TH75239B - วิธีการและอุปกรณ์สำหรับการป้อนอนุภาคพลาสมาให้กับของเหลวและการใช้ในการฆ่าเชื้อในน้ำ - Google Patents

วิธีการและอุปกรณ์สำหรับการป้อนอนุภาคพลาสมาให้กับของเหลวและการใช้ในการฆ่าเชื้อในน้ำ

Info

Publication number
TH75239B
TH75239B TH1201004091A TH1201004091A TH75239B TH 75239 B TH75239 B TH 75239B TH 1201004091 A TH1201004091 A TH 1201004091A TH 1201004091 A TH1201004091 A TH 1201004091A TH 75239 B TH75239 B TH 75239B
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
liquid
reactor
aforementioned
current
procedure
Prior art date
Application number
TH1201004091A
Other languages
English (en)
Other versions
TH127270A (th
TH127270B (th
Inventor
โซเลซซี่-แกเรตัน นายอัลเฟรโด
Original Assignee
นางสาวชาลินี ศรีประศาสน์
นางชาลิณี ปัณฑุวิเชียร
Filing date
Publication date
Application filed by นางสาวชาลินี ศรีประศาสน์, นางชาลิณี ปัณฑุวิเชียร filed Critical นางสาวชาลินี ศรีประศาสน์
Publication of TH127270A publication Critical patent/TH127270A/th
Publication of TH127270B publication Critical patent/TH127270B/th
Publication of TH75239B publication Critical patent/TH75239B/th

Links

Abstract

DC60 (26/10/55) การประดิษฐ์นี้จะจัดให้มีวิธีการและอุปกรณ์สำหรับการสร้างอนุภาคพลาสมาและการป้อน อนุภาคพลาสมาให้กับของเหลว วัตถุดิบที่ใช้ป้อนกระบวนการที่เป็นของเหลว (เช่น น้ำและ/หรือ ไฮโดรคาร์บอนผสมกับสารชีวมวล) จะถูกสูบโดยผ่านท่อส่ง จากนั้นกระแสแบบวัฏภาคเดียวจะถูกแปลงรูป เป็นกระแสของเหลวและก๊าซแบบสองวัฏภาคภายในช่อง การแปลงรูปนจะทำได้โดยการเปลี่ยนสถานะ ของกระแสจากเขตความดันสูงให้เป็นเขตความดันต่ำ ความดันอาจลดลงเมื่อกระแสผ่านอุปกรณ์สำหรับ ฉีดของเหลวเป็นฝอยไปอีก ภายในช่อง จะมีการสร้างสนามไฟฟ้าที่มีระดับเกินระดับเริ่มเปลี่ยนของ แรงดันไฟฟ้าเสียสภาพฉับพลันของสื่อกลางแบบสองวัฏภาค อันนำไปสู่การสร้างสถานะที่เป็นพลาสมา นอกจากนี้ การประดิษฐ์จะจัดให้มีวิธีการที่ใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพซึ่งสามารถปรับได้และคล่อง ตัวสูง และอุปกรณ์สำหรับกำจัดเชื้อในน้ำโดยใช้อนุภาคพลาสมาเพื่อยับยั้งสารชีวภาพที่เจือปนในน้ำ การประดิษฐ์นี้จะจัดให้มีวิธีการและอุปกรณ์สำหรับการสร้างอนุภาคพลาสมาและการป้อน อนุภาคพลาสม่าให้กับของเหลว วัตถุดิบที่ใช้ป้อนกระบวนการที่เป็นของเหลว (เช่น น้ำและ/หรือ ไฮโดรคาร์บอนผสมกับสารชีวมวล) จะถูกสูบโดบผ่านท่อส่ง จากนั้นกระแสแบบวัฏภาคเดียวจะถูกแปลงรูป เป็นกระแสของเหลวและก๊าซแบบสองวัฏภาคภายในช่อง การแปลงรูปนจะทำได้โดยการเปลี่ยนสถานะ ของกระแสจากเขตความดันสูงให้เป็นเขตความดันต่ำ ความดันอาจลดลงเมื่อกระแสผ่านอุปกรณ์สำหรับ ฉีดของเหลวเป็นฝอยไปอีก ภายในช่อง จะมีการสร้างสนามไฟฟ้าที่มีระดับเกินระดับเริ่มเปลี่ยนของ แรงดันไฟฟ้าเสียสภาพฉับพลันของสื่อกลางแบบสองวัฏภาค อันนำไปสู่การสร้างสถานะที่เป็นพลาสมา นอกจากนี้ การประดิษฐ์จะจัดให้มีวิธีการที่ใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพซึ่งสามารถปรับได้และคล่อง ตัวสูง และอุปกรณ์สำหรับกำจัดเชื้อในน้ำโดยใช้อนุภาคพลาสมาเพื่อยับยั้งสารชีวภาพที่เจือปนในน้ำ

Claims (9)

ข้อถือสิทธฺ์ (ทั้งหมด) ซึ่งจะไม่ปรากฏบนหน้าประกาศโฆษณา :------25/05/2561------(OCR) หน้า 1 ของจำนวน 2 หน้า ข้อถือสิทธิ 1. วิธีการใส่อนุภาคพลาสมาไปยังของเหลวที่ประกอบรวมด้วยขั้นตอนของ: การผ่านกระแสนำเข้าของของเหลวเข้าไปในห้องผ่านหัวฉีดที่พ่นละอองของเหลวดังกล่าว, โดยที่ความดันของของเหลวดังกล่าวก่อนหัวฉีดดังกล่าวอยู่ในช่วง 1 ถึง 100 บรรยากาศ, โดยที่ความดัน ภายในห้องดังกล่าวต่ำกว่าความดันไอของของเหลวดังกล่าว, โดยที่ความดันดังกล่าวภายในห้องดังกล่าว อยู่ในช่วง 0.1 ถึง 0.8 บรรยากาศ; การได้รับสารผสมที่มีสองวัฎภาคที่มีส่วนแก๊ซที่สร้างโดยการระเหย แบบแอเดียแบดิกของส่วนหนึ่งของของเหลวดังกล่าวและที่มีละอองของของเหลวดังกล่าวที่แขวน ตะกอนภายในส่วนแก๊สดังกล่าว ภายในห้องดังกล่าว; การจุดระเบิดสถานะพลาสมาในส่วนแก๊สดังกล่าว ของสารผสมที่มีสองวัฎภาคดังกล่าวภายในห้องดังกล่าวโดยการใส่สนามไฟฟ้า แรงดันไฟฟ้าของมันมาก เกินขีดเริ่มเปลี่ยนของแรงดันไฟฟ้าพังทลายของตัวกลางที่มีสองวัฎภาค, โดยที่สนามไฟฟ้าดังกล่าวถูก สร้างโดยการใส่กระแสไฟฟ้าอย่างน้อยที่สุด 10,000 โวลต์ไปยังชุดของอิเล็กโทรดที่จัดวางภายในสาร ผสมที่มีสองวัฎภาคดังกล่าว; การรักษาสถานะพลาสมาดังกล่าวไว้ในสารผสมดังกล่าวโดยการใส่ กระแสไฟฟ้าที่มีแรงดันไฟฟ้าระหว่าง 500 โวลต์ และ 4,000 โวลต์; และการควบแน่นสารผสมที่มี สองวัฎภาคดังกล่าวตามหลังการจุดระเบิดดังกล่าวและการรักษาไว้ดังกล่าวของสถานะพลาสมาดังกล่าว เพื่อได้รับกระแสนำออกของของเหลว, โดยที่ความดันของของเหลวในกระแสนำออกดังกล่าวหลังห้อง ดังกล่าวอยู่ในช่วง 0.5 บรรยากาศ ถึง 4 บรรยากาศ 2. วิธีการของข้อถือสิทธิข้อที่ 1, โดยที่ขั้นตอนดังกล่าวของการผ่านกระแสนำเข้าดังกล่าวของ ของเหลว, ที่ประกอบรวมเพิ่มเดิมด้วยการผ่านกระแสของสารละลายนํ้าที่มีสารชีวภาพ 3. วิธีการของข้อถือสิทธิข้อที่ 1, โดยที่ขั้นตอนดังกล่าวของการผ่านกระแสนำเข้าดังกล่าวของ ของเหลว, ที่ประกอบรวมเพิ่มเติมด้วยการอัดกระแสนำเข้าดังกล่าวของของเหลว 4. วิธีการของข้อถือสิทธิข้อที่ 1, โดยที่ขั้นตอนดังกล่าวของการได้รับกระแสนำออกดังกล่าวของ ของเหลว ประกอบรวมเพิ่มเติมด้วยการทำให้กระแสนำออกดังกล่าวเย็น 5. วิธีการสำหรับการทำให้นํ้าปราศจากเชื้อโรคที่ประกอบรวมด้วยขั้นตอนของ: การได้รับกระแสที่มี สองวัฎภาคของนํ้า, ที่ประกอบรวมด้วยการฟ้อนนํ้าดังกล่าวที่ทางเข้าของเครื่องปฏิกรณ์ผ่านเครื่องพ่น ละออง, โดยที่กระแสที่มีสองวัฎภาคดังกล่าวที่มีละอองของนํ้าดังกล่าวที่แขวนตะกอนภายในไอนํ้าที่สร้าง โดยการระเหยแบบแอเดียแบติกของส่วนหนงของนํ้าดังกล่าว. โดยที่เครื่องปฏิกรณ์ดังกล่าวที่มีเครื่องมือ หน้า 2 ของจำนวน 2 หน้า ภายในตัวมันสำหรับการใส่สนามไฟฟ้า; การจุดระเบิดสถานะพลาสมาในกระแสที่มีสองวัฎภาคดังกล่าว ภายในเครื่องปฏิกรณ์ดังกล่าวโดยการใส่การปล่อยไฟฟ้าอย่างน้อยที่สุด 10,000 โวลต์ ไปยังกระแสที่มี สองวัฎภาคดังกล่าวผ่านเครื่องมือดังกล่าวสำหรับการใส่สนามไฟฟ้าดังกล่าว; การรักษาสถานะพลาสมา ดังกล่าวไว้ในกระแสที่มีสองวัฎภาคดังกล่าวโดยการใส่กระแสไฟฟ้าที่มีแรงดันไฟฟ้าระหว่าง 500 โวลต์ และ 4,000 โวลต์; และการควบแน่นกระแสที่มีสองวัฎภาคดังกล่าวของนํ้าตังกล่าวไปเป็นวัฎภาคของเหลว ที่ทางออกของเครื่องปฏิกรณ์ดังกล่าว ------------ แก้ไข 28/02/2560 1. วิธีการป้อนอนุภาคพลาสมาให้กับของเหลวประกอบรวมด้วยขั้นตอนต่อไปนี้: การได้รับกระแสที่หนึ่งของของเหลว การได้รับของผสมแบบสองวัฏภาคที่มีส่วนที่เป็นก๊าซและส่วนที่เป็นของเหลวจากกระแสที่หนึ่ง ของของเหลวดังกล่าวโดยการส่งกระแสที่หนึ่งดังกล่าวไปในช่องที่มีปริมาตรขยายที่ทำให้ความดันรอบ กระแสที่หนึ่งดังกล่าวลดลง การจุดระเบิดและการรักษาสถานะที่เป็นพลาสมาโดยการแตกตัวเป็นไอออนของส่วนที่เป็นก๊าช ดังกล่าวของของผสมแบบสองวัฏภาคดังกล่าว และ การได้รับกระแสที่สองของของเหลวโดยการควบแน่นของผสมแบบสองวัฏภาคดังกล่าวหลังจาก การจุดระเบิดสถานะที่เป็นพลาสมาดังกล่าว 2. วิธีการดังระบุในข้อถือสิทธิ 1 โดยที่กระแสที่หนึ่งของของเหลวดังกล่าวประกอบรวมด้วย สารละลายน้ำ 3. วิธีการดังระบุในข้อถือสิทธิ 1 โดยที่กระแสที่หนึ่งของของเหลวดังกล่าวประกอบรวมด้วย ไฮโดรคาร์บอนเหลว 4. วิธีการดังระบุในข้อถือสิทธิ 1 โดยที่ขั้นตอนของการได้รับกระแสที่หนึ่งของของเหลวดังกล่าว ประกอบรวมด้วยการดัดแปลงความดัน อุณหภูมิ องค์ประกอบ หรือการรวมกันของสิ่งเหล่านี้ของกระแสที่ หนึ่งของของเหลวดังกล่าว 5. วิธีการดังระบุในข้อถือสิทธิ 1 โดยที่ขั้นตอนของการได้รับของผสมแบบสองวัฏภาคดังกล่าว ประกอบเพิ่มเติมด้วยการส่งกระแสที่หนึ่งดังกล่าวผ่านอุปกรณ์สำหรับฉีดกระแสที่หนึ่งดังกล่าวเป็นฝอย 6. วิธีการดังระบุในข้อถือสิทธิ 5 โดยที่อุปกรณ์สำหรับขั้นตอนการฉีดเป็นฝอยดังกล่าวประกอบรวม ด้วยหัวฉีดพ่น ไดอะแฟรม หรือทรานสดิวเซอร์อุทกพลวัต 7. วิธีการดังระบุในข้อถือสิทธิ 1 โดยที่ขั้นตอนของการได้รับกระแสที่สองของของเหลวดังกล่าว ประกอบเพิ่มเติมด้วยการให้ความเย็นแก่กระแสที่สองดังกล่าว 8. วิธีการดังระบุในข้อถือสิทธิ 1 โดยที่ขั้นตอนของการได้รับกระแสที่สองของของเหลวดังกล่าว ประกอบเพิ่มเติมด้วยการแยกก๊าซอย่างน้อยหนึ่งก๊าซออกจากสารผสมดังกล่าว 9. อุปกรณ์สำหรับการป้อนอนุภาคพลาสมาให้ดับของเหลวประกอบรวมด้วย: กลไกนำเข้าวัตถุดิบที่ใช้ป้อนกระบวนการสำหรับการนำเข้าวัตถุดิบวัฏภาคของเหลว เครื่องมือทำละอองเหลวซึ่งประกอบรวมด้วยเครื่องปฏิกรณ์สำหรับการสร้างของผสมแบบสองวัฏ ภาคจากวัตถุดิบที่ใช้ป้อนกระบวนการวัฏภาคของเหลวดังกล่าว ขนาดของเครื่องปฏิกรณ์นั้นจะต้องมี ลักษณะที่ทำให้การเข้าของของเหลวเป็นเหตุให้ของเหลวนั้นขยายตัวอยู่ภายในเครื่องปฏิกรณ์ โดยที่ของ ผสมแบบสองวัฏภาคดังกล่าวประกอบรวมด้วยส่วนที่เป็นละอองของเหลวขนาดเล็กและส่วนที่เป็นก๊าซ และ เครื่องปฏิกรณ์ที่มีขั้วไฟฟ้าสำหรับการจุดระเบิดและการรักษาสถานะที่เป็นพลาสมาโดยการทำให้ แตกตัวเป็นไอออนของส่วนที่เป็นก๊าซดังกล่าวของของผสมแบบสองวัฏภาคดังกล่าว 1 0. อุปกรณ์ดังระบุในข้อถือสิทธิ 9 โดยที่กลไกนำเข้าวัตถุดิบที่ใช้ป้อนกระบวนการดังกล่าวประกอบ เพิ่มเติมด้วยเครื่องสูบอย่างน้อยหนึ่งตัวและท่อที่มีแรงดันสูงอย่างน้อยหนึ่งท่อ 1 1. อุปกรณ์ดังระบุในข้อถือสิทธิ 9 โดยที่เครื่องมือทำละอองเหลวดังกล่าวประกอบเพิ่มเติมด้วยหัวฉีด พ่น ไดอะแฟรม หรือทรานสดิวเซอร์อุทกพลวัต 1 2. อุปกรณ์ดังระบุในข้อถือสิทธิ 9 โดยที่เครื่องปฏิกรณ์ดังกล่าวประกอบเพิ่มเติมด้วยตัวตรวจรู้หลาย ตัวสำหรับการวัดความดันและอุณหภูมิ 1 3. อุปกรณ์ดังระบุในข้อถือสิทธิ 9 โดยที่เครื่องปฏิกรณ์ดังกล่าวประกอบเพิ่มเติมด้วยท่อส่งสำหรับ การแยกก๊าซผลพลอยได้อย่างน้อยหนึ่งอย่างออกจากเครื่องปฏิกรณ์ดังกล่าว 1 4. อุปกรณ์ดังระบุในข้อถือสิทธิ 9 โดยที่เครื่องปฏิกรณ์ดังกล่าวประกอบเพิ่มเติมด้วยหัวฉีดพ่น สำหรับการเพิ่มสารประกอบอย่างน้อยหนึ่งสารเข้าไปในเครื่องปฏิกรณ์ดังกล่าวโดยตรง 1 5. อุปกรณ์ดังระบุในข้อถือสิทธิ 9 โดยที่ขั้วไฟฟ้าดังกล่าวประกอบเพิ่มเติมด้วยกลไกการสร้าง สนามไฟฟ้าความถี่สูง 1 6. อุปกรณ์ดังระบุในข้อถือสิทธิ 9 โดยที่ประกอบเพิ่มเติมด้วยเครื่องควบแน่นของเหลวสำหรับการ ทำให้ของผสมแบบสองวัฏภาคดังกล่าวเปลี่ยนกลับไปเป็นสถานะที่เป็นของเหลวหลังจากที่เป็นสถานะ พลาสมาดังกล่าว 1 7. อุปกรณ์ดังระบุในข้อถือสิทธิ 16 โดยที่เครื่องควบแน่นดังกล่าวประกอบเพิ่มเติมด้วยอุปกรณ์ทำ ความเย็น 1 8. การใช้วิธีการดังระบุในข้อถือสิทธิ 1 สำหรับการบำบัดน้ำ 1 9. วิธีการป้อนอนุภาคพลาสมาให้กับของเหลวประกอบรวมด้วยขั้นตอนต่อไปนี้: การส่งกระแสนำเข้าของของเหลวเข้าไปในห้องผ่านหัวฉีดพ่นที่ฉีดของเหลวดังกล่าวเป็นฝอย โดย ที่ความดันของของเหลวดังกล่าวก่อนหัวฉีดพ่นดังกล่าวอยู่ในช่วง 1 ถึง 100 บรรยากาศ โดยที่ความดัน ภายในห้องดังกล่าวต่ำกว่าความดันไอของของเหลวดังกล่าว การได้รับของผสมแบบสองวัฏภาคที่มีส่วนที่เป็นก๊าซภายในห้องดังกล่าวซึ่งถูกสร้างขึ้นโดยการ ระเหยแบบแอเดียแบติกของส่วนหนึ่งของของเหลวดังกล่าวและที่มีละอองขนาดเล็กของของเหลวดังกล่าว ที่แขวนลอยอยู่ภายในส่วนที่เป็นก๊าซดังกล่าว โดยที่ของผสมแบบสองวัฏภาคดังกล่าวมีแรงดันไฟฟ้าเสีย สภาพฉับพลัน การป้อนสนามไฟฟ้าเข้าไปในส่วนที่เป็นก๊าซดังกล่าวของของผสมแบบสองวัฏภาคดังกล่าวด้วย ขั้วไฟฟ้าชุดหนึ่งที่จัดวางอยู่ภายในห้องดังกล่าวโดยที่แรงดันไฟฟ้าของสนามไฟฟ้าดังกล่าวมีมากเกินระดับ เริ่มเปลี่ยนของแรงดันไฟฟ้าเสียสภาพฉับพลันของตัวกลางแบบสองวัฏภาค อันทำให้จุดระเบิดสถานะที่ เป็นพลาสมาในส่วนที่เป็นก๊าซดังกล่าวได้ การรักษาสถานะที่เป็นพลาสมาดังกล่าวไว้ในของผสมดังกล่าวโดยการป้อนกระแสไฟฟ้าที่มี แรงดันไฟฟ้าต่ำกว่าระดับเริ่มเปลี่ยนของแรงดันไฟฟ้าเสียสภาพฉับพลัน และ การควบแน่นของผสมแบบสองวัฏภาคดังกล่าวหลังจากการจุดระเบิดและการรักษาของสถานะที่ เป็นพลาสมาดังกล่าวเพื่อรับกระแสนำออกของของเหลว 2 0. วิธีการดังระบุในข้อถือสิทธิ 19 โดยที่ขั้นตอนดังกล่าวของการส่งกระแสนำเข้าดังกล่าวของ ของเหลวประกอบเพิ่มเติมด้วยการส่งกระแสของสารละลายน้ำที่มีสารชีวภาพ 2 1. วิธีการดังระบุในข้อถือสิทธิ 19 โดยที่ขั้นตอนดังกล่าวของการส่งกระแสนำเข้าดังกล่าวของ ของเหลวประกอบเพิ่มเติมด้วยการอัดกระแสนำเข้าดังกล่าวของของเหลว 2 2. วิธีการดังระบุในข้อถือสิทธิ 19 โดยที่ขั้นตอนดังกล่าวของการได้รับกระแสนำออกดังกล่าวของ ของเหลวประกอบเพิ่มเติมด้วยการให้ความเย็นแก่กระแสนำออกดังกล่าว 2 3. วิธีการสำหรับการบำบัดน้ำที่ประกอบรวมด้วยขั้นตอนต่อไปนี้: การได้รับกระแสแบบสองวัฏภาคของนำที่ประกอบรวมด้วยการป้อนน้ำดังกล่าวที่ทางเข้าของ เครื่องปฏิกรณ์ผ่านเครื่องมือทำละอองเหลว โดยที่กระแสแบบสองวัฏภาคดังกล่าวซึ่งมีละอองขนาดเล็ก ของน้ำดังกล่าวแขวนลอยอยู่ภายในไอน้ำที่สร้างโดยการระเหยแบบแอเดียแบติกของส่วนของน้ำดังกล่าว โดยที่กระแสแบบสองวิฎภาคดังกล่าวมีระดับเริ่มเปลี่ยนของแรงดันไฟฟ้าเสียสภาพฉับพลัน และโดยที่ เครื่องปฏิกรณ์ดังกล่าวรวมถึงกลไกภายในเครื่องปฏิกรณ์ดังกล่าวสำหรับการป้อนสนามไฟฟ้า การจุดระเบิดสถานะที่เป็นพลาสมาในกระแสแบบสองวัฏภาคดังกล่าวภายในเครื่องปฏิกรณ์ ดังกล่าวโดยการป้อนการปล่อยประจุไฟฟ้าที่มากเกินระดับเริ่มเปลี่ยนของแรงดันไฟฟ้าเสียสภาพฉับพลัน ไปยังกระแสแบบสองวัฏภาคดังกล่าวผ่านกลไกดังกล่าวสำหรับการป้อนสนามไฟฟ้าดังกล่าว การรักษาสถานะที่เป็นพลาสมาดังกล่าวไว้ในกระแสแบบสองวัฏภาคดังกล่าวโดยการป้อน กระแสไฟฟ้าที่มีแรงดันไฟฟ้าต่ำกว่าระดับเริ่มเปลี่ยนของแรงดันไฟฟ้าเสียสภาพฉับพลัน และ การควบแน่นกระแสแบบสองวัฏภาคดังกล่าวของน้ำดังกล่าวให้เป็นวัฏภาคของเหลวที่ทางออก ของเครื่องปฏิกรณ์ดังกล่าว -------------------------- 1. วิธีการป้อนนุภาคพลาสมาให้กับของเหลว ซึ่งประกอบด้วยขั้นตอนดังต่อไปนี้ การได้รับกระแสของเหลวที่หนึ่ง; การได้รับของผสมแบบสองวัฏภาคทีมีส่วนที่เป็นก๊าซและส่วนที่เป็นของเหลวจากกระแสของ เหลวที่หนึ่งดังกล่าว; การจุดระเบิดสถานะที่เป็นพลาสมาในส่วนที่เป็นก๊าซดังกล่าวของของผสมแบบสองวัฏภาค ดังกล่าว; และ การได้รับกระแสของเหลวที่สองโดยการควบแน่นของผสมแบบวัฏภาคดังกล่าวจากการ จุดระเบิดสถานะที่เป็นพลาสมาดังกล่าว 2. วิธีการดังระบุในข้อถือสิทธิ 1 โดยที่ขั้นตอนการได้รับกระแสของเหลวที่หนึ่งดังกล่าว ยังประกอบด้วยการได้รับกระแสของสารละลายน้ำ 3. วิธีการดังระบุในข้อถือสิทธิ 1 โดยที่ขั้นตอนการได้รับกระแสของเหลวที่หนึ่งดังกล่าว ยังประกอบด้วยได้รับการกระแสไฮโดรคาร์บอนเหลว 4. วิธีการดังระบุในข้อถือสิทธิ 1 โดยที่ขั้นตอนการได้รับกระแสของเหลวที่หนึ่งดังกล่าว ยังประกอบด้วยการอัดกระแสของเหลวที่หนึ่งดังกล่าว 5. วิธีการดังระบุในข้อถือสิทธิ 1 โดยที่ขั้นตอนการได้รับกระแสของเหลวที่หนึ่งดังกล่าว ยังประกอบด้วยการให้ความร้อนแก่กระแสของเหลวที่หนึ่งดังกล่าว 6. วิธีการดังระบุในข้อถือสิทธิ 5 ซึ่งยังประกอบด้วยการให้ความร้อนแก่กระแสของเหลวที่หนึ่ง ดังกล่าว 7. วิธีการดังระบุในข้อถือสิทธิ 1 โดยที่ขั้นตอนการได้รับกระแสของเหลวที่หนึ่งดังกล่าว ยังประกอบด้วยการส่งกระแสที่หนึ่งดังกล่าวผ่านหัวฉีดพ่น 8. วิธีการดังระบุในข้อถือสิทธิ 1 โดยที่ขั้นตอนการได้รับกระแสของเหลวที่หนึ่งดังกล่าว ยังประกอบด้วยการส่งกระแสที่หนึ่งดังกล่าวผ่านอุปกรณ์สำหรับฉีดกระแสที่หนึ่งดังกล่าวเป็นฝอย 9. วิธีการดังระบุในข้อถือสิทธิ 1 โดยที่ขั้นตอนการได้รับกระแสของเหลวที่หนึ่งดังกล่าว ยังประกอบด้วยการส่งกระแสที่หนึ่งดังกล่าวเข้าไปในช่องที่มีปริมาตรขยายซึ่งทำให้ความดันรอบกระแส ที่หนึ่งดังกล่าวลดลง 1 0. วิธีการดังระบุในข้อถือสิทธิ 1 โดยที่ขั้นตอนการได้รับกระแสของเหลวที่หนึ่งดังกล่าว ยังประกอบด้วยการป้อนกระแสไฟฟ้าแรงดันสูงให้กับชุดขั้วไฟฟ้าที่มีตำแหน่งอยู่ภายในของผสมแบบ สองวัฏภาคดังกล่าว 1 1. วิธีการดังระบุในข้อถือสิทธิ 10 ซึ่งยังประกอบด้วยการรักษาระดับสถานะที่เป็น พลาสมา ดังกล่าวในสารผสมดังกล่าว 1 2. วิธีการดังระบุในข้อถือสิทธิ 1 โดยที่ขั้นตอนการได้รับกระแสของเหลวที่หนึ่งดังกล่าว ยังประกอบด้วยการให้ความเย็นแก่กระแสที่สองดังกล่าว 1 3. วิธีการดังระบุในข้อถือสิทธิ 1 โดยที่ขั้นตอนการได้รับกระแสของเหลวที่หนึ่งดังกล่าว ยังประกอบด้วยการแยกก๊าซอย่างน้อยหนึ่งอย่างออกจากสารผสมดังกล่าว 1 4. อุปกรณ์สำหรับป้อนอนุภาคพลาสมาให้กับของเหลว ซึ่งมีส่วนประกอบดังต่อไปนี้: กลไกนำเข้าวัตถุดิบที่ใช้ป้อนกระบวนการ; เครื่องมือทำละอองเหลวสำหรับการสร้างของผสมแบบสองวัฏภาคจากวัตถุดิบที่ใช้ป้อนกระบวน การวัฏภาคของเหลว โดยที่ของผสมแบบสองวัฏภาคดังกล่าวทีส่วนที่เป็นละอองของเหลวขนาดเล็กและ ส่วนที่เป็นก๊าซ; เครื่องปฏิกรณ์ซึ่งมีขั้วไฟฟ้าหนึ่งคู่; และ เครื่องควบแน่นของเหลวสำหรับทำให้ของผสมแบบสองวัฏภาคดังกล่าวกลับสู่สถานะของเหลว 1 5. อุปกรณ์ดังระบุในข้อถือสิทธิ 14 โดยที่กลไกนำเข้าวัตถุดิบที่ใช้ป้อนกระบวนการดังกล่าว ยังประกอบด้วยเครื่องสูบอย่างน้อยหนึ่งตัวและท่อที่มีแรงดันสูงอย่างน้อยหนึ่งตัว 1 6. อุปกรณ์ดังระบุในข้อถือสิทธิ 14 โดยที่เครื่องมือทำละอองเหลวดังกล่าวยังประกอบด้วย หัวฉีดพ่น 1 7. อุปกรณ์ดังระบุในข้อถือสิทธิ 14 โดยที่เครื่องมือทำละอองเหลวดังกล่าวยังประกอบด้วย ไดอาแฟรม 1 8. อุปกรณ์ดังระบุในข้อถือสิทธิ 14 โดยที่เครื่องมือทำละอองเหลวดังกล่าวยังประกอบด้วย ทรานสดิวเซอร์อุทกพลวัต 1 9. อุปกรณ์ดังระบุในข้อถือสิทธิ 14 โดยที่เครื่องปฏิกรณ์ดังกล่าวยังประกอบด้วยวาล์วฉุกเฉิน 2 0. อุปกรณ์ดังระบุในข้อถือสิทธิ 14 โดยที่เครื่องปฏิกรณ์ดังกล่าวยังประกอบด้วยวาล์วฉุกเฉิน 2
1. อุปกรณ์ดังระบุในข้อถือสิทธิ 14 โดยที่เครื่องปฏิกรณ์ดังกล่าวยังประกอบด้วยตัวตรวจรู้หลาย อันสำหรับวัดความดันและอุณหภูมิ 2
2. อุปกรณ์ดังระบุในข้อถือสิทธิ 14 โดยที่เครื่องปฏิกรณ์ดังกล่าวยังประกอบด้วยท่อส่งสำหรับ การแยกก๊าซผลพลอยได้อย่างน้อยหนึ่งอย่างออกจากเครื่องปฏิกรณ์ดังกล่าว 2
3. อุปกรณ์ดังระบุในข้อถือสิทธิ 14 โดยที่เครื่องปฏิกรณ์ดังกล่าวยังประกอบด้วยหัวฉีดพ่น สำหรับเพิ่มสารประกอบอย่างน้อยหนึ่งอย่างเข้าไปในเครื่องปฏิกรณ์ดังกล่าวโดยตรง 2
4. อุปกรณ์ดังระบุในข้อถือสิทธิ 14 โดยที่ขั้วไฟฟ้าดังกล่าวยังปะรกอบด้วยกลไกสร้างสนาม ไฟฟ้าความถี่สูง 2
5. อุปกรณ์ดังระบุในข้อถือสิทธิ 14 โดยที่ขั้วไฟฟ้าดังกล่าวยังประกอบด้วยกลไกสร้างสนาม ไฟฟ้าความถี่สูงยิ่ง 2
6. อุปกรณ์ดังระบุในข้อถือสิทธิ 14 โดยที่เครื่้องปฏิกรณ์ดังกล่าวยังประกอบด้วยกลไกกำเนิด ไมโครเวฟ 2
7. อุปกรณ์ดังระบุในข้อถือสิทธิ 14 โดยที่เครื่องควบแน่นดังกล่าวยังประกอบด้วยอุปกรณ์ทำ ความเย็น 2
8. วิธีการสำหรับกำจัดเชื้อในน้ำ ซึ่งประกอบด้วยขั้นตอนต่อไปนี้คือ การได้รับกระแสน้ำแบบสองวัฏภาค ซึ่งประกอบด้วยการป้อนน้ำดังกล่าวที่ทางเข้าของเครื่อง ปฏิกรณ์โดยผ่านเครื่องมือทำละอองเหลว โดยที่เครื่องปฏิกรณ์ดังกล่าวมีกลไกป้อนการปล่อยประจุ; การจุดระเบิดสถานะที่เป็นพลาสมาในกระแสแบบสองวัฏภาคดังกล่าวภายในเครื่องปฏิกรณ์ ดังกล่าวโดยการป้อนการปล่อยประจุดังกล่าว; และ การควบแน่นกระแสน้ำแบบสองวัฏภาคดังกล่าวให้เป็นวัฏภาคของเหลวที่ทางออกของเครื่อง ปฏิกรณ์ดังกล่าว 2
9. อุปกรณ์ที่ใช้พลังงานแสงอาทิตย์สำหรับกำจัดเชื้อในน้ำ ซึ่งมีส่วนประกอบดังต่อไปนี้: กลไกรับพลังงานแสงอาทิตย์และแปลงพลังงานแสงอาทิตย์ดังกล่าวเป็นพลังงานไฟฟ้า; กลไกจัดเก็บกำลังไฟฟ้าดังกล่าว; และ กลไกบำบัดน้ำที่ได้รับกำลังจากพลังงานไฟฟ้าดังกล่าว ซึ่งยังประกอบด้วย: กลไกการฉีดน้ำดังกล่าวเป็นฝอยเพื่อสร้างของผสมแบบสองวัฏภาคที่มีส่วนที่เป็นของ เหลวและส่วนที่เป็นก๊าซ; กลไกป้อนสถานะที่เป็นพลาสมาให้กับของผสมแบบสองวัฏภาคดังกล่าว; และ กลไกการควบแน่นสารผสมดังกล่าวให้เป็นสถานะของเหลว
TH1201004091A 2011-02-09 วิธีการและอุปกรณ์สำหรับการป้อนอนุภาคพลาสมาให้กับของเหลวและการใช้ในการฆ่าเชื้อในน้ำ TH75239B (th)

Publications (3)

Publication Number Publication Date
TH127270A TH127270A (th) 2013-09-20
TH127270B TH127270B (th) 2013-09-20
TH75239B true TH75239B (th) 2020-03-20

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
Bruggeman et al. Non-thermal plasmas in and in contact with liquids
CN101156955B (zh) 非平衡等离子体式喷雾杀菌消毒剂发生装置
US20170128906A1 (en) Method and system for creating large volumes of highly concentrated plasma activated liquid using cold plasma
CN201131940Y (zh) 一种喷雾杀菌消毒剂发生装置
Wang et al. Micro hollow cathode excited dielectric barrier discharge (DBD) plasma bubble and the application in organic wastewater treatment
US20070272543A1 (en) Pulsed gliding arc electrical discharge reactors
KR20170097685A (ko) 과산화수소의 생성을 위한 디바이스 및 방법
Burlica et al. Effects of the voltage and current waveforms and discharge power on hydrogen peroxide formation in water-spray gliding arc reactors
RU2357931C2 (ru) Устройство для холодного опреснения, активации и очистки воды из любого природного источника
TH75239B (th) วิธีการและอุปกรณ์สำหรับการป้อนอนุภาคพลาสมาให้กับของเหลวและการใช้ในการฆ่าเชื้อในน้ำ
TH127270A (th) วิธีการและอุปกรณ์สำหรับการป้อนอนุภาคพลาสมาให้กับของเหลวและการใช้ในการฆ่าเชื้อในน้ำ
Hong et al. Inactivation of microorganisms by radical droplets from combination of water discharge and electro-spraying
Weng et al. Experimental study and application analysis of pulsed corona discharge plasma technology for odor control
CN104844611B (zh) 一种合成乌洛托品和n,n-二甲基氰胺的方法
CN111157579A (zh) 放电反应器输入参量调控活性成分实验装置及方法
US9677431B2 (en) Methods for generating hydrogen gas using plasma sources
CN113045065B (zh) 一种基于螺旋电极结构的滑动弧等离子体污水净化系统
Muzafarov et al. Disinfection of drinking water with ozone by the method of electrodispersion
Xuefeng et al. Experiment and analysis on the treatment of gaseous benzene using pulsed corona discharge plasma
Guan et al. Degradation of Toluene With Negative DC Corona Plasma Enhanced by Microdischarge
Shibata et al. Water treatment by dielectric barrier discharge tube with vapor flow
Nur et al. Development of DDBD and plasma jet reactors for production reactive species plasma chemistry
RU2553290C1 (ru) Устройство для получения окиси азота
Hsieh et al. Optical diagnostics of electrical discharge water-spray reactors for chemical synthesis
CN108217605B (zh) 光电检测棒状阵列自动能量适配水雾合成双氧水装置