TH71545A - สถาปัตยกรรมสำหรับการเชื่อมต่อลูกข่ายจากระยะไกลเข้ากับพื้นที่ปฏิบัติงานของลูกข่ายท้องถิ่น - Google Patents

สถาปัตยกรรมสำหรับการเชื่อมต่อลูกข่ายจากระยะไกลเข้ากับพื้นที่ปฏิบัติงานของลูกข่ายท้องถิ่น

Info

Publication number
TH71545A
TH71545A TH401001996A TH0401001996A TH71545A TH 71545 A TH71545 A TH 71545A TH 401001996 A TH401001996 A TH 401001996A TH 0401001996 A TH0401001996 A TH 0401001996A TH 71545 A TH71545 A TH 71545A
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
computer
port
connection
internal
external
Prior art date
Application number
TH401001996A
Other languages
English (en)
Other versions
TH50998B (th
Inventor
เอ็ม. บิลฮาร์ซ อลัน
เจ. โนนิส อารอน
ดาร์เนล สก๊อต
เอส. ฟิชแมน นีล
เอ็ม. ดอร์ตี้ ทราซี่
Original Assignee
นายธีรพล สุวรรณประทีป
นางสาวสยุมพร สุจินตัย
Filing date
Publication date
Application filed by นายธีรพล สุวรรณประทีป, นางสาวสยุมพร สุจินตัย filed Critical นายธีรพล สุวรรณประทีป
Publication of TH71545A publication Critical patent/TH71545A/th
Publication of TH50998B publication Critical patent/TH50998B/th

Links

Abstract

DC60 สถาปัตยกรรมสำหรับการสร้างและการบำรุงรักษาการเชื่อมต่อบริการด้าน ปลายทาง จากลูกข่ายภายนอกไปยังลูกข่ายอินทราเน็ต ภายในที่อยู่ข้างหลังไฟร์วอร์และ/ หรือเราท์เตอร์ ในขั้น ตอนแรกผู้ใช้งานภายนอกจะมีการรับรองสิทธิหลังจากที่ลูกข่าย ภาย นอกผูกผ่านเข้าไปยังส่วนของผู้ใช้งานระยะไกล รายการของ คอมพิวเตอร์ภายในที่ปรากฏ ก็จะถูกนำเสนอให้แก่ผู้ใช้งานลูก ข่ายภายนอก การเลือกค่าเริ่มต้นหนึ่งในเซอร์ฟเวอร์ อินท ราเน็ต เพื่อที่จะสร้างช่องเสียบสำหรับการเฝ้าฟังขึ้นมา และช่องเสียบบนลูกข่ายภาย ในที่เลือกไว้ เซอร์ฟเวอร์ก็จะ สร้างธรีดขึ้นมาเพื่อจัดการเชื่อมต่อบริการด้านปลายทาง ระหว่างลูกข่ายภายนอกกับลูกข่ายภายใน โดยการ เฝ้าฟังการขนส่งข้อมูลและส่งต่อการขน ส่งข้อมูลระหว่างพอร์ต เหล่านั้น สถาปัตยกรรมสำหรับการสร้างและการบำรุงรักษาการเชื่อมต่อบริการด้าน ปลายทาง จากลูกข่ายภายนอกไปยังลูกข่ายอินทราเน็ต ภายในที่อยู่ข้างหลังไฟร์วอร์และ/ หรือเราท์เตอร์ ในขั้น ตอนแรกผู้ใช้งานภายนอกจะมีการรับรองสิทธิหลังจากที่ลูกข่าย ภาย นอกผูกผ่านเข้าไปยังส่วนของผู้ใช้งานระยะไกล รายการของ คอมพิวเตอร์ภายในที่ปรากฏ ก็จะถูกนำเสนอให้แก่ผู้ใช้งานลูก ข่ายภายนอก การเลือกค่าเริ่มต้นหนึ่งในเซอร์ฟเวอร์ อินท ราเน็ต เพื่อที่จะสร้างช่องเสียบสำหรับการเฝ้าฟังขึ้นมา และช่องเสียบบนลูกข่ายภาย ในที่เลือกไว้ เซอร์ฟเวอร์ก็จะ สร้างธรีดขึ้นมาเพื่อจัดการเชื่อมต่อบริการด้านปลายทาง ระหว่างลูกข่ายภายนอกกับลูกข่ายภายใน โดยการ เฝ้าฟังการขนส่งข้อมูลและส่งต่อการขน ส่งข้อมูลระหว่างพอร์ต เหล่านั้น

Claims (1)

1. ระบบที่อำนวยความสะดวกในการเชื่อมต่อระยะไกลกับคอมพิวเตอร์ที่อยู่ภาย นอกเราท์เตอร์ และ/หรือไฟร์วอร์ และ/หรืออินทราเน็ตที่มีระบบป้องกันให้กับคอมพิวเตอร์ ภาย ในที่เป็นส่วนหนึ่งของอินทราเน็ต ระบบประกอบไปด้วย ส่วนประกอบการร้องขอ ซึ่งจะรับเอาการร้องขอเชื่อมต่อระยะ ไกลกับคอมพิวเตอร์ ภายในอย่างน้อยหนึ่งตัวจากคอมพิวเตอร์ หลาย ๆ ตัวที่ปรากฎเป็นส่วนหนึ่งของอินทราเน็ต และ ส่วนประกอบการเชื่อมต่อที่ตอบสนองต่อการรับรองสิทธิการใช้ งานของการร้องขอ สร้าง ธรีดขึ้นมา เพื่อจัดการการเชื่อมต่อ เครือข่ายระหว่างพอร์ตช่องเสียบในการเฝ้าฟัง ของตัวเราท์ เตอร์ และ/หรือไฟร์วอร์ กับพอร์ตของคอมพิวเตอร์อย่างน้อย หนึ่งตัว ที่อย่าง น้อยก็มีการกำหนดให้อยู่ในส่วนหนึ่งของ การเชื่อมต่อเครือข่าย ส่วนประกอบการเชื่อมต่อ จะเฝ้าฟัง พอร์ตนี้อยู่ตลอดเวลา 2. ตามระบบในข้อถือสิทธิข้อที่ 1 ธรีดจะทำการส่งต่อข้อ ความที่เข้ามาจากพอร์ต ช่องเสียบไปยังพอร์ตคอมพิวเตอร์ 3. ตามระบบในข้อถือสิทธิข้อที่ 1 ธรีดจะทำการส่งต่อข้อ ความที่เข้ามาจากพอร์ต คอมพิวเตอร์ใปยังพอร์ตช่องเสียบ 4. ตามระบบในข้อถือสิทธิข้อที่ 1 การเชื่อมต่อก็จะเป็นการ เชื่อมต่อบริการด้าน ปลายทาง 5. ตามระบบในข้อถือสิทธิข้อที่ 1 การเชื่อมต่อก็จะเป็นการ เชื่อมต่อ TCP/IP 6. ตามระบบในข้อถือสิทธิข้อที่ 1 การร้องขอได้รับการมาจาก คอมพิวเตอร์ภายนอก 7. ตามระบบในข้อถือสิทธิข้อที่ 1 ส่วนประกอบการเชื่อมต่อ เป็นเซอร์ฟเวอร์ที่จัด วางไว้บนอินทราเน็ต 8. ตามระบบในข้อถือสิทธิข้อที่ 1 ส่วนประกอบการเชื่อมต่อ จะส่งค่าของพอร์ตคืน กลับไปที่คอมพิวเตอร์ภายนอกในรูปแบบของ URL 9. ตามระบบในข้อถือสิทธิข้อที่ 1 ส่วนประกอบการเชื่อมต่อ จะสร้างพอร์ตช่อง เสียบบนคอมพิวเตอร์ภายใน ซึ่งพอร์ตช่อง เสียบจะเป็นตัวกำหนดสำหรับบริการด้านปลาย ทาง 1 0. ตามระบบในข้อถือสิทธิข้อที่ 1 ส่วนประกอบการเชื่อมต่อ จะอ่านค่าหมายเลข พอร์ตของพอร์ตที่เกี่ยวข้องกันมาจากส่วน ของการลงทะเบียน และสร้างช่องเสียบในการ เฝ้าฟังบนพอร์ต 1 1. ตามระบบในข้อถือสิทธิข้อที่ 10 พอร์ตจะเปิดในตัวเราท์ เตอร์ และ/หรือ ไฟร์วอร์ 1 2. ตามระบบในข้อถือสิทธิข้อที่ 1 ส่วนประกอบการเชื่อมต่อ จะร่างรายการของ คอมพิวเตอร์ทั้งหลายที่ปรากฎขึ้นมา . 1 3. ตามระบบในข้อถือสิทธิข้อที่ 1 จำนวนคอมพิวเตอร์ทั้ง หลายที่ปรากฎ จะขึ้น อยู่กับการวางกรอบในตอนที่กำหนดเริ่ม ต้น 1 4. ตามระบบในข้อถือสิทธิข้อที่ 1 คอมพิวเตอร์ภายนอกเสนอ รายการ คอมพิวเตอร์ที่ปรากฎจำนวนหลาย ๆ ตัว สำหรับการเชื่อม ต่อ 1 5. ตามระบบในข้อถือสิทธิข้อที่ 1 คอมพิวเตอร์ภายนอกจะถูก จัดวางไว้บนเครือ ข่ายการสื่อสารทั้งหมด 1 6. ตามระบบในข้อถือสิทธิข้อที่ 1 การเชื่อมต่อ คอมพิวเตอร์ภายนอกจะวิ่งไปหา คอมพิวเตอร์ที่เป็นช่องทางของ ผู้ใช้งานระยะไกลโดยอัตโนมัติ ขึ้นอยู่กับการเลือกตัวเลือก ที่นำเสนอโดยส่วนประกอบการเชื่อมต่อซึ่งอยู่ในเซอร์ฟ เวอร์อินทราเน็ต 1 7. ตามระบบในข้อถือสิทธิข้อที่ 16 ช่องทางของผู้ใช้งาน ระยะไกลจะถูกจัดวางไว้ ภายนอกอินทราเน็ตบนเครือข่าวยการ สื่อสารทั้งหมด 1 8. ตามระบบในข้อถือสิทธิข้อที่ 16 ช่องทางของผู้ใช้งาน ระยะไกลจะเป็นการสร้าง เว็บไซต์ตลอดเวลาทั้งนี้ขึ้นอยู่กับ ข้อสนเทศของลูกข่ายภายนอก 1 9. ตามระบบในข้อถือสิทธิข้อที่ 18 ข้อสนเทศของลูกข่ายภาย นอกประกอบด้วย อย่างน้อยหนึ่งผู้ใช้งานที่ล็อกอินเข้ามา อย่างถูกต้อง การตั้งค่าคอมพิวเตอร์ของผู้ใช้ภาย นอก โปรแกรมประยุกต์ใช้งานที่ติดตั้งไว้บนคอมพิวเตอร์ภายนอก และการรับรองสิทธิของ ผู้ใช้งาน 2 0. ตามระบบในข้อถือสิทธิข้อที่ 1 ส่วนประกอบการเชื่อมต่อ จะจัดให้มีการรับรอง สิทธิ ของคอมพิวเตอร์ภายนอก 2 1. ตามระบบในข้อถือสิทธิข้อที่ 1 คอมพิวเตอร์ภายนอกจะถูก แจ้งให้ทำการติดตั้ง ซอฟท์แวร์ที่เข้ากันได้ ก่อนที่จะมีการ เข้าถึงคอมพิวเตอร์หลาย ๆ ตัวที่ปรากฎ 2 2. ตามระบบในข้อถือสิทธิข้อที่ 1 เซอร์ฟเวอร์อินทราเน็ต จะอำนวยความสะดวก ให้มีชั้นของช่องเสียบความปลอดภัย ขึ้น อยู่กับรากที่แท้จริง 2 3. ตามระบบในข้อถือสิทธิข้อที่ 1 ส่วนประกอบการเชื่อมต่อ จะส่งต่อการร้องขอ ซึ่งร้องขอโดยบริการด้านปลายทาง ผ่านทาง เราท์เตอร์ และ/หรือไฟร์วอร์ 2 4. ตามระบบในข้อถือสิทธิข้อที่ 1 ผู้ใช้งานของ คอมพิวเตอร์ภายนอกจะได้รับ ความช่วยเหลือในการเข้าถึง คอมพิวเตอร์ของช่องทางของผู้ใช้งานระยะไกล ถ้าเพียงแต่ว่า ผู้ใช้เป็นสมาชิกของกลุ่มที่ได้กำหนดไว้ในตอนเริ่มต้น 2 5. เครือข่ายตามข้อถือสิทธิข้อที่ 1 2 6. ระบบที่อำนวยความสะดวกในการเชื่อมต่อระยะไกลลูกข่าย ภายนอกที่อยู่ข้าง นอกอินทราเน็ต เข้ากับลูกข่ายภายในที่ เป็นส่วนหนึ่งของอินทราเน็ต ระบบประกอบไป ด้วย เซอร์ เวอร์อินทราเน็ตที่อยู่ข้างหลังไฟเวอร์และ/หรือเราท์ เตอร์ ที่รับการร้องขอใน การเข้าถึงพื้นที่ปฏิบัติงานระยะ ไกลของการเชื่อมต่อระยะไกลเข้ากับคอมพิวเตอร์ภายใน เซอร์ฟ เวอร์อินทราเน็ตจะสร้างธรีดขึ้นมาเพื่อจัดการการเชื่อมต่อ เครือข่ายระหว่างพอร์ต ช่องเสียบในการเฝ้าฟังของเซอร์ เวอร์อินทราเน็ต กับพอร์ตช่องเสียบภายในของ คอมพิวเตอร์ภาย ใน 2 7. ตามระบบในข้อถือสิทธิข้อที่ 26 ธรีดจะเฝ้าฟังการขนส่ง ข้อมูลจากทั้ง คอมพิวเตอร์ภายนอกและคอมพิวเตอร์ภายใน และส่ง ต่อการขนส่งข้อมูลระหว่างพอร์ตเฝ้า ฟังกับพอร์ตภายใน 2 8. ตามระบบในข้อถือสิทธิข้อที่ 26 การเชื่อมต่อเครือข่าย กระทำบนพื้นฐานของ โพรโตคอล TCP/IP 2 9. ตามระบบในข้อถือสิทธิข้อที่ 26 เซอร์ฟเวอร์อินทราเน็ต จะร่างรายการของ คอมพิวเตอร์ทั้งหลายที่ปรากฎบนอินทราเน็ต ขึ้นมา โดยเอามาจากเครื่องคอมพิวเตอร์ภาย ในที่ได้รับการ เลือก 3 0. ตามระบบในข้อถือสิทธิข้อที่ 26 เซอร์ฟเวอร์อินทราเน็ต จะผ่านค่าสำหรับ พอร์ตการเฝ้าฟังให้แก่ลูกข่ายภายนอกในรูป แบบของ URL ในการตอบสนองต่อธรีดที่ กำลังจะเริ่มต้นทำงาน 3 1. ตามระบบในข้อถือสิทธิข้อที่ 26 ลูกข่ายภายนอกก็จะรับ ค่าสำหรับพอร์ตเฝ้า ฟังมาจากเซอร์ฟเวอร์อินทราเน็ตในรูปแบบ ของ URL 3 2. ตามระบบในข้อถือสิทธิข้อที่ 26 เซอร์ฟเวอร์อินทราเน็ต จะสร้างช่องเสียบไว้ บนลูกข่ายภายในที่ซึ่งได้มีการกำหนดไว้ สำหรับการเชื่อมต่อพื้นที่ปฏิบัติงานระยะไกล 3 3. ตามระบบในข้อถือสิทธิข้อที่ 26 ยังประกอบไปด้วยพอร์ต เดี่ยวภายนอกซึ่งจับ คู่กับหลาย ๆ พอร์ตของคอมพิวเตอร์ภายใน หลาย ๆ เครื่อง 3 4. ตามระบบในข้อถือสิทธิข้อที่ 26 การเชื่อมต่อพื้นที่ ปฏิบัติงานระยะไกล ประกอบไปด้วย การเชื่อมต่อบริการด้านปลาย ทางอย่างน้อยหนึ่งอัน และการเชื่อมต่อ X- Windows 3 5. วิธีของการเชื่อมต่อระยะไกลของคอมพิวเตอร์ภายนอกเข้า กับคอมพิวเตอร์ ภายในที่เป็นส่วนหนึ่งของอินทราเน็ต ระบบ ประกอบไปด้วย การรับคำร้องขอเชื่อมต่อระยะไกลกับคอมพิวเตอร์ภายใน การประมวลผลการร้องขอผ่านทางเร้าท์เตอร์และ / หรือไฟร์ วอร์ เพื่อเชื่อมต่อ คอมพิวเตอร์ภายนอกกับคอมพิวเตอร์ภายใน และ การตอบสนองต่อการรับรองสิทธิในการร้องขอ สร้างธรีดขึ้นมา จัดการการเชื่อมต่อ เครือข่ายระหว่าง พอร์ตช่องเสียบการเฝ้า ฟัง กับพอร์ตภายในของคอมพิวเตอร์ภายในที่ได้ มีการกำหนดไว้ เป็นอย่างน้อยส่วนหนึ่งสำหรับการเชื่อมต่อเครือข่าย 3 6. วิธีของการในข้อถือสิทธิข้อที่ 35 ยังประกอบไปด้วยการ เปิดและการปิดแบบ ตลอดเวลาของพอร์ตเฝ้าฟังและพอร์ตภายใน โดย การใช้งานธรีด 3 7. วิธีของการในข้อถือสิทธิข้อที่ 35 ยังประกอบไปด้วยการ ส่งต่อการขนส่งข้อมูล ระหว่างพอร์ตเฝ้าฟังและพอร์ตภายใน โดย การใช้งานธรีด 3 8. วิธีของการในข้อถือสิทธิข้อที่ 35 การเชื่อมต่อเครือ ข่ายอยู่บนพื้นฐานของ โพรโตคอล TCP/IP 3 9. วิธีของการในข้อถือสิทธิข้อที่ 35 ยังประกอบไปด้วย การร่างรายการคอมพิวเตอร์ทั้งหลายที่ปรากฎบนอินทราเน็ตที่ ซึ่งคอมพิวเตอร์ ภายในได้รับการเลือก และ การนำเสนอรายการที่ร่างให้แก่ผู้ใช้งานของคอมพิวเตอร์ภาย นอก 4 0. วิธีของการในข้อถือสิทธิข้อที่ 35 ยังประกอบไปด้วย เริ่มต้นใช้งานธรีด ผ่านค่าสำหรับพอร์ตเฝ้าฟังให้กับคอมพิวเตอร์ภายนอกในรูป แบบของ URL และ เปิดพอร์ตในคอมพิวเตอร์ภายนอกเมื่อได้รับ URL แล้ว 4 1. วิธีของการในข้อถือสิทธิข้อที่ 35 การร้องขอจะรับมา จากคอมพิวเตอร์ภาย นอกอย่างน้อยหนึ่งเครื่อง และเซอร์ฟ เวอร์อินทราเน็ตที่ส่งต่อคำร้องนั้นด้วย 4 2. วิธีของการในข้อถือสิทธิข้อที่ 35 ยังประกอบไปด้วยการ เปิดพอร์ตเดียวกันบน เราท์เตอร์และ/หรือไฟร์วอร์ เพื่อ เป็นพอร์ตเฝ้าฟัง 4 3. วิธีของการในข้อถือสิทธิข้อที่ 35 ยังประกอบไปด้วยการ วิ่งเข้าไปหาแบบ อัตโนมัติของคอมพิวเตอร์ภายนอกไปยังส่วนการ เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ผู้ใช้ระยะไกล ที่เปิด เผยไว้บนเครือ ข่ายการสื่อสารหลัก และมีการสร้างเว็บไวต์แบบตลอดเวลาที่ อยู่บนพื้นฐาน ของการตั้งค่าของคอมพิวเตอร์ภายนอก 4 4. วิธีของการในข้อถือสิทธิข้อที่ 35 การรับรองสิทธิจัด ให้มีขึ้นโดยเซอร์ฟเวอร์ อินทราเน็ต ก่อนที่จะมีการวิ่งไปหา คอมพิวเตอร์ภายนอกในส่วนการเชื่อมต่อผู้ใช้ระยะไกล 4 5. ระบบที่อำนวยความสะดวกในการเชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ภาย นอกกับ คอมพิวเตอร์ภายในที่เป็นส่วนหนึ่งของอินทราเน็ต ระบบ ประกอบด้วย วิถีทางสำหรับการรับคำร้องขอการเชื่อมต่อระยะไกลเข้ากับ คอมพิวเตอร์ภายใน วิถีทางสำหรับการประมวลผลคำร้องผ่านทางเราท์เตอร์และ/ หรือไฟร์วอร์ เพื่อ เชื่อมต่อคอมพิวเตอร์ภายนอกกับ คอมพิวเตอร์ภายใน วิถีทางสำหรับการสร้างธรีดขึ้นมาเพื่อจัดการการเชื่อมต่อ เครือข่ายระหว่างพอร์ต ช่องเสียบการเฝ้าฟังกับพอร์ตภายในของ คอมพิวเตอร์ภายในที่มีการกำหนดไว้อย่างน้อย เป็นส่วนหนึ่ง ของการเชื่อมต่อเครือข่าย และ วิถีทางสำหรับการเปิดและการปิดพอร์ตการเฝ้าฟังและพอร์ตภาย ใน แบบตลอด เวลา 4 6. ส่วนการติดต่อกับผู้ใช้งานแบบกราฟฟิกส์ ที่อำนวยความ สะดวกในบริการด้าน ปลายทางระหว่างคอมพิวเตอร์ภายนอกกับ คอมพิวเตอร์ภายใน ส่วนการติดต่อประกอบ ด้วย ส่วนประกอบอินพุทสำหรับการรับข้อสนเทศในการจัดการ ข้อ สนเทศในการจัดการ นี้มีส่วนร่วมกับการเชื่อมต่อระยะไกลของ คอมพิวเตอร์ภายนอกกับคอมพิวเตอร์ภายใน ผ่าทางเราท์เตอร์และ /หรือไฟร์วอร์ และ ส่วนประกอบการนำเสนอสำหรับนำเสนอข้อสนเทศในการจัดการ เพื่ออำนวย ความสะดวกในการโต้ตอบกับผู้ใช้งาน 4 7. ส่วนการติดต่อในข้อถือสืทธิข้อที่ 46 ข้อสนเทศการจัด การประกอบด้วย ฟังก์ ชั่นการเข้าสู่ระบบสำหรับผู้ใช้งานของ คอมพิวเตอร์ภายนอก 4 8. ส่วนการติดต่อในข้อถือสืทธิข้อที่ 46 ข้อสนเทศการจัด การประกอบด้วยไฮ เปอร์ลิงค์ ดังนั้นผู้ใช้งานของคอมพิวเตอร์ ภายนอกอาจจะถูกนำทางไปที่เว็บไซต์ภายใน อย่างน้อยหนึ่งแห่ง ส่วนของผู้ใช้งานระยะไกล และบัญชีของจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ 4 9. ส่วนการติดต่อในข้อถือสืทธิข้อที่ 46 ข้อสนเทศการจัด การประกอบด้วยฟังก์ ชั่นเกี่ยวกับการดูแลระบบที่เข้าถึง โดยไฮเปอร์ลิงค์ ในการเข้าไปดูแลระบบอย่างน้อยหนึ่ง พื้นที่ ปฏิบัติงานบนเซอร์ฟเวอร พื้นที่ปฏิบัติงานลูกข่าย พื้นที่ ปฏิบัติงานแสดงส่วนช่วย เหลือ และเว็บไซต์ภายใน 5 0. ส่วนการติดต่อในข้อถือสืทธิข้อที่ 46 ข้อสนเทศการจัด การประกอบด้วยฟังก์ ชั่นเกี่ยวกับการดูแลระบบที่เข้าถึง โดยไฮเปอร์ลิงค์ที่ตรงกัน ในการมองอย่างน้อยก็ บัญชี ของจด หมายอิเล็กทรอนิกส์ รายงานผลการใช้งาน และรายงาน ประสิทธิภาพ 5
1. ส่วนการติดต่อในข้อถือสืทธิข้อที่ 46 ข้อสนเทศการจัด การประกอบด้วยร่าง รายการของคอมพิวเตอร์ภายในที่ปรากฏขึ้น สำหรับการเชื่อมต่อ ร่างรายการจะนำเสนอ โดยส่วนประกอบของการ นำเสนอให้กับผู้ใช้งานของคอมพิวเตอร์ภายนอก
TH401001996A 2004-06-01 สถาปัตยกรรมสำหรับการเชื่อมต่อลูกข่ายจากระยะไกลเข้ากับพื้นที่ปฏิบัติงานของลูกข่ายท้องถิ่น TH50998B (th)

Publications (2)

Publication Number Publication Date
TH71545A true TH71545A (th) 2005-10-27
TH50998B TH50998B (th) 2016-08-30

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
US8495155B2 (en) Enterprise management of public instant message communications
EP1676418B1 (en) Methods and devices for sharing content on a network
CA2467876A1 (en) Architecture for connecting a remote client to a local client desktop
US6311275B1 (en) Method for providing single step log-on access to a differentiated computer network
CN103188207B (zh) 一种跨域的单点登录实现方法及系统
CN101420455A (zh) 反向http网关数据传输系统和/或方法及其网络
JP2007200316A (ja) ネットワーク通信システムおよびネットワーク・サーバとクライアント・デバイスの間に、コンピュータネットワークを通じてセキュアな通信リンクを確立する方法
US7752322B2 (en) System for ubiquitous network presence and access without cookies
CN101212374A (zh) 实现校园网资源远程访问的方法和系统
CA2372647A1 (en) System and method for administrating a wireless communication network
US20060143301A1 (en) Systems and methods for establishing and validating secure network sessions
MX2007010921A (es) Metodo para comunicacion entre una aplicacion y un cliente.
CN101582856A (zh) 一种门户服务器与宽带接入设备的会话建立方法及其系统
JP2009163546A (ja) ゲートウェイ、中継方法及びプログラム
EP1661011B1 (en) Communications system providing enhanced client-server communications and related methods
US6785705B1 (en) Method and apparatus for proxy chaining
US20060265506A1 (en) Systems and methods for establishing and validating secure network sessions
US20040059797A1 (en) System and method for enabling a web user to control network services
EP1605667A2 (en) Controlled firewall penetration for management of discrete devices
CN1538706A (zh) 一种用于web认证的http重定向方法
CN102202071A (zh) 基于msn的网络视频监控方法及系统
US7519812B2 (en) Architecture and design for central authentication and authorization in an on-demand utility environment
JP2003316742A (ja) シングルサインオン機能を有する匿名通信方法および装置
WO2011023228A1 (en) Identity management system
CN102035903B (zh) 结合式信息处理系统