TH62459A - กระบวนการสกัดที่ไม่ใช้ตัวทำละลาย - Google Patents

กระบวนการสกัดที่ไม่ใช้ตัวทำละลาย

Info

Publication number
TH62459A
TH62459A TH101000224A TH0101000224A TH62459A TH 62459 A TH62459 A TH 62459A TH 101000224 A TH101000224 A TH 101000224A TH 0101000224 A TH0101000224 A TH 0101000224A TH 62459 A TH62459 A TH 62459A
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
acid
microorganisms
lipids
mixtures
omega
Prior art date
Application number
TH101000224A
Other languages
English (en)
Other versions
TH69615B (th
Inventor
เอ็ม. เร็คเกอร์ เคร็ก
แพททริค อดู-พีซาห์ สวิเดน
เอส. เอ็นเกลฮาร์ด ไบร์อัน
ที.วีเดอร์ จอร์จ
ไอไอไอ
Original Assignee
นายมนูญ ช่างชำนิ
นายอัครวิทย์ กาญจนโอภาษ
นางสาวสุวดี ศิริชีพชัยยันต์
Filing date
Publication date
Application filed by นายมนูญ ช่างชำนิ, นายอัครวิทย์ กาญจนโอภาษ, นางสาวสุวดี ศิริชีพชัยยันต์ filed Critical นายมนูญ ช่างชำนิ
Publication of TH62459A publication Critical patent/TH62459A/th
Publication of TH69615B publication Critical patent/TH69615B/th

Links

Abstract

DC60 (18/04/44) การประดิษฐ์นี้ทำให้มีวิธีการสำหรับสกัดลิปิดจากจุลินทรีย์ โดยไม่ใช้ตัวทำละลาย อินทรีย์ที่ไม่โพลาร์เป็นตัวทำละลายของการสกัด โดยเฉพาะอย่างยิ่งการประดิษฐ์นี้ ทำให้มีวิธีการ สร้างสกัดลิปิดจากจุลินทรีย์ โดยการสลายเซล และการเอาสาร และ/หรือ วัสดุที่ละลายน้ำได้ออก โดยการล้างของผสมของเซลล์ที่สลายแล้วด้วยสารละลายล้างที่มีน้ำเป็นตัวกลาง จนกระทั่งได้ลิปิด ที่จัดว่าไม่เป็นอีมัลชัน การประดิษฐ์นี้ทำให้มีวิธีการสำหรับสกัดลิปิดจากจุลินทรีย์ โดยไม่ใช้ตัวทำละลาย อินทรีย์ที่ไม่โพลาร์เป็นตัวทำละลายของการสกัด โดยเฉพาะอย่างยิ่งการประดิษฐ์นี้ ทำให้มีวิธีการ สร้างสกัดลิปิดจากจุลินทรีย์ โดยการสลายเซล และการเอาสาร และ/หรือ วัสดุที่ละลายน้ำได้ออก โดยการล้างของผสมของเซลที่สลายแล้วด้วยสารละลายล้างที่มีน้ำเป็นตัวกลาง จนกระทั่งได้ลิปิด ที่จัดว่าไม่เป็นอีมัลซัน

Claims (5)

ข้อถือสิทธฺ์ (ทั้งหมด) ซึ่งจะไม่ปรากฏบนหน้าประกาศโฆษณา :แก้ไข 30/08/2561 ข้อถือสิทธิไม่มี ----------------------------------------------------------------------------- แก้ไขด่วน 24/8/61 ข้อถือสิทธิ 1. กระบวนการสำหรับเตรียมลิปิดจากจุลินทรีย์ ซึ่งประกอบด้วย (a) การสลายเซลล์ของจุลินทรีย์เพื่อผลิตของผสมของเซลล์ที่สลายแล้ว (b) การทำกรรมวิธีแก่ของผสมของเซลล์ที่สลายแล้ว เพื่อผลิตของผสมแยกเฟสที่ประกอบด้วย ชั้นวัสดุหนัก และชั้นวัสดุเบา ซึ่งชั้นวัสดุหนักดังกล่าวประกอบด้วยสารละลายในตัวกลางที่ เป็นน้ำ และชั้นวัสดุเบาดังกล่าวประกอบด้วยลิปิดดังกล่าว (c) การแยกชั้นวัสดุหนักดังกล่าวจากชั้นวัสดุเบาดังกล่าว และ (d) การเตรียมลิปิดดังกล่าวจากชั้นวัสดุเบาดังกล่าว ----------------------------------------------------- แก้ไข 25/10/2559 7 4. กระบวนการของข้อถือสิทธิที่ 65 ซึ่งการทำกรรมวิธีดังกล่าวรวมถึงการทำกรรมวิธีที่เลือกได้ จากกลุ่มที่ประกอบด้วยการให้ความร้อนและเซลดังกล่าว, การเผยสัมผัสเซลดังกล่าวกับสารที่เป็นเบส , การเผยสัมผัสเซลดังกล่าวกับสารที่เป็นเบส, การเผยสัมผัสเซลดังกล่าวกับสารคีเลท หรือการทำกรรมวิธี เหล่านี้รวมกัน 7 5. กระบวนการของข้อถือสิทธิที่ 65 ซึ่งการทำกรรมวิธีดังกล่าวประกอบด้วยการให้ความร้อน แก่เซลจนถึงอุณหภูมิอย่างน้อย 50 องศาเซลเซียสก่อน, ในระหว่าง หรือกลังการเผยสัมผัสเซลกับสารที่เป็น เบส, สารคีเลท หรือของผสมของสารเหล่านี้ 7 6. กระบวนการของข้อถือสิทธิที่ 65 ซึ่งการแยกด้วยแรงโน้มถ่วงของขั้นตอน (c) ประกอบด้วย การนำอาหารเลี้ยงเชื้อที่ประกอบด้วยลิปิดภายในเซลที่ถูกปลดปล่อยแล้วไปผ่านเครื่องเหวี่ยงหนีศูนย์กลาง แบบจานซ้อน, แบบเครื่องแยก ห่รือแบบรินของเหลวออก 7 7. กระบวนการของข้อถือสิทธิที่ 65 ซึ่งการทำกรรมวิธีของขั้นตอนเพื่อสลายอีมัลชัน ประกอบด้วยการผสม อีมัลชันกับน้ำ, อัลกอฮอล์ และ/หรอ อาซีโตน และการนำของผสมเข้าสู่การแยก ด้วยแรงโน้มถ่วง 7 8. กระบวนการของข้อถือสิทธิที่ 77 ซึ่งการแยกด้วยแรงโน้มถ่วงดังกล่าวประกอบด้วยการเหวี่ยง หนีศูนย์กลาง 7 9. กระบวนการของข้อถือสิทธิที่ 78 ซึ่งการเหวี่ยงหนีศูนย์กลางดังกล่าวรวมถึงการทำกรรมวิธี ในเครื่องเหวี่ยงหนีศูนย์กลางแบบจานซ้อน, แบบเครื่องแยก หรอแบบรินของเหลวออก 8 0. กระบวนการของข้อถือสิทธิที่ 77 ซึ่งการทำกรรมวิธีดังกล่าวได้รับการทำซ้ำอย่างน้อย สามครั้งเพื่อให้ได้ลิปิดที่ยังไม่บริสุทธิ์ดังกล่าว 8 1. กระบวนการของข้อถือสิทธิที่ 65 ซึ่งลิปิดที่ยังไม่บริสุทธิ์ดังกล่าวถูกนำเข้าสู่การทำให้บริสุทธิ์ หรือการดำเนินกระบวนการเพิ่มเติม เพื่อให้ได้ลิปิดที่ทำให้บริสุทธิ์แล้ว 8 2. กระบวนการของข้อถือสิทธิที่ 81 ซึ่งลิปิดที่ยังไม่บริสุทธิ์ดังกล่าวได้รับการฟอกสี และกำจัด กลิ่น 8 3. ลิปิดที่ได้รับการทำขั้นโดยกระบวนการของข้อถือสิทธิที่ 1-82 ข้อใดข้อหนึ่ง 8 4. ลิปิดของข้อถือสิทธิที่ 83 ที่ซึ่งลิปิดดังกล่าวได้มาจากจุลินทรีย์ที่มีตัวทำละลายอินทรีย์ ที่ไม่โพลาร์หลงเหลืออยู่น้อยกว่า 0.2 ppm 8 5. ลิปิดของข้อถือสิทธิที่ 83 หรือ 84 ที่ประกอบรวมด้วย โคเลสเตอรอล, ไฟโตสเตอรอล, เดสโมลเตอรอล, ไทโคไตรอีนอล, โทโคเฟอรอล, ยูบิควิโนน, แคโรทีนอยด์ และแซนโธฟีล ได้แก่ เบตา- แคโรทีน, ลูเทอิน, ไลโคปิน, แอสตาแซนธิน, ซีอาแซนธิน, แคนธาแซนธิน และกรดไขมัน ได้แก่ กรดลิโนเลอิล ชนิดคอนจูเกต และกรดไขมันที่ไม่อิ่มตัวอย่างสูงประเภทโอเมกา-3 และโอเมกา-6 ได้แก่ กรดไอโคซาเพนตา อีโนอิค, กรดโดโคซาเพนตาอีโนอิค และกรดโดโคซาเฮกซาอีโนอิค, กรดอารัคคิโดนิค, กรดลเตียริคโดนิค, กรดไดโฮโมแกมมาลิโนเลนิค และกรดแกมมา-ลิโนเลอิค หรือของผสมของสารเหล่านี้มากกว่า 15 เปอร์เซ็นต์ ที่มีตัวทำละลายอินทรีย์ที่ไม่โพลาร์หลงเหลือน้อยกว่า 0.2 ppm 8 6. ลิปิดของข้อถือสิทธิที่ 83 - 85 ข้อใดข้อหนึ่ง ที่ประกอบด้วยกรดโดโคซาเฮกซาอีโนอิค มากกว่า 15 เปอร์เซ็นต์ และมีตัวทำละลายอินทรีย์ที่ไม่โพลาร์หลงเหลือน้อยกว่า 0.2 ppm ---------------------------- 1. กระบวนการสำหรับเตรียมลิปิดจากจุลินทรีย์ ซึ่งประกอบด้วย (a) การสลายเซลของจุลินทรีย์เพื่อผลิตของผสมของเซลที่สลายแล้ว (b) การทำกรรมวิธีแก่ของผสมของเซลที่สลายแล้ว เพื่อผลิตของผสมแยกเฟส ที่ประกอบด้วยชั้นวัสดุหนัก และชั้นวัสดุเบา ซึ่งชั้นวัสดุหนักดังกล่าวประกอบด้วยสารละลายใน ตัวกลางที่เป็นน้ำ และชั้นวัสดุเบาดังกล่าวประกอบด้วยลิปิดดังกล่าว (c) การแยกชั้นวัสดุหนักดังกล่าวจากชั้นวัสดุเบาดังกล่าว และ (d) การเตรียมลิปิดดังกล่าวจากชั้นวัสดุเบาดังกล่าว 2. กระบวนการของข้อถือสิทธิที่ 1 ซึ่งขั้นตอน (b) ดังกล่าว ประกอบด้วย การนำของผสมชองเซลที่สลายแล้วดังกล่าวไปเหวี่ยงหนีศูนย์กลาง 3. กระบวนการของข้อถือสิทธิที่ 2 ซึ่งชั้นวัสดุเบาดังกล่าวประกอบด้วยลิปิด ที่เป็นอีมัลชัน 4. กระบวนการของข้อถือสิทธิที่ 3 ซึ่งมีส่วนเพิ่มเติมที่ประกอบด้วย (e) การเติมสารละลายของการสกัดที่มีน้ำเป็นตัวกลางลงไปยังชั้นวัสดุเบา ดังกล่าวของขั้นตอน (c) และ (f) การทำขั้นตอน (c), (d) และ (e) ดังกล่าวซ้ำจนกระทั่งลิปิดดังกล่าว เปลี่ยนแปลงไปเป็นรูปที่จัดว่าไม่เป็นอีมัลชันก่อนถึงขั้นตอน (d) ดังกล่าว 5. กระบวนการของข้อถือสิทธิที่ 3 ซึ่งลิปิดที่เป็นอิมันชั่นดังกล่าว ประกอบด้วยสารแขวนลอยของลิปิดดังกล่าวในสารละลายที่มีน้ำเป็นตัวกลาง 6. กระบวนการของข้อถือสิทธิที่ 1 ซึ่งสารละลายที่มีน้ำเป็นตัวกลางดังกล่าว ประกอบด้วยวัสดุที่เป็นของแข็งของเซล 7. กระบวนการของข้อถือสิทธิที่ 1 ซึ่งจุลินทรีย์ดังกล่าวได้รับการเตรียมขึ้น จากกระบวนการหมัก 8. กระบวนการของข้อถือสิทธิที่ 7 ซึ่งมีส่วนเพิ่มเติมที่ประกอบด้วยการเติม เบสลงไปยังอาหารเหลวของการหมัก 9. กระบวนการของข้อถือสิทธิที่ 8 ซึ่งเบสดังกล่าวเลือกได้จากกลุ่มที่ ประกอบด้วยไฮดรอกไซด์, คาร์บอเนท, ไบคาร์บอเนท, ฟอสเฟต และของผสมของสารเหล่านี้ 1 0. กระบวนการของข้อถือสิทธิที่ 7 ซึ่งมีส่วนเพิ่มเติมที่ประกอบด้วย การละลายอย่างน้อยส่วนหนึ่งของสารประเภทโปรตีนในอาหารเหลวของการหมัก 1 1. กระบวนการของข้อถือสิทธิที่ 1 ซึ่งขั้นตอน (a) ดังกล่าวประกอบด้วย การให้ความร้อนแก่จุลินทรีย์ดังกล่าวจนถึงอุณหภูมิอย่างน้อยประมาณ 50 องศาเซลเซียส 1 2. กระบวนการของข้อถือสิทธิที่ 1 ซึ่งจุลินทรีย์ดังกล่าวสามารถเจริญได้ ที่ระดับความเค็มต่ำกว่าประมาณ 12 กรัม/ลิตรของโซเดียมคลอไรด์ 1 3. กระบวนการของข้อถือสิทธิที่ 1 ซึ่งจุลินทรีย์ดังกล่วประกอยด้วยลิปิด อย่างน้อยประมาณ 20 เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนัก 1 4. กระบวนการของข้อถือสิทธิที่ 1 ซึ่งจุลินทรีย์ดังกล่าวเลือกได้จากกลุ่ม ที่ประกอบด้วยสาหร่าย, เชื้อรา, แบคทีเรีย และโปรติสท์ 1 5. กระบวนการของข้อถือสิทธิที่ 14 ซึ่งจุลินทรีย์ดังกล่าวประกอบด้วย จุลินทรีย์ในออร์เดอร์ Thraustochytriales 1 6. กระบวนการของข้อถือสิทธิที่ 15 ซึ่งจุลินทรีย์ดังกล่าวเลือกได้จากสกุล Thraustochytrium, Schizochytrium และของผสมของจุลินทรีย์เหล่านี้ 1 7. กระบวนการของข้อถือสิทธิที่ 16 ซึ่งจุลินทรีย์ดังกล่าวเลือกได้จากกุล่ม ที่ประกอบด้วยจุลินทรีย์ที่มีลักษณะเฉพาะของการบ่งชี้ชนิดที่เป็น ATCC หมายแลข 20888, ATCC หมายเลข 20889, ATCC หมายเลข 20890, ATCC หมายเลข 20891 และ ATCC หมายเลข 20892 สายพันธุ์กลายที่ได้มาจากจุลินทรีย์ใดๆ ของจุลินทรีย์ข้างต้น และของผสมของจุลินทรีย์ เหล่านี้ 1 8. กระบวนการของข้อถือสิทธิที่ 1 ซึ่งจุลินทรีย์สามารถผลิตโคเลสเตอรอล, ไฟโตสเตอรอล, เดสโมสเตอรอล, โทโคไตรอีนอล, โทโคเฟอรอล, ยูบิควินโนน, แคโรทีนอยด์ และ แซนโธฟีล เช่น เบตา-แคโรทีน, ลูเทอิน, ไลโคปิน, แอสตาแซนธิน, ซีอาแซนธิน, แคนธาแซนธิน และกรดไขมัน เช่นกรดลิโนเลอิคชนิดคอนจูเกต และกรดไขมันไม่อิ่มตัวอย่างสูง ประเภทโอเมกา-3 และโอเมกา-6 เช่น กรดไอโคซาเพนตาอีโนอิค, กรดโดโคซาเพนตาอีโนอิค และกรดโดโคซา เฮกซาอีโนอิค, กรดอารัคคิโดนิค, กรดสเตียริโดนิค, กรดไดโฮโมแกมมาลิดนเลนิค และกรดแกมมา- ลิโนเลนิค หรือของผสมของสารเหล่านี้ อย่างน้อยประมาณ 0.1 กรัมต่อลิตรต่อชั่วโมง 1 9. กระบวนการของข้อถือสิทธิที่ 1 ซึ่งอย่างน้อยประมาณ 20 เปอร์เซ็นต์ของ ลิปิดดังกล่าวเป็นโคเลสเตอรอล, ไฟโตสเตอรอล, เดสโมสเตอรอล, โทโคไตรอีนอล, โทโคเฟรอล, ยูบิควินโนน, แคโรทีนอยด์ และแซนโธฟีล, เช่น เบตา-แคโรทีน, ลูเทอิน, ไลโคปีน, แอสตาแซนธิน, ซีอาแซนธิน, แคนธาแซนธิน และกรดไขมัน เช่นกรดลิโนเลอิคชนิดคอนจูเกต และกรดไขมัน ไม่อิ่มตัวอย่างสูงประเภทโอเมกา-3 และ โอเมกา-6 เช่น กรดไอโคซาเพนตาอีโนอิค กรดโดโคซา เพนตาอีโนอิค, และกรดโดโคซาเฮกซาอีโนอิค, กรดอารัคคิโดนิค, กรดสเตียริโดนิค, กรดไดโฮโม แกมมาลิโนเลนิค และกรดแกมมา- ลิโนเลนิค หรือของผสมของสารเหล่านี้ 2 0. กระบวนการสำหรับเตรียมลิปิดจากจุลินทรีย์ที่ประกอบด้วย: (a) การเลี้ยงจุลินทรีย์ดังกล่าวในอาหารเลี้ยงของการหมักเพื่อผลิตอาหารเหลว ของการหมัก (b) การละลายอย่างน้อยส่วนหนึ่งของโปรตีนใดๆ ที่มีอยู่ในอาหารเหลวของ การหมัก ดังกล่าว (c) การสลายเซลของจุลินทรีย์ดังกล่าว เพื่อผลิตของผสมของเซลที่สลายแล้ว (d) การทำกรรมวิธีให้แก่ของผสมของเซลที่สลายแล้ว เพื่อผลิตของผสมแยก เฟสที่ประกอบด้วยชั้นวัสดุหนัก และชั้นวัสดุเบา ซึ่งชั้นวัสดุหนักดังกล่าวประกอบด้วยสารละลาย ที่มีน้ำเป็นตัวกลาง และชั้นวัสดุเบาดังกล่าวประกอบด้วยลิปิดที่เป็นอีมัลชัน (e) การแยกชั้นวัสดุหนักดังกล่าวจากชั้นวัสดุเบาดังกล่าว และ (f) การเตรียมลิปิดดังกล่าวจากชั้นวัสดุเบาดังกล่าว 2 1. กระบวนการของข้อถือสิทธิที่ 20 ซึ่งขั้นตอนของการละลายโปรตีน ดังกล่าวประกอบด้วยการสัมผัสอาหารเหลวของการหมักดังกล่าวกับเบส 2 2. กระบวนการของข้อถือสิทธิที่ 21 ซึ่งเบสดังกล่าวเลือกได้จากกลุ่ม ที่ประกอบด้วยไฮดรอกไซด์, คาร์บอเนท, ไบคาร์บอเนท, ฟอสเฟต และของผสมของสารเหล่านี้ 2 3. กระบวนการของข้อถือสิทธิที่ 20 ซึ่งขั้นตอนการของการสลายเซลดังกล่าว ประกอบด้วนการให้ความร้อนแก่จุลินทรีย์ดังกล่าวจนถึงอุณหภูมิอย่างน้อยประมาณ 50 องศาเซลเซียส 2 4. กระบวนการของข้อถือสิทธิที่ 20 ซึ่งขั้นตอนของการผลิตของผสม แยกเฟสดังกล่าว ประกอบด้วยการนำของผสมของเซลที่สลายแล้วดังกล่าวไปเหวี่ยงหนีศูนย์กลาง 2 5. กระบวนการของข้อถือสิทธิที่ 20 ซึ่งขั้นตอนดังกล่าวของการเตรียมลิปิด ดังกล่าวจากชั้นวัสดุเบาดังกล่าวประกอบด้วสย : (a) การเติมสารละลายของการล้างที่มีน้ำเป็นตัวกลางลงไปยังชั้นวัสดุเบา ดังกล่าว (b) การแยกสารละลายของการล้างที่มีน้ำเป็นตัวกลางดังกล่าวจากชั้นวัสดุเบา ดังกล่าว และ (c) การทำขั้นตอน (A) และ (B) ดังกล่าว ซ้ำจนกระทั้งลิปิดดังกล่าว เปลี่ยนแปลงไปเป็นรูปที่จัดว่าไม่เป็นอีมัลชัน 2 6. กระบวนการของข้อถือสิทธิที่ 20 ซึ่งสารละลายที่มีน้ำเป็นตัวกลางดังกล่าว ประกอบด้วยวัสดุที่เป็นของแข็งของเซล 2 7. กระบวนการของข้อถือสิทธิที่ 20 ซึ่งจุลินทรีย์ดังกล่าวสามารถเจริญได้ ที่ระดับความเค็มต่ำกว่าประมาณ 12 กรัม/ลิตรของโซเดียมคลอไรด์ 2 8. กระบวนการของข้อถือสิทธิที่ 20 ซึ่งจุลินทรีย์ดังกล่าวประกอบด้วยลิปิด อย่างน้อยประมาณ 20 เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนัก 2 9. กระบวนการของข้อถือสิทธิที่ 20 ซึ่งจุลินทรีย์ดังกล่าวเลือกได้จากกลุ่มที่ ประกอบด้วยสาหร่าย, เชื้อรา, แบคทีเรีย และโปรติสท์ 3 0. กระบวนการของข้อถือสิทธิที่ 29 ซึ่งจุลินทรีย์ดังกล่าวประกอบด้วย จุลินทรีย์ในออร์เดอร์ Thaustochytriales 3 1. กระบวนการของข้อถือสิทธิที่ 30 ซึ่งจุลินทรีย์ดังกล่าวเลือกได้จากสกุล Thaustochytriales, Schizochytrium และของผสมของจุลินทรีย์เหล่านี้ 3 2. กระบวนการของข้อถือสิทธิที่ 31 ซึ่งจุลินทรีย์ดังกล่าวเลือกได้จากกลุ่มที่ ประกอบด้วยจุลินทรีย์ที่มีลักษณะเฉพาะของการบ่งชี้ชนิดที่เป็น ATCC หมายเลข 20888, ATCC หมายเลข 20889, ATCC หมายเลข 20890, ATCC หมายเลข 20891 และ ATCC หมายเลข 20892, สายพันธุ์กลายที่ได้มาจากจุลินทรีย์ใดๆ ของจุลินทรีย์ข้างต้น และของผสมของจุลินทรีย์ เหล่านี้ 3 3. กระบวนการของข้อถือสิทธิที่ 20 ซึ่งจุลินทรีย์สามารถผลิตโคเลสเตอรอล, ไฟโตสเตอรอล, เดสโมสเตอรอล, โทโคไตรอีนอล, โทโคเฟอรอล, ยูบิควินโนน, แคโรทีนอยด์ และ แซนโธฟีล เช่น เบตา-แคโรทีน, ลูเทอิน, ไลโคปิน, แอสตาแซนธิน, ซีอาแซนธิน, แคนธาแซนธิน และกรดไขมัน เช่น กรดลิโนเลอิคชนิดคอนจูเกต และกรดไขมันไม่อิ่มตัวอย่างสูง ประเภท โอเมกา-3 และโอเมกา-6 เช่น กรดไอโคซาเพนตาอีโนอิค, กรดโดโคซาเพนตาอีโนอิค และ กรดโดโคซาเฮกซาอีโนอิค, กรดอารัคคิโดนิค, กรดสเตียริโดนิค, กรดไดโฮโมแกมมาลิโนเลนิค และ กรดแกมมา-ลีโนเลนิค หรือของผสมของสารเหล่านี้ อย่างน้อยประมาณ 0.1 กรัมต่อลิตรต่อชั่วโมง 3 4. กระบวนการของข้อถือสิทธิที่ 20 ซึ่งอย่างน้อยประมาณ 20 เปอร์เซ็นต์ของ ลิปิดดังกล่าว เป็นโคเลสเตอรอล, ไฟโตสเตอรอล, เดสโมสเตอรอล, โทโคไตรอีนอล, โทโคเฟอรอล, ยูบิควินโนน, แคโรทีนอยด์ และแซนโธฟีล, เช่น เบตา-แคโรทีน, ลูเทอิน, ไลโคปีน, แอสตาแซนธิน, ซีอาแซนธิน, แคนธาแซนธิน และกรดไขมัน เช่น กรดลิโนเลอิคชนิดคอนจูเกต และกรดไขมันไม่อิ่มตัวอย่างสูงประเภทโอเมกา-3 และโอเมกา-6 เช่น กรดไอโคซาเพนตาอีโนอิค, กรดโดโคซาเพนตาอีโนอิค และกรดโดโคซาเฮกซาอีโนอิค, กรดอารัคคิโดนิค, กรดสเตียริโดนิค, กรดไดโฮโมแกมมาลิโนเลนิค และกรดแกมมา- ลิโนเลนิค หรือของผสมของสารเหล่านี้ 3 5. กระบวนการสำหรับเตรียมลิปิดจากจุลินทรีย์ที่ประกอบด้วย: (a) การเลี้ยงจุลินทรีย์ดังกล่าวในอาหารเลี้ยงของการหมักเพื่อผลิตอาหารเหลว ของการหมัก (b) การสัมผัสอาหารเหลวของการหมักดังกล่าวกับเบสเพื่อละลายอย่างน้อย ส่วนหนึ่งของโปรตีนใดๆ ที่มีอยู่ในอาหารเหลวของการหมักดังกล่าว (c) การเพิ่มอุณหภูมิของอาหารเหลวของการหมักดังกล่าว จนถึงอุณหภูมิ อย่างน้อยประมาณ 50 องศาเซลเซียส เพื่อสลายเซลของจุลินทรีย์ดังกล่าว เพื่อผลิตของผสมของเซล ที่สลายแล้ว (d) การแยกสารที่มีความหนาแน่นแตกต่างกันจากของผสมของเซลที่สลาย แล้วดังกล่าว เพื่อผลิตของผสมแยกเฟสที่ประกอบด้วยชั้นวัสดุหนัก และชั้นวัสดุเบา ซึ่งชั้นวัสดุหนัก ดังกล่าว ประกอบด้วยสารละลายที่มีน้ำเป็นตัวกลาง และชั้นวัสดุเบาดังกล่าวประกอบด้วยลิปิดที่เป็น อีมัลชัน (e) การเอาชั้นวัสดุหนักดังกล่าวออกจากของผสมแยกเฟสดังกล่าว (f) การเติมสารละลายของการล้างที่มีน้ำเป็นตัวกลางลงไปยังชั้นวัสดุเบา ดังกล่าว (g) การแยกสารที่มีความหนาแน่นแตกต่างกันจากของผสมดังกล่าวของ ขั้นตอน(f) (h) การแยกเอาชั้นวัสดุหนักดังกล่าวจากของผสมแยกเฟสดังกล่าว และ (i) การทำขั้นตอน (f)-(h) ดังกล่าวจนกระทั่งลิปิดดังกล่าวเปลี่ยนแปลงไปเป็น รูปที่จัดว่าไม่เป็นอีมัลชัน 3 6. กระบวนการของข้อถือสิทธิที่ 35 ซึ่งเบสดังกล่าวเลือกได้จากกลุ่มที่ ประกอบด้วยไฮดรอกไซด์, คาร์บอเนท, ไบคาร์บอเนท และของผสมของสารเหล่านี้ 3 7. กระบวนการของข้อถือสิทธิที่ 35 ซึ่งขั้นตอนของการผลิตของผสมแยก เฟสดังกล่าว ประกอบด้วยการนำของผสมของเซลที่สลายแล้วดังกล่าวไปเหวี่ยงหนีศูนย์กลาง 3 8. กระบวนการของข้อถือสิทธิที่ 35 ซึ่งสารละลายที่มีน้ำเป็นตัวกลางดังกล่าว ของขั้นตอน (d) ประกอบด้วยวัสดุที่เป็นของแข็งของเซล 3 9. กระบวนการของข้อถือสิทธิที่ 35 ซึ่งจุลินทรีย์ดังกล่าวสามารถเจริญได้ที่ ระดับความเค็มต่ำกว่าประมาณ 12 กรัม/ลิตรของโซเดียมคลอไรด์ 4 0. กระบวนการของข้อถือสิทธิที่ 35 ซึ่งจุลินทรีย์ดังกล่าวประกอบด้วยลิปิด อย่างน้อยประมาณ 20 เปอร์เซ็นต์โดยน้ำหนัก 4 1. กระบวนการของข้อถือสิทธิที่ 35 ซึ่งจุลินทรีย์ดังกล่าวเลือกได้จากกลุ่มที่ ประกอบด้วยสาหร่าย, เชื้อรา, แบคทีเรีย, และโปรติสท์ 4 2. กระบวนการของข้อถือสิทธิที่ 35 ซึ่งจุลินทรีย์ดังกล่าวประกอบด้วย จุลินทรีย์จากกลุ่มที่ประกอบด้วยสาหร่ายทอง, สาหร่ายเขียว, ไดโนฟลาเจลเลท, ยีสต์, เชื้อราในสกุล Motierella และ Stramenopiles 4 3. กระบวนการของข้อถือสิทธิที่ 35 ซึ่งจุลินทรีย์ดังกล่าวประกอบด้วย จุลินทรีย์ในออร์เดอร์ Thraustochytriales 4 4. กระบวนการของข้อถือสิทธิที่ 43 ซึ่งจุลินทรีย์ดังกล่าว เลือกได้จากกลุ่มที่ ประกอบด้วยจุลินทรีย์ที่มีลักษณะเฉพาะของการบ่งชี้ชนิดที่เป็น ATCC หมายเลข 20888, ATCC หมายเลข 20889, ATCC หมายเลข 20890, หมายเลข 20891 และ ATCC หมายเลข 20892, สายพันธุ์กลายที่ได้มาจากจุลินทรีย์ใดๆ ของจุลินทรีย์ข้างต้น และของผสมของจุลินทรีย์ เหล่านี้ 4 5. กระบวนการของข้อถือสิทธิที่ 35 ซึ่งจุลินทรีย์สามารถผลิตโคเลสเตอรอล, ไฟโตสเตอรอล, เดสโมสเตอรอล, โทโคไตรอีนอล, โทโคเฟอรอล, ยูบิควินโนน, แคโรทีนอยด์ และ แซนโธฟีล, เช่น เบตา-แคโรทีน, ลูเทอิน, ไลโคปีน, แอสตาแซนธิน, ซีอาแซนธิน, แคนธาแซนธิน และกรดไขมัน เช่น กรดลิโนเลอิคชนิดคอนจูเกต และกรดไขมันไม่อิ่มตัวอย่างสูงประเภท โอเมกา-3 และโอเมกา-6 เช่น กรดไอโคซาเพนตาอีโนอิค, กรดโดโคซาเพนตาอีโนอิค และกรดโดโคซาเฮกซา อีโนอิค, กรดอารัคคิโดนิค, กรดสเตียริโดนิค, กรดโฮโมแกมมาลิโนเลนิค และกรดแกมมาลิโนเลนิค หรือของผสมของสารเหล่านี้ อย่างน้อยประมาณ 0.1 กรัม ต่อลิตรต่อชั่วโมง 4 6. กระบวนการของข้อถือสิทธิที่ 35 ซึ่งอย่างน้อยประมาณ 20 เปอร์เซ็นต์ของ ลิปิดดังกล่าวเป็นโคเลสเตอรอล, ไฟโตสเตอรอล, เดสโมสเตอรอล, โทโคไตรอีนอล, โทโคเฟรอล, แอสตาแซนธิน, ซีอาแซนธิน, แคนธาแซนธิน และกรดไขมัน เช่น กรดลิโนเลอิคชนิดคอนจูเกต และ กรดไขมันไม่อิ่มตัวอย่างสูงประเภทโอเมกา-3 และโอเมกา-6 เช่น กรดไอโคซาเพนตาอีโนอิค, กรดโดโคซาเพนตาอีโนอิค และกรดโดโคซาเฮกซาอีโนอิค, กรดอารัคคิโดนิค, กรดสเตียริโดนิค, กรดไดโฮโมแกมมาลิโนเลนิค และกรดแกมมา- ลิโนเลนิค หรือของผสมของสารเหล่านี้ 4 7. กระบวนการสำหรับเตรียมลิปิดจากจุลินทรีย์ที่ประกอบด้วย : (a) การเลี้ยงจุลินทรีย์ในอาหารเลี้ยงเชื้อ (b) การทำกรรมวิธีให้แก่อาหารเลี้ยงเชื้อดังกล่าว และเซลของจุลินทรีย์เพื่อ ปลดปล่อยลิปิดภายในเซล (c) การนำอาหารเลี้ยงเชื้อที่ประกอบด้วยลิปิดภายในเซลที่ถูกปลดปล่อยแล้ว เข้าสู่การแยกด้วยแรงโน้มถ่วงเพื่อทำให้เกิดเฟสเบาที่มีลิปิดเป็นองค์ประกอบ และเฟสหนัก (d) การแยกเฟสเบาดังกล่าวจากเฟสหนักดังกล่าว (e) การทำกรรมวิธีแก่เฟสเบาเพื่อสลายอีมัลชันที่เกิดขึ้นระหว่างลิปิดดังกล่าว และน้ำ และ (f) การแยกเอาลิปิดที่ยังไม่บริสุทธิ์ 4 8. กระบวนการของข้อถือสิทธิที่ 47 ซึ่งจุลินทรีย์ดังกล่าวเป็นจุลินทรีย์ที่มี ลิปิดมาก 4 9. กระบวนการของข้อถือสิทธิที่ 47 ซึ่งจุลินทรีย์ดังกล่าวเลือกได้จากกลุ่ม ที่ประกอบด้วยสาหร่าย, เชื้อรา, แบคทีเรีย และโปรติสท์ 5 0. กระบวนการของข้อถือสิทธิที่ 47 ซึ่งจุลินทรีย์ดังกล่าว เลือกได้จากกลุ่มที่ ประกอบด้วยสาหร่ายทอง, สาหร่ายเขียว, ไดโรฟลาเจลเลท, ยีสต์, เชื้อราในสกุล Mortierella และ Stramenopiles 5 1. กระบวนการของข้อถือสิทธิที่ 47 ซึ่งจุลินทรีย์ดังกล่าวประกอบด้วย จุลินทรีย์ในออเดอร์ Thraustochytriales 5 2. กระบวนการของข้อถือสิทธิที่ 51 ซึ่งจุลินทรีย์ดังกล่าวเลือกได้จากสกุล Thraustochytrium, Schizochytrium และของผสมของจุลินทรีย์เหล่านี้ 5 3. กระบวนการของข้อถือสิทธิที่ 52 ซึ่งจุลินทรีย์ดังกล่าวเลือกได้จากกลุ่มที่ ประกอบด้วยจุลินทรีย์ที่มีลักษณะเฉพาะของการบ่งชี้ชนิดที่เป็น ATCC หมายเลข 20888, ATCC หมายเลข 20889, ATCC หมายเลข 20890, ATCC หมายเลข 20891 และ ATCC หมายเลข 20892 สายพันธุ์กลายที่ได้มาจากจุลินทรีย์ใดๆ ของจุลินทรีย์ข้างต้นและของผสมของจุลินทรีย์ เหล่านี้ 5 4. กระบวนการของข้อถือสิทธิที่ 47 ซึ่งจุลินทรีย์สามารถผลิตโคเลสเตอรอล, ไฟโตสเตอรอล, เดสโมสเตอรอล, โทโคไตรอีนอล, โทโคเฟอรอล, ยูบิควินโนน, แคโรทีนอยด์ และ แซนโธฟีล, เช่น เบตา-แคโรทีน, ลูเทอิน, ไลโคปิน, แอสตาแซนธิน, ซีอาแซนธิน, แคนธาแซนธิน และกรดไขมัน เช่น กรดลิโนเลอิคชนิดคอนจูเกต และกรดไขมันไม่อิ่มตัวอย่างสูง ประเภท โอเมกา-3 และโอเมกา-6 เช่น กรดไอโคซาเพนตาอีโนอิค, กรดโดโคซาเพนตาอีโนอิค และ กรดโดโคซาเฮกซาอีโนอิค, กรดอารัคคิโดนิค, กรดสเตียริโดนิค, กรดไดโฮโมแกมมาลิดนเลนิค และ กรดแกมมา-ลิโนเลนิค หรือของผสมของสารเหล่านี้อย่างน้อยประมาณ 0.1 กรัมต่อลิตรต่อชั่วโมง 5 5. กระบวนการของข้อถือสิทธิที่ 54 ซึ่งอย่างน้อยประมาณ 20 เปอร์เซ็นต์ของ ลิปิดดังกล่าวเป็นโคเลสเตอรอล, ไฟโตสเตอรอล, เดสโมสเตอรอล, โทโคไตรอีนอล, โทโคเฟอรอล, ยูบิควินโนน, แคโรทีนอยด์ และแซนโธฟีล เช่น เบตา-แคโรทีน, ลูเทอิน, ไลโคปีน, แอสตาแซนธิน, ซีอาแซนธิน, แคนธาแซนธิน และกรดไขมัน เช่น กรดลิโนเลอิคชนิดคอนจูเกต และกรด ไขมัน ไม่อิ่มตัวอย่างสูงประเภทโอเมกา-3 และโอเมกา-6 เช่น กรดไอโคซาเพนตาอีโนอิค, กรดโดโคซา เพนตาอีโนอิค และกรดโดโคซาเฮกซาอีโนอิค, กรดอารัคคิโดนิค, กรดสเตียริโดนิค, กรดไดโฮโม แกมมาลิโนเลนิค และกรดแกมมา- ลิโนเลนิค หรือของผสมของสารเหล่านี้ 5 6. กระบวนการของข้อถือสิทธิที่ 47 ซึ่งการทำกรรมวิธีดังกล่าว รวมถึง การทำกรรมวิธีที่เลือกได้จากกลุ่มที่ประกอบด้วยการให้ความร้อนแก่เซลดังกล่าว, การเผยสัมผัสเซล ดังกล่าวกับสารที่เป็นเบส, การเผยสัมผัสเซลดังกล่าวกับสารคีเลท หรือ การทำกรรมวิธีเหล่านี้ ร่วมกัน 5 7. กระบวนการของข้อถือสิทธิที่ 47 ซึ่งการทำกรรมวิธีดังกล่าวประกอบด้วย การให้ความร้อนแก่เซลจนถึงอุณหภูมิอย่างน้อย 50 องศาเซลเซียสก่อน, ในระหว่าง หรือหลังการ เผยสัมผัสเซลกับสารที่เป็นเบส, สารคีเลท หรือของผสมของสารเหล่านี้ 5 8. กระบวนการของข้อถือสิทธิที่ 47 ซึ่งการแยกด้วยแรงโน้มถ่วงของขั้นตอน (c) ประกอบด้วยการนำอาหารเลี้ยงเชื้อที่ประกอบด้วยลิปิดภายในเซลที่ถูกปลดปล่อยแล้วไปผ่าน เครื่องเหวี่ยงหนีศูนย์กลางแบบจานซ้อน, แบบเครื่องแยก หรือแบบรินของเหลวออก 5 9. กระบวนการของข้อถือสิทธิที่ 47 ซึ่งการทำกรรมวิธีของขั้นตอนเพื่อสลาย อีมัลชันประกอบด้วยการผสมอีมัลชันกับน้ำ, อัลกอฮอล์ และ/หรือ อาซีโตน และการนำของผสมเข้า สู่การแยกด้วยแรงโน้มถ่วง 6 0. กระบวนการของข้อถือสิทธิที่ 59 ซึ่งการแยกด้วยแรงโน้มถ่วงดังกล่าว ประกอบด้วยการเหวี่ยงหนีศูนย์กลาง 6 1. กระบวนการของข้อถือสิทธิที่ 60 ซึ่งการเหวี่ยงหนีศูนย์กลางดังกล่าว รวมถึงการทำกรรมวิธีในเครื่องเหวี่ยงหนีศูนย์กลางแบบจานซ้อน, แบบเครื่องแยก หรือแบบริน ของเหลวออก 6 2. กระบวนการของข้อถือสิทธิที่ 59 ซึ่งการทำกรรมวิธีดังกล่าวได้รับการทำ ซ้ำอย่างน้อยสามครั้งเพื่อให้ได้ลิปิดที่ไม่บริสุทธิ์ดังกล่าว 6 3. กระบวนการของข้อถือสิทธิที่ 47 ซึ่งลิปิดที่ยังไม่บริสุทธิ์ดังกล่าวถูกนำเข้า สู่การทำให้บริสุทธิ์ หรือการดำเนินกระบวนการเพิ่มเติมเพื่อให้ได้ลิปิดที่ทำให้บริสุทธิ์แล้ว 6 4. กระบวนการของข้อถือสิทธิที่ 63 ซึ่งลิปิดที่ยังไม่บริสุทธิ์ดังกล่าวได้รับ การฟอกสี และกำจัดกลิ่น 6 5. กระบวนการสำหรับแยกเอาลิปิดจากจุลินทรีย์ซึ่งประกอบด้วยขั้นตอน ดังนี้: (a) การเลี้ยงจุลินทรีย์ดังกล่าวในอาหารเลี้ยงเชื้อ (b) การทำกรรมวิธีให้แก่เซลของจุลินทรีย์จากอาหารเลี้ยงเชื้อดังกล่าวโดย ไม่มีการทำให้เซลดังกล่าวแห้งเพื่อปลดปล่อยลิปิดในเซล (c) การนำอาหารเลี้ยงเชื้อที่ประกอบด้วยลิปิดในเซลที่ถูกปลดปล่อยแล้วเข้าสู่ การแยกด้วยแรงโน้มถ่วงเพื่อทำให้เกิดเฟสเบาที่มีลิปิดเป็นองค์ประกอบและเฟสหนัก (d) การแยกเฟสเบาดังกล่าวจากเฟสหนักดังกล่าว (e) การทำกรรมวิธีให้แก่เฟสเบาดังกล่าว เพื่อสลายอีมัลชันที่เกิดขึ้นระหว่าง ลิปิดดังกล่าว และน้ำ และ (f) การแยกเอาลิปิดที่ยังไม่บริสุทธิ์ 6 6. กระบวนการของข้อถือสิทธิที่ 65 ซึ่งจุลินทรีย์ดังกล่าวเป็นจุลินทรีย์ที่มี ลิปิดมาก 6 7. กระบวนการของข้อถือสิทธิที่ 65 ซึ่งจุลินทรีย์ดังกล่าวเลือกได้จากกลุ่มที่ ประกอบด้วยสาหร่าย, แบคทีเรีย, เชื้อรา และโปรติสท์ 6 8. กระบวนการของข้อถือสิทธิที่ 65 ซึ่งจุลินทรีย์ดังกล่าวเลือกได้จากกลุ่มที่ ประกอบด้วยสาหร่ายทอง, สาหร่ายเขียว, ไดโนฟลาเลลเลท, ยีตส์, เชื้อราในสกุล Mortierellaa และ Stramenopiles 6 9. กระบวนการของข้อถือสิทธิที่ 65 ซึ่งจุลินทรีย์ดังกล่าวประกอบด้วย จุลินทรีย์ในออร์เดอร์ Thraustochytriales 7 0. กระบวนการของข้อถือสิทธิที่ 69 ซึ่งจุลินทรีย์ดังกล่าว เลือกได้จากสกุล Thraustochytrium, Schizochytrium และของผสมของจุลินทรีย์เหล่านี้ 7 1. กระบวนการของข้อถือสิทธิที่ 70 ซึ่งจุลินทรีย์ดังกล่าวเลือกได้จากกลุ่มที่ ประกอบด้วยจุลินทรีย์ที่มีลักษณะเฉพาะของการบ่งชี้ชนิดที่เป็น ATCC หมายเลข 20888, ATCC หมายเลข 20889, ATCC หมายเลข 20890, ATCC หมายเลข 20891 และ ATCC หมายเลข 20892, สายพันธุ์กลายที่ได้มาจากจุลินทรีย์ใดๆ ของจุลินทรีย์ข้างต้น และของผสมของจุลินทรีย์ เหล่านี้ 7 2. กระบวนการของข้อถือสิทธิที่ 65 ซึ่งจุลินทรีย์ดังกล่าวสามารถผลิต โคเลสเตอรอล, ไฟโตสเตอรอล, เดสโพสเตอรอล, โทโคไตรอีนอล, โทโคเฟอรอล, ยูบิควินโนน, แคโรทีนอยด์ และแซนโธฟีล, เช่น เบตา-แคโรทีน, ลูเทอิน, ไลปีน, แอสตาแซนธิน, ซีอาแซนธิน, แคนธาแซนธิน และกรดไขมัน เช่น กรดลิโนเลอิคชนิดคอนจูเกต และกรดไขมันไม่อิ่มตัวอย่างสูง ประเภทโอเมกา-3 และโอเมกา-6 เช่น กรดไอโคซาเพนตาอีโนอิค, กรดโดโคซาเพนตาอีโนอิค และ กรดโดโคซาเฮกซาอีโนอิค, กรดอารัคคิโดนิค, กรดสเตียริโดนิค, กรดไดโฮโมแกมมา-ลิโนเลนิค และกรดแกมมา-ลีโนเลนิค หรือของผสมของสารเหล่านี้อย่างน้อยประมาณ 0.1 กรัมต่อลิตร ต่อชั่วโมง 7 3. กระบวนการของข้อถือสิทธิที่ 65 ซึ่งอย่างน้อยประมาณ 20 เปอร์เซ็นต์ของ ลิปิดดังกล่าว เป็นโคเลสเตอรอล, ไฟโตสเตอรอล, เดสโมสเตอรอล, โทโคไตรอีนอล, โทโคเฟรอล, ยูบิควินโนน, แคโรทีนอยด์ และแซนโธฟีล เช่น เบตา-แคโรทีน, ลูเทอิน, ไลโคปีน, แอสตาแซนธิน, ซีอาแซนธิน, แคนธาแซนธิน และกรดไขมัน เช่น กรดลิโนเลอิค ชนิดคอนจูเกต และกรดไขมันไม่อิ่มตัวอย่างสูงประเภทโอเมกา-3 และโอเมกา-6 เช่น กรดไอโคซาเพนตาอีโนอิค, กรดโดโคซาเพนตาอีโนอิค และกรดโดโคซาเฮกซาอีโนอิค, กรดอารัคคิโดนิค, กรดสเตียริโดนิค, กรดไดโฮโมแกมมาลิโนเลนิค และกรดแกมมา- ลิโนเลนิค หรือของผสมของสารเหล่านี้ 7 4. กระบวนการของข้อถือสิทธิที่ 65 ซึ่งการทำกรรมวิธีดังกล่าวรวมถึงการ ทำกรรมวิธีที่เลือกได้จากกลุ่มที่ประกอบด้วยการให้ความร้อนและเซลดังกล่าว, การเผยสัมผัสเซล ดังกล่าวกับสารที่เป็นเบส, การเผยสัมผัสเซลดังกล่าวกับสารคีเลท หรือการทำกรรมวิธีเหล่านี้ ร่วมกับ 7 5. กระบวนการของข้อถือสิทธิที่ 65 ซึ่งการทำกรรมวิธีดังกล่าวประกอบด้วย การให้ความร้อนแก่เซลจนถึงอุณหภูมิอย่างน้อย 50 องศาเซลเซียสก่อน, ในระหว่าง หรือหลังการ เผยสัมผัสเซลกับสารที่เป็นเบส, สารคีเลท หรือของผสมของสารเหล่านี้ 7 6. กระบวนการของข้อถือสิทธิที่ 65 ซึ่งการแยกด้วยแรงโน้มถ่วงของขั้นตอน (c) ประกอบด้วยการนำอาหารเลี้ยงเชื้อที่ประกอบด้วยลิปิดภายในเซลที่ถูกปลดปล่อยแล้วไปผ่าน เครื่องเหวี่ยงหนีศูนย์กลางแบบจานซ้อน, แบบเครื่องแยก หรือแบบรินของเหลวออก 7 7. กระบวนการของข้อถือสิทธิที่ 65 ซึ่งการทำกรรมวิธีของขั้นตอนเพื่อสลาย อีมัลชันประกอบด้วยการผสม อีมัลชันกับน้ำ, อัลกอฮอล์ และ/หรือ อาซีโตน และการนำของผสม เข้าสู่การแยกด้วยแรงโน้มถ่วง 7 8. กระบวนการของข้อถือสิทธิที่ 77 ซึ่งการแยกด้วยแรงโน้มถ่วงดังกล่าว ประกอบด้วยการเหวี่ยงหนีศูนย์กลาง 7 9. กระบวนการของข้อถือสิทธิที่ 78 ซึ่งการเหวี่ยงหนีศูนย์กลางดังกล่าว รวมถึงการทำกรรมวิธีในเครื่องเหวี่ยงหนีศูนย์กลางแบบจานซ้อน, แบบเครื่องแยก หรือแบบริน ของเหลวออก 8 0. กระบวนการของข้อถือสิทธิที่ 77 ซึ่งการทำกรรมวิธีดังกล่าวได้รับการ ทำซ้ำอย่างน้อยสามครั้งเพื่อให้ได้ลิปิดที่ยังไม่บริสุทธิ์ดังกล่าว 8
1. กระบวนการของข้อถือสิทธิที่ 65 ซึ่งลิปิดที่ยังไม่บริสุทธิ์ดังกล่าวถูกนำเข้า สู่การทำให้บริสุทธิ์ หรือการดำเนินกระบวนการเพิ่มเติม เพื่อให้ได้ลิปิดที่ทำให้บริสุทธิ์แล้ว 8
2. กระบวนการของข้อถือสิทธิที่ 81 ซึ่งลิปิดที่ยังไม่บริสุทธิ์ดังกล่าวได้รับ การฟอกสี และกำจัดกลิ่น 8
3. ลิปิดที่ได้รับการทำขึ้น โดยกระบวนการของข้อถือสิทธิที่ 1-82 8
4. ลิปิดที่ได้มาจากจุลินทรีย์ที่มีตัวทำละลายอินทรีย์ที่ไม่โพลาร์หลงเหลืออยู่ น้อยกว่า 0.2 ppm 8
5. ลิปิดที่ประกอบด้วย โคเลสเตอรอล, ไฟโตสเตอรอล, เดสโมสเตอรอล, โทโคไตรอีนอล, โทโคเฟอรอล, ยูบิควินโนน, แคโรทีนอยด์ และแซนโธฟีล เช่น เบตา-แคโรทีน, ลูเทอิน, ไลโคปิน, แอสตาแซนธิน, ซีอาแซนธิน, แคนธาแซนธิน และกรดไขมัน เช่น กรดลิโนเลอิค ชนิดคอนจูเกต และกรดไขมันที่ไม่อิ่มตัวอย่างสูงประเภทโอเมกา-3 และโอเมกา-6 เช่น กรดไอโคซา เพนตาอีโนอิค, กรดโดโคซาเพนตาอีโนอิค และกรดโดโคซาเฮกซาอีโนอิค, กรดอารัคคิโดนิค, กรดสเตียริโดนิค, กรดไดโฮโมแกมมาลิโนเลนิค และกรดแกมมา-ลิโนเลนิค หรือของผสมของ สารเหล่านี้มากกว่า 15 เปอร์เซ็นต์ ที่มีตัวทำละลายอินทรีย์ที่ไม่โพลาร์หลงเหลือน้อยกว่า 0.2 ppm ลิปิดที่ประกอบด้วยกรดโดโคซาเฮกซาอีโนอิคมากกว่า 15 เปอร์เซ็นต์ และมีตัวทำละลายอินทรีย์ ที่ไม่โพลาร์หลงเหลือน้อยกว่า 0.2 ppm
TH101000224A 2001-01-22 กระบวนการสกัดที่ไม่ใช้ตัวทำละลาย TH69615B (th)

Publications (2)

Publication Number Publication Date
TH62459A true TH62459A (th) 2004-06-16
TH69615B TH69615B (th) 2019-05-03

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
CA2397655A1 (en) Solventless extraction process
JP2003520046A5 (th)
AU2002366642B2 (en) Extraction and winterization of lipids from oilseed and microbial sources
US11725221B2 (en) Methods for improving yields of a polyunsaturated fatty acid (PUFA) oil containing product using multiple centrifugation steps
TH62459A (th) กระบวนการสกัดที่ไม่ใช้ตัวทำละลาย
TH69615B (th) กระบวนการสกัดที่ไม่ใช้ตัวทำละลาย
AU2008229885B2 (en) Solventless extraction process
TWI322186B (en) Solventless extraction process
TWI338715B (en) Solventless extraction process