊สดังกล่าวบนกองเพลิง; ท่อแก๊สซึ่งกำหนดให้มีการแลกเปลี่ยนของไหลระหว่างแหล่งกำเนิดแก๊สอัดความดันดังกล่าวกับท่อฉีด ดังกล่าว; โครงข่ายท่อน้ำซึ่งจะกำหนดให้มีการแลกเปลี่ยนของไหลระหว่างกำเนิดของเหลวอัดความดันดังกล่าว กับฉีดดังกกล่าว; วาล์วตัวแรกในท่อแก๊สดังกล่าวซึ่งควบคุมควมดันและอัตราไหลของแก๊สดังกล่าวไปสู่ท่อฉีด ดังกล่าว; วาล์วตัวที่สองในโครงข่ายท่อน้ำดังกล่าวซึ่งควบคุมความดันและอัตราการไหลของของเหลวดังกล่าว ไปสู่ท่อฉีดดังกล่าว; เครื่องแปรแรงดันซึ่งวัดความดันภายในท่อแก๊สดังกล่าว; อุปกรณ์ตรวจจับเพลิงไหม้ซึ่งจะถูกวางอยู่ในตำแหน่งที่ใกล้กับท่อฉีดดังกล่าว; ท่อฉีดดดังกล่าวประกอบด้วย; หัวฉีดที่มีทางเข้าและทางออกและลำกระบอกที่โล่งอยู่ระหว่างทางเข้าและทางออกนั้น ส่วนทางเข้า ดังกล่าวซึ่งเชื่อมต่อของเหลวเข้ากับวาล์วตัวแรกดังกล่าว ทางออกดังกล่าวซึ่งมีเส้นผ่าศูนย์กลาง; ท่อซึ่งแยกออกจากหัวฉีดดังกล่าวและถูกเชื่อมต่อการสื่อสารของไหลกับวาล์วตัวที่สองดังกล่าวท่อ ดังกล่าวที่มีรูเปิดทางออกแยกออกมาและอยู่ในตำแหน่งที่ติดกับทางออกของหัวฉีดดังกล่าว; พื้นผิวสะท้อนจะอยู่ในตำแหน่งหันหน้าเข้าหาทางออกของหัวฉีดดังกล่าว พื้นผิวสะท้อนดังกล่าวซึ่ง ถูกจัดวางตำแหน่งไว้โดยเว้นช่องว่างสัมพันธ์กับทางออกของหัวฉีดดังกล่าวและซึ่งมีส่วนของพื้นผิวแรกที่ ประกอบด้วยพื้นผิวแบนราบที่จะพุ่งไปอย่างตั้งฉากกับหัวฉีดดังกล่าว และส่วนพื้นผิวที่สองที่ประกอบด้วยพื้นผิว โค้งอยู่รอบพื้นผิวแบนราบดังกล่าว พื้นผิวแบนราบดังกล่าวที่มีพื้นที่เปียกที่ถูกกำหนดขึ้นโดยเส้นผ่าศูนย์กลางเล็ก ที่สุดประมาณเท่ากับเส้นผ่าศูนย์กลางทางออกดังกล่าว; และ ระบบควบคุมจะติดต่อสื่อสารกับวาล์วตัวที่หนึ่งและตัวที่สองดังกล่าว เครืองแปรแรงดันดังกล่าวและ อุปกรณ์ตรวจจับเพลิงไหม้ดังกล่าว ระบบควบคุมดังกล่าวจะได้รับสัญญาณจากเครื่องแปรแรงดันดังกล่าวและ อุปกรณ์ตรวจจับเพลิงไหม้ดังกล่าว และจะไปเปิดวาล์วดังกล่าวเพื่อตอบสนองต่อสัญญาณที่บ่งชี้ว่าเกิดเพลิงไหม้ จากอุปกรณ์ตรวจจับเชื้อเพลิงไหม้ดังกล่าว 3
7. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อที่ 20 ยังประกอบด้วยการใส่ชั้นควันที่ไม่มีออกซิเจนลงไปในการไหล ของแก๊สดังกล่าวและนำพาชั้นควันดังกล่าวไปกับกระแสของของเหลส-แก๊สดังกล่าว 3
8. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อที่ 23 ยังประกอบด้วยช่องปลายปิดซึ่งอยู่ในตำแหน่งที่อยู่ภายในพื้นผิว สะท้อนดังกล่าว 3
9. ระบบตามข้อถือสิทธิข้อที่ 36 ยังประกอบด้วยช่องปลายปิดซึ่งอยู่ในตำแหน่งที่อยู่ภายในพื้นผิว สะท้อนดังกล่าว --------------------------------------------------
1. ระบบการดับเพลิงซึ่งประกอบด้วย แหล่งกำเนิดแก๊สอัดความดัน แหล่งกำเนิดของเหลวอัดความดัน ท่อฉีดอย่างน้อยหนึ่งท่อสำหรับทำให้ของเหลวกลายเป็นละอองและปล่อยของเหลว ดังกล่าวให้ไหลไปพร้อมกับแก๊สดังกล่าวบนกองเพลิง ท่อแก๊สซึ่งกำหนดให้มีการแลกเปลี่ยนของไหลระหว่างแหล่งกำเนิดแก๊สอัดความดัน ดังกล่าวกับท่อฉีดดังกล่าว โครงข่ายท่อน้ำซึ่งจะกำหนดให้มีการแลกเปลี่ยนของไหลระหว่างแหล่งกำเนิด ของเหลวอัดความดันดังกล่าวกับท่อฉีดดังกล่าว วาล์วตัวแรกในท่อแก๊สดังกล่าวซึ่งควบคุมความดันและอัตราการไหลของแก๊สดังกล่าว ไปสู่ท่อฉีดดังกล่าว วาล์วตัวที่สองในโครงข่ายท่อน้ำดังกล่าวซึ่งควบคุมความดันและอัตราการไหลของ ของเหลวดังกล่าวไปสู่ท่อฉีดดังกล่าว เครื่องแปรแรงดัน (pressure transducer) ซึ่งวัดความดันภายในท่อแก๊สดังกล่าว อุปกรณ์ตรวจจับเพลิงไหม้ซึ่งจะถูกวางอยู่ในตำแหน่งที่ใกล้กับท่อฉีดดังกล่าว และ ระบบควบคุมจะติดต่อสื่อสารกับวาล์วตัวที่หนึ่งและตัวที่สองดังกล่าว เครื่องแปร แรงดันดังกล่าวและอุปกรณ์ตรวจจับเพลิงไหม้ดังกล่าว ระบบควบคุมดังกล่าวจะได้รับสัญญาณจาก เครื่องแปรแรงดันดังกล่าวและอุปกรณ์ตรวจจับเพลิงไหม้ดังกล่าว และจะไปเปิดวาล์วดังกล่าวเพื่อ ตอบสนองต่อสัญญาณที่บ่งชี้ว่าเกิดเพลิงไหม้ จากอุปกรณ์ตรวจจับเพลิงไหม้ดังกล่าว ระบบควบคุม ดังกล่าวจะไปกระตุ้นวาล์วตัวแรกดังกล่าวเพื่อที่จะรักษาระดับความดันที่ได้กำหนดไว้แล้วล่วงหน้า ภายในท่อแก๊สดังกล่าวสำหรับการทำงานของท่อฉีดดังกล่าว
2. ระบบตามข้อถือสิทธิข้อที่ 1 ยังจะประกอบด้วย ถังแก๊สอัดความดันหลายๆ ถัง ซึ่งประกอบด้วยแหล่งกำเนิดแก๊สอัดความดันดังกล่าว และ ท่อความดันสูงซึ่งมีหลายทางเข้าออกซึ่งจะมีการถ่ายเทของไหลกันระหว่างถังแก๊สอัด ความดันดังกล่าวกับวาล์วตัวแรกดังกล่าว
3. ระบบตามข้อถือสิทธิข้อที่ 2 ยังจะประกอบด้วย วาล์วควบคุมหลายตัว ซึ่งแต่ละตัวจะทำงานสัมพันธ์กับถังแก๊สอัดความดันแต่ละถัง ดังกล่าวและ วงแหวนตรวจตรา (supervisory loop) ในการสื่อสารกับระบบควบคุมดังกล่าวและ วาล์วควบคุมดังกล่าวในการคอยเฝ้าระวังสถานะการเปิดปิดของวาล์วควบคุมดังกล่าว
4. ระบบตามข้อถือสิทธิข้อที่ 1 โดยที่ท่อฉีดดังกล่าวจะประกอบด้วย หัวฉีดที่มีท่อทางเข้าซึ่งต่ออยู่กับวาล์วตัวแรกดังกล่าวและท่อทางออกเพื่อใช้ในการ แลกเปลี่ยนของไหล ท่อซึ่งต่ออยู่กับวาล์วตัวที่สองดังกล่าวเพื่อใช้ในการแลกเปลี่ยนของไหล ท่อดังกล่าวจะ มีรูเปิดทางออกอยู่ในตำแหน่งที่ติดกับท่อทางออกดังกล่าว และ พื้นผิวสะท้อนจะอยู่ในตำแหน่งหันหน้าเข้าหาท่อทางออกดังกล่าวโดยมีช่องว่าง ระหว่างกัน พื้นผิวสะท้อนดังกล่าวจะมีส่วนพื้นผิวส่วนที่หนึ่งซึ่งจะพุ่งไปอย่างตั้งฉากกับหัวฉีด ดังกล่าวและส่วนพื้นผิวส่วนที่สองซึ่งติดกับส่วนพื้นผิวส่วนที่หนึ่งดังกล่าว และจะพุ่งไปอย่างไม่ตั้ง ฉากกับหัวฉีดดังกล่าว ของเหลวดังกล่าวจะถูกปล่อยออกมาจากรูเปิดทางออกดังกล่าว และแก๊ส ดังกล่าวจะถูกปล่อยออกมาจากท่อทางออกของหัวฉีด ของเหลวดังกล่าวจะถูกนำพาไปผสมกับแก๊ส ดังกล่าวและถูกทำให้เป็นละอองเพื่อก่อให้เกิดกระแสระหว่างของเหลวกับแก๊ส ซึ่งจะไปกระทบกับ พื้นผิวสะท้อนดังกล่าวและไหลออกไปจากหัวฉีดไปที่กองเพลิงดังกล่าว
5. ระบบตามข้อถือสิทธิข้อที่ 4 โดยที่หัวฉีดดังกล่าวจะเป็นแบบหัวฉีดที่มีพื้นผิวโค้ง มาบรรจบกัน
6. ระบบตามข้อถือสิทธิข้อที่ 4 โดยที่ท่อทางออกดังกล่าวจะมีเส้นผ่าศูนย์กลาง ระหว่างประมาณ 1/8 นิ้วถึงประมาณ 1 นิ้ว
7. ระบบตามข้อถือสิทธิข้อที่ 4 โดยที่รูเปิดทางออกดังกล่าวจะมีเส้นผ่าศูนย์กลาง ระหว่างประมาณ 1/32 นิ้วถึงประมาณ 1/8 นิ้ว
8. ระบบตามข้อถือสิทธิข้อที่ 4 โดยที่พื้นผิวสะท้อนดังกล่าวจะมีช่องว่างจากท่อ ทางออกดังกล่าวด้วยระยะห่างระหว่างประมาณ 1/10 นิ้วถึงประมาณ 3/4 นิ้ว
9. ระบบตามข้อถือสิทธิข้อที่ 4 โดยที่ส่วนพื้นผิวส่วนที่หนึ่งดังกล่าวจะประกอบด้วย พื้นผิวเรียบและส่วนพื้นผิวส่วนที่สองดังกล่าวจะประกอบด้วยพื้นผิวทำมุมล้อมรอบพื้นผิวเรียบดังกล่าว 1
0. ระบบตามข้อถือสิทธิข้อที่ 9 โดยที่พื้นผิวเรียบดังกล่าวจะมีเส้นผ่าศูนย์กลาง โดยประมาณเท่ากับเส้นผ่าศูนย์กลางของท่อทางออกดังกล่าว 1
1. ระบบตามข้อถือสิทธิข้อที่ 9 โดยที่ส่วนพื้นผิวทำมุมดังกล่าวจะมีมุมย้อนกลับซึ่งมี ค่าอยู่ระหว่างประมาณ 15 องศาถึงประมาณ 45 องศาวัดจากพื้นผิวเรียบดังกล่าว 1
2. ระบบตามข้อถือสิทธิข้อที่ 4 โดยที่ส่วนพื้นผิวส่วนที่หนึ่งดังกล่าวจะประกอบด้วย พื้นผิวเรียบและส่วนพื้นผิวส่วนที่สองดังกล่าวจะประกอบด้วยพื้นผิวโค้งล้อมรอบพื้นผิวเรียบดังกล่าว 1
3. ระบบตามข้อถือสิทธิข้อที่ 4 โดยที่พื้นผิวสะท้อนดังกล่าวจะมีท่อรีโซแนนท์ปลาย ปิดซึ่งมีปลายเปิดอยู่ในตำแหน่งที่หันหน้าเข้าหาท่อทางออกดังกล่าว 1
4. ระบบตามข้อถือสิทธิข้อที่ 13 โดยที่ส่วนพื้นผิวส่วนที่หนึ่งดังกล่าวจะล้อมรอบท่อ รีโซแนนท์ดังกล่าว 1
5. ระบบตามข้อถือสิทธิข้อที่ 14 โดยที่ส่วนพื้นผิวส่วนที่สองดังกล่าวจะล้อมรอบ ส่วนพื้นผิวส่วนที่หนึ่งดังกล่าว 1
6. ระบบตามข้อถือสิทธิข้อที่ 4 โดยที่รูเปิดทางออกดังกล่าวจะมีระยะห่างจากท่อ ทางออกดังกล่าวเป็นระยะทางระหว่างประมาณ 1/64 นิ้วถึงประมาณ 1/8 นิ้ว 1
7. ระบบตามข้อถือสิทธิข้อที่ 4 โดยที่หัวฉีดดังกล่าวจะถูกปรับให้ทำงานที่ความดัน ของแก๊สมีค่าอยู่ระหว่างประมาณ 29 psia ถึงประมาณ 60 psia 1
8. ระบบตามข้อถือสิทธิข้อที่ 4 โดยที่ท่อดังกล่าวจะถูกปรับให้ทำงานที่ความดันของ ของเหลวมีค่าอยู่ระหว่างประมาณ 1 psia ถึงประมาณ 50 psia 1
9. ระบบตามข้อถือสิทธิข้อที่ 4 โดยที่ท่อฉีดดังกล่าวจะประกอบด้วย หัวฉีดที่มีท่อทางเข้าซึ่งต่ออยู่กับแหล่งกำเนิดแก๊สอัดความดันดังกล่าวและท่อทางออก เพื่อใช้ในการแลกเปลี่ยนของไหล ท่อซึ่งต่ออยู่กับแหล่งกำเนิดของเหลวอัดความดันดังกล่าวเพื่อใช้ในการแลกเปลี่ยน ของไหล ท่อดังกล่าวจะมีรูเปิดทางออกอยู่ในตำแหน่งที่ติดกับท่อทางออกดังกล่าว และ พื้นผิวสะท้อนจะอยู่ในตำแหน่งหันหน้าเข้าหาท่อทางออกดังกล่าวโดยมีช่องว่าง ระหว่างกัน พื้นผิวสะท้อนดังกล่าวจะอยู่ในตำแหน่งที่ทำให้เกิดหน้าคลื่นกระแทกลูกแรกระหว่าง ท่อทางออกดังกล่าวกับพื้นผิวสะท้อนดังกล่าว และหน้าคลื่นกระแทกลูกที่สองจะอยู่ใกล้กับพื้นผิว สะท้อนดังกล่าวด้วยความดันที่ได้กำหนดไว้แล้วล่วงหน้าของแก๊สดังกล่าวที่ส่งจ่ายไปยังท่อฉีดและ ถูกปล่อยออกจากท่อทางออกของหัวฉีดดังกล่าว 2
0. ระบบตามข้อถือสิทธิข้อที่ 19 โดยที่ท่อดังกล่าวจะถูกวางอยู่ในตำแหน่งและพุ่ง ออกไปโดยที่ของเหลวดังกล่าวที่ถูกปล่อยออกมาจากรูเปิดทางออกดังกล่าวจะถูกนำพาไปพร้อมกับ แก๊สดังกล่าวที่ใกล้กับหนึ่งในหน้าคลื่นกระแทกทั้งสองดังกล่าว 2
1. ระบบตามข้อถือสิทธิข้อที่ 20 โดยที่พื้นผิวสะท้อนดังกล่าวจะถูกวางอยู่ใน ตำแหน่งที่เพชรจากการกระแทก (stock diamonds) จะเกิดขึ้นในกระแสระหว่างของเหลวกับแก๊ส 2
2. ระบบตามข้อถือสิทธิข้อที่ 20 โดยที่รูเปิดทางออกดังกล่าวถูกวางอยู่ในตำแหน่งที่ สัมพันธ์กับท่อทางออกดังกล่าว เพื่อจะทำให้ของเหลวดังกล่าวถูกนำพาไปพร้อมกับแก๊สดังกล่าวซึ่ง อยู่ใกล้กับหน้าคลื่นกระแทกลูกที่สองดังกล่าว 2
3. ระบบตามข้อถือสิทธิข้อที่ 20 โดยที่ท่อดังกล่าวจะพุ่งออกไปเชิงมุมไปยังหัวฉีด ดังกล่าว เพื่อจะทำให้ของเหลวดังกล่าวถูกนำพาไปพร้อมกับแก๊สดังกล่าวซึ่งอยู่ใกล้กับหน้าคลื่น กระแทกลูกที่หนึ่งดังกล่าว 2
4. ระบบตามข้อถือสิทธิข้อที่ 19 จะประกอบด้วยหัวฉีดดังกล่าวที่มีขนาดที่สามารถ จะสร้างการไหลของแก๊สที่ขยายตัวเกินขนาดด้วยความเร็วสูงจากหัวฉีดดังกล่าวไปด้วยความดันที่ ได้กำหนดไว้ล่วงหน้า 2
5. ระบบตามข้อถือสิทธิข้อที่ 19 ยังจะประกอบด้วยหัวฉีดดังกล่าวที่มีขนาดซึ่งการ ไหลของแก๊สด้วยความเร็วสูงดังกล่าวจะไม่ก่อให้เกิดเสียงรบกวนซึ่งนอกเหนือไปจากเสียงรบกวน จากการไหลของแก๊สด้วยความเร็วสูง 2
6. ระบบตามข้อถือสิทธิข้อที่ 19 โดยที่พื้นผิวสะท้อนดังกล่าวจะประกอบด้วยส่วน พื้นผิวเรียบซึ่งพุ่งออกไปอย่างตั้งฉากกับท่อทางออกดังกล่าว และส่วนพื้นผิวที่มีมุมเอียงล้อมรอบ ส่วนพื้นผิวเรียบดังกล่าว ส่วนพื้นผิวที่มีมุมเอียงดังกล่าวจะกำหนดมุมรวมของรูปแบบการไหลจาก ท่อฉีดดังกล่าว 2
7. วิธีการในการปฏิบัติการระบบดับเพลิง โดยที่ระบบดังกล่าวจะมีท่อฉีดซึ่ง ประกอบด้วย หัวฉีดที่มีท่อทางเข้าซึ่งต่ออยู่กับแหล่งกำเนิดแก๊สอัดความดันดังกล่าวและท่อทางออก เพื่อใช้ในการแลกเปลี่ยนของไหล ท่อซึ่งต่ออยู่กับแหล่งกำเนิดของเหลวอัดความดันดังกล่าวเพื่อใช้ในการแลกเปลี่ยน ของไหล ท่อดังกล่าวจะมีรูเปิดทางออกอยู่ในตำแหน่งที่ติดกับท่อทางออกดังกล่าว และ พื้นผิวสะท้อนจะอยู่ในตำแหน่งหันหน้าเข้าหาท่อทางออกดังกล่าวโดยมีช่องว่าง ระหว่างกัน วิธีการดังกล่าวจะประกอบด้วย การปล่อยของเหลวดังกล่าวออกจากรูเปิดดังกล่าว การปล่อยแก๊สดังกล่าวออกจากท่อทางออกดังกล่าว การทำให้เกิดหน้าคลื่นกระแทกลูกแรกระหว่างท่อทางออกดังกล่าวกับพื้นผิวสะท้อน ดังกล่าว การทำให้เกิดหน้าคลื่นกระแทกลูกที่สองบริเวณพื้นผิวสะท้อนดังกล่าว การนำพาของเหลวดังกล่าวให้ผสมกับแก๊สดังกล่าวเพื่อทำให้เกิดกระแสของของเหลว กับแก๊ส และ การทำให้กระแสของของเหลวกับแก๊สดังกล่าวออกไปจากท่อฉีดดังกล่าว 2
8. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อที่ 27 โดยที่ระบบดังกล่าวประกอบด้วย ถังแก๊สอัดความดันหลายๆ ถัง ซึ่งก่อให้เกิดแหล่งกำเนิดแก๊สอัดความดันดังกล่าว วาล์วควบคุมหลายๆ ตัวซึ่งแต่ละตัวจะติดอยู่กับถังแก๊สอัดความดันดังกล่าวแต่ละถัง วงแหวนตรวจตราในการติดต่อสื่อสารกับวาล์วควบคุมสำหรับการเฝ้าระวังสถานะการ เปิดปิดของวาล์วควบคุมดังกล่าว และ วิธีดังกล่าวจะประกอบด้วยการเฝ้าระวังสถานะการเปิดปิดของวาล์วควบคุมดังกล่าว และการรักษาวาล์วควบคุมให้เปิดอยู่ตลอดเวลาในระหว่างการทำงานของระบบดังกล่าว 2
9. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อที่ 27 จะประกอบด้วยการทำให้เกิดเพชรจากการกระแทก ในกระแสของของเหลวกับแก๊สดังกล่าว 3
0. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อที่ 27 จะประกอบด้วยการสร้างการไหลของแก๊สที่ ขยายตัวเกินขนาดด้วยความเร็วสูงจากหัวฉีดดังกล่าว 3
1. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อที่ 27 จะประกอบด้วยการส่งจ่ายแก๊สไปยังท่อทางเข้า ดังกล่าวด้วยความดันระหว่างประมาณ 29 psia ถึงประมาณ 60 psia 3
2. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อที่ 27 จะประกอบด้วยการส่งจ่ายของเหลวไปยังท่อ ดังกล่าวด้วยความดันที่มีค่าอยู่ระหว่างประมาณ 1 psia ถึงประมาณ 50 psia 3
3. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อที่ 27 ยังจะประกอบด้วยการนำของเหลวดังกล่าวไปผสม กับแก๊สดังกล่าวซึ่งใกล้กับหน้าคลื่นกระแทกลูกที่สองดังกล่าว 3
4. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อที่ 27 ยังจะประกอบด้วยการนำของเหลวดังกล่าวไปผสม กับแก๊สดังกล่าวซึ่งใกล้กับหน้าคลื่นกระแทกลูกที่หนึ่งดังกล่าว 3
5. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อที่ 27 โดยที่กระแสของไหลดังกล่าวจะไม่แยกออกจาก พื้นผิวสะท้อนดังกล่าว 3
6. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อที่ 27 ยังจะประกอบด้วยการไม่ก่อให้เกิดเสียงรบกวนจาก ท่อฉีดดังกล่าวซึ่งนอกเหนือไปจากเสียงรบกวนจากการไหลของแก๊สด้วยความเร็วสูง 3
7. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อที่ 36 โดยที่เสียงรบกวนจากการไหลของแก๊สด้วย ความเร็วสูงดังกล่าวจะมีความถี่ซึ่งมีค่าไม่เกินประมาณ 6 กิโลเฮิร์ต 3
8. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อที่ 27 ยังจะประกอบด้วยการก่อให้เกิดโมเมนตัมในการ ไหลของแก๊สด้วยความเร็วสูงดังกล่าว 3
9. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อที่ 38 โดยที่กระแสของของเหลวกับแก๊สดังกล่าวจะมี ความเร็วประมาณ 1,200 ฟุตต่อนาที ที่ระยะทางประมาณ 18 นิ้วจากท่อฉีดดังกล่าว 4
0. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อที่ 38 โดยที่กระแสของของเหลวกับแก๊สดังกล่าวจะมี ความเร็วประมาณ 700 ฟุตต่อนาที ที่ระยะทางประมาณ 8 ฟุตจากท่อฉีดดังกล่าว 4
1. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อที่ 27 ยังจะประกอบด้วยการก่อให้เกิดรูปแบบการไหล จากท่อฉีดดังกล่าวซึ่งมีมุมที่ได้กำหนดไว้แล้วล่วงหน้าโดยการกำหนดให้มีส่วนที่มีมุมเอียงของ พื้นผิวสะท้อนดังกล่าว 4
2. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อที่ 27 ประกอบด้วยการใส่ของเหลวเข้าไปกับการไหล ของแก๊สด้วยความเร็วสูงดังกล่าวโดยใช้ความแตกต่างระหว่างความดันในการไหลของแก๊สด้วย ความเร็วสูงดังกล่าวกับความดันบรรยากาศ 4
3. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อที่ 27 ประกอบด้วยการนำของเหลวดังกล่าวให้ไปผสม กับการไหลของแก๊สด้วยความเร็วสูงดังกล่าว และทำให้ของเหลวดังกล่าวกลายเป็นละอองเป็นหยด ซึ่งมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางน้อยกว่า 20 ไมโครเมตร 4
4. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อที่ 27 ประกอบด้วยการใส่ชั้นควันที่ไม่มีออกซิเจนลงไป ในการไหลของแก๊สด้วยความเร็วสูงดังกล่าวและนำพาชั้นควันดังกล่าวไปกับกระแสของไหล ดังกล่าวของท่อฉีดดังกล่าว 4
5. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อที่ 27 ประกอบด้วยการปล่อยแก๊สเฉื่อยออกจากท่อ ทางออกดังกล่าว 4
6. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อที่ 27 ประกอบด้วยการปล่อยส่วนผสมของแก๊สเฉื่อยกับ แก๊สที่มีปฏิกิริยาทางเคมีออกจากท่อทางออกดังกล่าว 4
7. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อที่ 46 โดยที่ส่วนผสมของแก๊สดังกล่าวจะประกอบด้วย อากาศ 4
8. วิธีการในการปฏิบัติการระบบดับเพลิงโดยที่ระบบดังกล่าวจะมีท่อฉีดซึ่ง ประกอบด้วย หัวฉีดที่มีท่อทางเข้าซึ่งต่ออยู่กับแหล่งกำเนิดแก๊สอัดความดันดังกล่าวและท่อทางออก เพื่อใช้ในการแลกเปลี่ยนของไหล ท่อซึ่งต่ออยู่กับแหล่งกำเนิดของเหลวอัดความดันดังกล่าวเพื่อใช้ในการแลกเปลี่ยน ของไหล ท่อดังกล่าวจะมีรูเปิดทางออกอยู่ในตำแหน่งที่ติดกับท่อทางออกดังกล่าว พื้นผิวสะท้อนจะอยู่ในตำแหน่งหันหน้าเข้าหาท่อทางออกดังกล่าวโดยมีช่องว่าง ระหว่างกัน วิธีการดังกล่าวจะประกอบด้วย การปล่อยของเหลวดังกล่าวออกจากรูเปิดดังกล่าว การปล่อยแก๊สดังกล่าวออกจากท่อทางออกดังกล่าวซึ่งทำให้เกิดการไหลของแก๊สด้วย ความเร็วสูงซึ่งขยายตัวเกินขนาดออกจากหัวฉีดดังกล่าว การนำพาของเหลวดังกล่าวผสมลงในแก๊สดังกล่าวเพื่อก่อให้เกิดกระแสของของเหลว กับแก๊ส และ การทำให้กระแสของของเหลวกับแก๊สดังกล่าวออกไปจากท่อฉีดดังกล่าว 4
9. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อที่ 48 ยังประกอบด้วย การทำให้เกิดหน้าคลื่นกระแทกลูกแรกระหว่างท่อทางออกดังกล่าวกับพื้นผิวสะท้อน ดังกล่าว การทำให้เกิดหน้าคลื่นกระแทกลูกที่สองบริเวณพื้นผิวสะท้อนดังกล่าว และ การนำพาของเหลวดังกล่าวผสมลงในแก๊สดังกล่าวซึ่งอยู่ใกล้กับหน้าคลื่นกระแทกลูก แรกและลูกที่สองดังกล่าวลูกใดลูกหนึ่ง 5
0. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อที่ 48 ยังประกอบด้วยการทำให้เกิดเพชรจากการกระแทก หลายๆ อัน ในกระแสของของเหลวกับแก๊สดังกล่าวจากท่อฉีดดังกล่าว
TH601004213A 2006-09-01 ระบบดับเพลิงโดยการใช้ท่อฉีดแบบความดันต่ำและความเร็วสูง TH56018B (th)

Publications (3)

Publication Number Publication Date
TH86823B TH86823B (th) 2007-10-01
TH86823A true TH86823A (th) 2007-10-01
TH56018B TH56018B (th) 2017-07-17

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
EP1893307B1 (en) Fire suppression system using high velocity low pressure emitters
EP2079530B1 (en) Dual extinguishment fire suppression system using high velocity low pressure emitters
US20120241535A1 (en) Water atomization and mist delivery system
RU2415689C1 (ru) Газоводяная система пожаротушения
US20120031632A1 (en) Dual Mode Agent Discharge System With Multiple Agent Discharge Capability
CN209967489U (zh) 一种双通道低压流体雾化喷头
TH86823A (th) ระบบดับเพลิงโดยการใช้ท่อฉีดแบบความดันต่ำและความเร็วสูง
TH56018B (th) ระบบดับเพลิงโดยการใช้ท่อฉีดแบบความดันต่ำและความเร็วสูง
WO2001074495A1 (en) Method and apparatus for generating water sprays, and methods of cleaning using water sprays
RU2474454C1 (ru) Устройство пожаротушения с применением газожидкостной смеси
TH95456A (th) ระบบระงับอัคคีภัยที่ดับไฟแบบคู่โดยใช้ตัวปล่อยความดันต่ำความเร็วสูง
TH56237B (th) ระบบระงับอัคคีภัยที่ดับไฟแบบคู่โดยใช้ตัวปล่อยความดันต่ำความเร็วสูง
TH83969A (th) อุปกาณ์พ่นฝอยแรงตันต่ำที่มีอัตราเร็วสูง
TH69306B (th) อุปกาณ์พ่นฝอยแรงตันต่ำที่มีอัตราเร็วสูง
CN108815767A (zh) 一种热追踪自动消防火炮
TH86823B (th) ระบบดับเพลิงโดยการใช้ท่อฉีดแบบความดันต่ำและความเร็วสูง