TH5593B - วิธีการแยกสารปรอทและสารหนูในไฮโดรคาร์บอนออก - Google Patents

วิธีการแยกสารปรอทและสารหนูในไฮโดรคาร์บอนออก

Info

Publication number
TH5593B
TH5593B TH9001000343A TH9001000343A TH5593B TH 5593 B TH5593 B TH 5593B TH 9001000343 A TH9001000343 A TH 9001000343A TH 9001000343 A TH9001000343 A TH 9001000343A TH 5593 B TH5593 B TH 5593B
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
mercury
metal
reagent
arsenic
alumina
Prior art date
Application number
TH9001000343A
Other languages
English (en)
Other versions
TH7773A (th
TH7773EX (th
Inventor
กูร์ตี นายฟิลิปป์
ดูเฟรสน์ นายปิแอร์
บัวติโอซ์ นายชอง-ปอล
มาร์ติโน นายแยร์แมง
Original Assignee
นายดำเนิน การเด่น
นายต่อพงศ์ โทณะวณิก
นายวิรัช ศรีเอนกราธา
Filing date
Publication date
Application filed by นายดำเนิน การเด่น, นายต่อพงศ์ โทณะวณิก, นายวิรัช ศรีเอนกราธา filed Critical นายดำเนิน การเด่น
Publication of TH7773A publication Critical patent/TH7773A/th
Publication of TH7773EX publication Critical patent/TH7773EX/th
Publication of TH5593B publication Critical patent/TH5593B/th

Links

Abstract

วิธีการแยกสารปรอทและสารหนูในสารป้อนไฮโดรคาร์บอนที่ประกอบด้วยปรอทและกำมะถันออกโดยมีลักษณะว่า ให้สารป้อนดังกล่าวสัมผัสกับสารจับสารหนหูที่มีสมบัติเป็นตัวช่วยปฏิกิริยา ฝนไฮโดรเจน โดยสารดังกล่าวประกอบด้วยโลหะอย่างน้อยชนิดหนึ่งจากกลุ่มซึ่งประกอบขึ้นด้วยนิกเกิล, โคบอลต์,เหล็ก, แพลเลเดียม, และแพลทินัม, โลหะอย่างน้อยชนิดหนึ่งจากกลุ่มที่ประกอบขึ้นด้วยโครเมียม, โมลิบดีนัม, หังสเตนและยูเรเนียม และสารนำพาที่มีสภาพว่องไวต่อปฏิกิริยาชนิดหนึ่ง ต่อจากการซ้อนสารดังกล่าว ป้อนหรือผสมเข้ากับสารจับปรอทชนิดหนึ่งซึ่ง ประกอบด้วยซัลไฟต์ของโลหะอย่างน้อยชนิดหนึ่งจากกลุ่มที่ประกอบขึ้นด้วยทองแดง, เหล็ก และเงินหรือกำมะถัน และสารนำพาที่มีสภาพว่องไวต่อปฏิกิริยาชนิด หนึ่ง ไปตามสายการป้อนของสารป้อน

Claims (7)

1. วิธีการแยกปรอทออกจากสารป้อนไฮโดรคาร์บอนที่ประกอบด้วยธาตุปรอทและธาตุกำมะถัน โดยมีลักษณะว่าให้สารผสมของไฮโดรเจนและสารป้อนดังกล่าวทำปฏิกิริยาเมื่อมีสารจับสารหนู ชนิดหนึ่งที่มีสมบัติเป็นตัวช่วยปฏิกิริยาซึ่งเรียกว่า"ตัวช่วยปฏิกิริยา" อยู่ด้วย โดยประกอบด้วยโลหะ M อย่างน้อยชนิดหนึ่งที่เลือกจากกลุ่มซึ่งประกอบขึ้นด้วย นิกเกิล,โคบอลด์, เหล็ก, แพลเลเดียม และแพลทินัม, โลหะ N อย่างน้อยชนิดหนึ่งซึ่งเลือกจากกลุ่มที่ประกอบขึ้นด้วย โครเมียม, โมลิบคีนัม, หังสเคน และยูเรเนียม และอาจประกอบด้วยสารนำพาที่มีสภาพว่องไวต่อปฏิกิริยาอย่างน้อยชนิดหนึ่งที่เป็นเมทริกว์อนินทรัย์พรุนชนิดหนึ่งเป็นอย่างน้อยที่สุดต่อจากสารจับสารหนูที่มีสมบัติเป็นตัวช่วยปฏิกิริยาดังกล่าวให้ป้อนหรือผสมเข้ากับสารจับปรอทที่ ประกอบด้วยซัลไฟด์ของโลหะ P อย่างน้อยชนิดหนึ่ง ซึ่งเลือกจากกลุ่มที่ประกอบขึ้นด้วยทองแดง, เหล็ก และเงิน หรือกำมะถัน และสารนำพาที่มีสภาพว่องไวต่อปฏิกิริยาชนิดหนึ่งไป ตามสายการป้อนของสารป้อน 2. วิธีตามข้อถือสิทธิข้อที่ 1 ที่ซึ่งสารป้อนดังกล่าวประกอบ้ดวยสารหนูรวมทั้งปรอทและกำมะถัน โดยมีลักษณะว่าสารหนูและปรอทนั้นถูกแยกออกในเวลาเดียวกันตามลำดับโดยการทำ ปฏิกิริยาร่วมกับสารดีอาร์เซนิฟิเดชันที่มีสมบัติเป็นตัวช่วยปฏิกิริยาซึ่งเรียกกันว่า "ตัวช่วยปฏิกิริยา" และกับสารดีเมอคูริเซชัน 3. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อที่ 1 และ 2 ข้อใดข้อหนึ่งที่ซึ่งสารป้อนดังกล่าวบางส่วนได้รับการไฮโดรดีซัลเฟอไรซ์,ไฮโดรดีไนทริไฟซ์ และไฮโดรจิเนต ตามส่วนไฮโดรคาร์บอนที่ไม่ อิ่มตัวของสารป้อนดังกล่าว ในเวลาเดียวกันกับการกำจัดโลหะปรอทและสารหนูออก 4. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อที่ 1 ถึง 3 ข้อใดข้อหนึ่งที่ซึ่งอาจเติมสารประกอบกำมะถันอย่างน้อยชนิดหนึ่งซึ่งเลือกจากกลุ่มที่ประกอบขึ้นจากไฮโดรเจนซัลไฟด์ และสารประกอบ อินทรีย์ที่ถูกเติมกำมะถันให้แก่สารป้อนดังกล่าว 5. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อที่ 1 ถึง 4 ข้อใดข้อหนึ่งที่ซึ่งตัวช่วยปฏิกิริยาดังกล่าวประกอบด้วยโลหะ M อย่างน้อยชนิดหนึ่งในปริมาณตั้งแต่ 0.01 ถึง 15% โดยน้ำหนัก และโลหะ N อย่างน้อยชนิดหนึ่งในปริมาณตั้งแต่ 2 ถึง 30% โดยน้ำหนัก และที่ซึ่งอัตราส่วนอะตอมของ M/N เท่ากับ 0.3:1 ถึง 0.7:1 6. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อที่ 5 ที่ซึ่งโลหะ M ดังกล่าวคือโคบอลต์ และนิกเกิล และโลหะ N ดังกล่าวคือ โมลิบดีนัมและทังสเคน และที่ซึ่งตัวช่วยปฏิกิริยาดังกล่าวประกอบด้วยโลหะ M อย่างน้อยชนิดหนึ่งในปริมาณตั้งแต่ 0.5 ถึง 15% โดยน้ำหนัก และโลหะ N อย่างน้อยที่สุดชนิดหนึ่งในปริมาณ 5 ถึง 25% โดยน้ำหนัก 7. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อที่ 5 และ 6 ข้อใดข้อหนึ่งที่ซึ่งตัวช่วยปฏิกิริยาดังกล่าวประกอบด้วยโลหะมีตระกูลอย่างน้อยชนิดหนึ่ง ซึ่งเลือกจากแพลเลเดียม และแพลทินัม ในกลุ่มของโลหะ M และที่ซึ่งตัวช่วยปฏิกิริยาดังกล่าวประกอบด้วยโลหะ M ตั้งแต่ 0.01 ถึง 5% 8. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อที่ 5 ถึง 7 ข้อใดข้อหนึ่งที่ซึ่งตัวช่วยปฏิกิริยาดังกล่าวประกอบสารนำพาที่มีสารนำพาที่มีสภาพว่องไวต่อปฏิกิริยาชนิดหนึ่งนอกเหนือจากโลหะ M และ N โดยสารนำพาดังกล่าวประกอบด้วยเมทริกซิอนินทรีย์พรุนซึ่งรวมถึงธาตุอย่างน้อยที่สุดชนิดหนึ่งในกลุ่มที่ประกอบขึ้นด้วยอลูมินา, ซิลิกา, ซิลกา-อลูมินา, แมกนีเซีย, เซอร์โคเนีย, ไทเทเนียมออกไซด์, ดินเหนียว, อลูมินัสซิเมนต์, สารอลูมิเนต และสารอลูมิโนซัลเคตพวกซิโอไลต์ชนิดสังเคราะห์หรือธรรมชาติ 9. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อที่ 1 ถึง 8 ข้อใดข้อหนึ่งที่ซึ่งสารจับปรอทดังกล่าวประกอบด้วยกำมะถันตั้งแต่ 1 ถึง 40% เทียบกับน้ำหนักรวมของมันและสารนำพาอย่างน้อยชนิดหนึ่งที่เลือกจากกลุ่มซึ่งประกอบขึ้นด้วยอลูมินา, ซิลิกา-อลูมินา,ซิลิกา, ไทเทเนียมออกไซด์, เซอร์โตเนีย, ซีโอไลต, คาร์บอนที่มีสภาพว่องไวต่อปฏิกิริยา, ดินเหนียว และอลูมินัลซิเมนต์ 1 0. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อที่ 9 ที่ซึ่งสารจับปรอทดังกล่าวยังประกอบด้วยโลหะ p อย่างน้อยชนิดหนึ่งในปริมาณตั้งแต่ 0.1 ถึง 20% โดยน้ำหนักโดยเลือกจากกลุ่มที่ประกอบขึ้นด้วยทองแดง, เหล็ก และเงิน และที่ซึ่งโลหะ P มีอย่างน้อยบางส่วนอยู่ในรูปของซัลไฟต์ 1
1. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้างต้นข้อใดข้อหนึ่งที่ซึ่ง: - ความดันปฏิบัติการมีค่าตั้งแต่ 1 ถึง 50 บาร์สมบรูณ์ - อัตราการไหลของไฮโดรเจนมีค่าตั้งแต่ 1 ถึง 1000 ลิตรของก๊าซไฮโดรเจน (NTP) ต่อลิตรของสารป้อนเหลว - ความเร็วเชิงปริมาตรรายชั่วโมงในรูปของปริมาตรของสารป้อนเหลวมีค่าตั้งแต่ 0.1 ถึง 30 ปริมาตรต่อปริมาตรของตัวช่วยปฏิกิริยา และมีค่าตั้งแต่ 0.1 ถึง 30 ปริมาตรต่อปริมาตรของสารดีเมอคูริเซชัน - อุณหภูมิปฏิบัติการของตัวช่วยปฏิกิริยามีค่าตั้งแต่ 180 ถึง 450 ซ. - อุณหภูมิปฏิบัติการของสารคีเมอคูริเซชันมีค่าตั้งแต่ 0 ถึง 400 ซ. - ตัวช่วยปฏิกิริยาและสารคีเมอคูริเซชันแยกอยู่ในปฏิกรณ์ 2 ใบ โดยให้สารป้อนเข้าไปสัมผัสกับตัวช่วยปฏิกิริยาก่อนแล้วจึงให้สัมผัสกับสารจับปรอท 1
2. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อที่ 11 ที่ซึ่ง - ตัวช่วยปฏิกิริยา และสารคีเมอคูริเซชันอยู่ในปฏิกรณ์ใบเดียวกัน และที่ซึ่งอุณหภูมิปฏิบัติการมีค่าตั้งแต่ 180 ถึง 400 ซ. 1
3. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อที่ 11 หรือ 12 ที่ซึ่งก๊าซที่อุดมด้วยไฮโดรเจนถูกแยกออกจากเอ็ฟฟลูเอนท์จากปฏิกรณ์นั้นหรือเหล่านั้น แล้วมีอย่างน้อยบางส่วนถูกจนกลับไปยังส่วนบนสุดของปฏิกรณ์ตัวที่หนึ่ง 1
4. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อที่ 1 ถึง 13 ข้อใดข้อหนึ่งที่ซึ่งตัวช่วยปฏิกิริยาดังกล่าวได้รับการบำบัดขั้นต้นที่อุณหภูมิตั้งแต่ 50 ถึง 500 ซ. โดยสารผสมที่เป็นก๊าซซึ่งประกอบด้วยสารประกอบอย่างน้อยชนิดหนึ่งจากกลุ่มที่ประกอบขึ้นด้วยไฮโดรเจน, ไฮโดรเจนซัลไฟต์ และสารประกอบกำมะถันอินทรีย์ ก่อนการบำบัดด้วยสารป้อนไฮโดรคาร์บอน 1
5. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อที่ 1 ถึง 14 ข้อใดข้อหนึ่งที่ซึ่งสารป้อนดังกล่วประกอบด้วยไฮโดรคาร์บอนซึ่งอย่างน้อยที่สุดมีบางส่วนเป็นของเหลวที่อุณหภูมิและความดันบรรยากาศและประกอบด้วยปรอทตั้งแต่ 10-3 ถึง 2 มิลลิกรัมต่อ กก. ของสารป้อน และอาจประกอบด้วยสารหนูตั้งแต่ 10-2 ถึง 10 มก.ต่อ กก.ของสารป้อน 1
6. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อที่ 1 ถึง 15 ข้อใดข้อหนึ่งที่ซึ่งสารป้อนที่ได้รับการบำบัดคือสารไฮโดรคาร์บอนชนิดหนัก หรือเอ็ฟฟลูเอนท์จากกระบวนการแปลงเปลี่ยนโดยใช้ตัวช่วยปฏิกิริยา และ/หรือ กระบวนการแปลงเปลี่ยนโดยใช้ความร้อน 1
7. วิธีการตามข้อถือสิทธิ 1 ถึง 15 ข้อใดข้อหนึ่ง ซึ่งสารป้อนที่ได้รับการบำบัดเป็นคอนเดนเสทของก๊าซ
TH9001000343A 1990-03-15 วิธีการแยกสารปรอทและสารหนูในไฮโดรคาร์บอนออก TH5593B (th)

Publications (3)

Publication Number Publication Date
TH7773A TH7773A (th) 1990-06-01
TH7773EX TH7773EX (th) 1990-06-01
TH5593B true TH5593B (th) 1996-06-07

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
US7820037B2 (en) Desulfurizing agent manufacturing method and hydrocarbon desulfurization method
US6992043B2 (en) Composition for scavenging sulfur compounds from fluids
US4060498A (en) Process for steam reforming of hydrocarbons
JP4233633B2 (ja) 炭化水素のスチームリフォーミング法
US4344842A (en) Reactive iron oxide agents for scavenging hydrogen sulfide from hydrocarbon liquids
US5384040A (en) Process for the elimination of mercury and possibly arsenic from hydrocarbons
US5169516A (en) Removal of arsenic compounds from light hydrocarbon streams
Grzybek et al. Evaluation of the inhibiting effect of H2O, O2, and NO on the performance of laboratory and pilot K-ZnxCo3-xO4 catalysts supported on α-Al2O3 for low-temperature N2O decomposition
EP0435736B1 (en) Method for producing raw materials for a reformer by cracking and desulfurizing petroleum fuels
AU662052B2 (en) A process for the recovery of mercury and arsenic in a hydrocarbon cut
US4505880A (en) Process for the hydrodesulfurization and deoxygenation of a gas containing oxygen and organic sulfur compounds
TH5593B (th) วิธีการแยกสารปรอทและสารหนูในไฮโดรคาร์บอนออก
TH7773A (th) วิธีการแยกสารปรอทและสารหนูในไฮโดรคาร์บอนออก
EP0061578A1 (en) Process for producing hydrogen
CN102959053A (zh) 在重整过程中用于进料和产物纯化的吸附剂
Montagna et al. Backmixing effect in an upflow cocurrent hydrodesulfurization reactor
CN1136046C (zh) 一种双功能硫磺回收催化剂及其制备方法
WO2003099712A1 (en) Process for catalytic partial oxidation reactions
KR920016580A (ko) 방향족화 또는 탈방향족화 단위장치의 장입물로 부터 수은 및/또는 비소의 제거방법
Yates et al. Kinetics of the reaction between sulfur dioxide, oxygen, and cupric oxide in a tubular, packed bed reactor
CA1059155A (en) Sulfur control over carbon formation in high temperature reforming operations
US3050460A (en) Concurrent deposition of lead sulfide and mercaptan conversion in hydrocarbon oils
TH7773EX (th) วิธีการแยกสารปรอทและสารหนูในไฮโดรคาร์บอนออก
Hasegawa et al. Simultaneous sintering, reduction and gasification of composite pellets, made of. Fine iron ore and heavy oil, in a fluidized bed
CA1046090A (en) Sulfur control over carbon formation in high temperature methanation operations