TH38168A - กรรมวิธีสำหรับการควบคุมกระบวนการสำหรับการแยกองค์ประกอบของของผสมในระบบการแยกแบบเบดเคลื่อนที่จำลองด้วยความถูกต้อง - Google Patents

กรรมวิธีสำหรับการควบคุมกระบวนการสำหรับการแยกองค์ประกอบของของผสมในระบบการแยกแบบเบดเคลื่อนที่จำลองด้วยความถูกต้อง

Info

Publication number
TH38168A
TH38168A TH9801001477A TH9801001477A TH38168A TH 38168 A TH38168 A TH 38168A TH 9801001477 A TH9801001477 A TH 9801001477A TH 9801001477 A TH9801001477 A TH 9801001477A TH 38168 A TH38168 A TH 38168A
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
flow rate
cycle
separation
variable
proportions
Prior art date
Application number
TH9801001477A
Other languages
English (en)
Other versions
TH24043B (th
Inventor
กูอังเนอ นายนิโกลัส
ดูแชน นายปาสกัล
โอติเอร์ เยราร์ด นายเยราร์ด
อูโม นายดอมินิก
Original Assignee
นายดำเนิน การเด่น
นายต่อพงศ์ โทณะวณิก
นายวิรัช ศรีเอนกราธา
นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์
Filing date
Publication date
Application filed by นายดำเนิน การเด่น, นายต่อพงศ์ โทณะวณิก, นายวิรัช ศรีเอนกราธา, นายจักรพรรดิ์ มงคลสิทธิ์ filed Critical นายดำเนิน การเด่น
Publication of TH38168A publication Critical patent/TH38168A/th
Publication of TH24043B publication Critical patent/TH24043B/th

Links

Abstract

DC60 กรรมวิธีสำหรับการควบคุม กระบวนการสำหรับการแยกองค์ประกอบของของผสมให้ตรงกัน แบบถาวรในระบบการแยกแบบเบดเคลื่อนที่จำลอง ด้วยความถูกต้องจากการวัดความเข้มข้น และอัตราการไหล ระบบนั้นประกอบด้วยชุดหอบรรจุ ที่ต่อเรียงกันเป็นวงจรปิด ที่ประกอบรวมด้วย บริเวณหลายบริเวณ ที่อยู่ระหว่างตำแหน่งการฉีดของไหล และการดึงออก การ ควบคุมกระบวนการ (แบบเชิงเส้นหรือแบบไม่เชิงเส้น) ถูกดำเนินการจากความรู้ทางด้านแบบจำลอง และจำนวนที่แน่นอนของตัวแปรการดำเนินการจำนวนมาก ที่ได้จากการวัด ณ ตำแหน่งต่าง ๆ ในวงรอบดังกล่าว (เช่น ความเข้มข้น และอัตราการไหล) และการวัดลักษณะเฉพาะของของไหล ที่ฉีดเข้า และที่ดึงออก สัดส่วน ที่สอดคล้องกับสัดส่วนระหว่างอัตราการไหลของของไหล กับ อัตราการไหลจำลองของสารดูดซับ ในแต่ละบริเวณแตกต่างกันถูกคำนวณหาจากค่าจริงของ ตัวแปรควบคุม ที่ขึ้นกับตัวแปรการดำเนินการที่วัดได้ (ความบริสุทธิ์ขององค์ประกอบต่าง ๆ ผล ผลิตของระบบ เป็นต้น) ค่าที่ต้องกำหนดเป็นตัวแปรการดำเนินการ เพื่อนำไป หรือนำตัว แปรควบคุมกลับคืน เพื่อกำหนดเป็นชุดค่าเบื้องต้น ถูกคำนวณหาจากสัดส่วนเหล่านี้ กรรมวิธีดัง กล่าว สามารถนำไปใช้สำหรับการทำให้กระบวนการแยกมีเสถียรภาพ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง สำหรับไฮโดรคาร์บอนชนิดอะโรมาติก เมื่อเกิดการเปลี่ยนแปลงอัตราการไหล หรือคุณภาพของสารป้อน กรรมวิธีสำหรับการควบคุม กระบวนการสำหรับการแยกองค์ประกอบของของผสมให้ตรงกันแบบถาวรในระบบการแยกแบบเบดเคลื่อนที่จำลอง ด้วยความถูกต้องจากการวัดความเข้มข้น และอัตราการไหล ระบบนั้นประกอบด้วยชุดหอบรรจุ ที่ต่อเรียงกันเป็นวงจรปิด ที่ประกอบรวมด้วยบริเวณหลายบริเวณ ที่อยู่ระหว่างตำแหน่งการฉีดของไหล และการดึงออก การควบคุมกระบวนการ(แบบเชิงเส้น หรือแบบไม่เชิงเส้น)ถูกดำเนินการจากความรู้ทางด้านแบบจำลอง และจำนวนที่แน่นอนของตัวแปรการดำเนินการจำนวนมาก ที่ได้จากการวัด ณ ตำแหน่งต่าง ๆ ในวงรอบดังกล่าว(เช่น ความเข้มข้น และอัตราการไหล)และการวัดลักษณะเฉพาะของของไหลที่ฉีดเข้า และที่ดึงออก สัดส่วน ที่สอดคล้องกับสัดส่วนระหว่างอัตราการไหลของของไหล กับอัตราการไหลจำลองของสารดูดซับ ในแต่ละบริเวณแตกต่างกันถูกคำนวณหาจากค่าจริงของตัวแปรควบคุม ที่ขึ้นกับตัวแปรการดำเนินการที่วัดได้(ความบริสุทธิ์ขององค์ประกอบต่างๆ ผลผลิตของระบบ เป็นต้น)ค่าที่ต้องกำหนดเป็นตัวแปรการดำเนินการเพื่อนำไปหรือนำตัวแปรควบคุมกลับคืน เพื่อกำหนดเป็นชุดค่าเบื้องต้น ถูกคำนวณหาจากสัดส่วนเหล่านี้ กรรมวิธีดังกล่าว สามารถนำไปใช้สำหรับการทำให้กระบวนการแยกมีเสถียรภาพ โดยเฉพาะอย่างยิ่งสำหรับสารประกอบไฮโดรคาร์บอนชนิดอะโรมาติกส์ เมื่อเกิดการเปลี่ยนแปลงอัตราการไหล หรือคุณภาพของสารป้อน

Claims (5)

1. กระบวนการสำหรับการควบคุมระบบการแยกองค์ประกอบแบบเบดเคลื่อนที่จำลองที่ประกอบรวมด้วย วงรอบการแยกแบบปิด ที่ประกอบด้วยการเชื่อมต่ออนุกรมระหว่างกันของเบด ที่บรรจุด้วยวัสดุของแข็งที่เป็นตัวดูด ซึ่งถูกแบ่งออกเป็นหลายบริเวณ ที่ถูกกำหนดโดยตำแหน่งการฉีดของไหลเข้าและดึงออก วิถีทางสำหรับการฉีดของไหลเข้าสู่วงรอบดังกล่าว,วิถีทางสำหรับการสกัดของไหลออกจากวงรอบ,วิถีทางจัดลำดับตำแหน่งการฉีดและดึงออก ที่ทำให้เบดเคลือนที่จำลองแบบส่วนทาง และวิธีทางสำหรับการวัดตัวแปรดำเนินการ ซึ่งกำหนดลักษณะเฉพาะที่ประกอบรวมด้วย การวัดลักษณะเฉพาะของตัวแปรของของไหล ซึ่งฉีดเข้าและดึงออก ณ หลายตำแหน่งตลอดทั้งวงรอบ และลักษณะเฉพาะของตัวแปรของการดำเนินการระบบการแยก การคำนวณหาสัดส่วน(Rk)ที่บ่งชี้สัดส่วนในแต่ละบริเวณหลายบริเวณ ระหว่างอัตราการไหลอของของไหล(Qk)กับอัตราการไหลจำลองของวัดสุตัวดูดซับ(Qs)ตามลำดับ จากค่าจริงของตัวแปรที่วัดได้ และด้วยการใช้แบบจำลองของระบบการแยก เพือนำไปหรือนำกลับค่าตัวแปรที่ถูกควบคุม(S)ไปยังชุดต่าง ๆ ที่คำนวณไว้และ การคำนวฯหาค่าที่กำหนดไว้เป็นตัวแปรดำเนินการจากสัดส่วน(Rk)เหล่านี้ 2. กระบวนการในข้อถือสิทธิข้อที่ 1,ซึ่งกำหนดลักษณะเฉพาะให้ค่าที่กำหนดให้เป็นตัวแปรดำเนินการถูกคำนวณหาด้วยการใช้แบบจำลองของระบบการแยกแบบไม่ใช้เชิงเส้น 3. กระบวนการในข้อถือสิทธิข้อที่ 2,ซึ่งกำหนดลักษณะเฉพาะให้มันประกอบรวมด้วย การนิยามตัวแปรที่ถูกควบคุม(S)จำนวน m ตัวแปร ที่ขึ้นกับค่าอัตราการไหล(D)และค่าความเข้มข้น(X)ในส่วนหนึ่งของวงรอบการแยกที่กล่าวแล้ว ซึ่งรวมถึงของส่วนย่อยอย่างต่อเนื่องที่ประกอบรวมด้วยบริเวณจำนวน n บริเวณ ที่ซึ่ง สัดส่วน(Rk)จำนวน n สัดส่วน ถูกนิยามไว้ จำนวน m จะมีค่าน้อยกว่าหรือเท่ากับจำนวน n,การวัดความเข้มข้นจะทำในวัฏภาคของเหลวที่ตำแหน่งสุดท้าย ของส่วนนี้และการคำนวณหาสัดส่วน(Rk)ที่กล่าวแล้ว จำนวน m สัดส่วนหรือสัดส่วนผสมรวมที่กล่าวแล้วจำนวน m สัดส่วน ที่ประกอบรวมด้วยพารามิเตอร์ จำนวน(n-m) 4. กระบวนการในข้อถือสิทธิข้อที่ 1,ซึ่งกำหนดลักษณะเฉพาะให้ค่าที่กำหนดให้เป็นตัวแปรดำเนินการ ถูกคำนวณหาด้วยการใช้แบบจำลองของระบบการแยกแบบเชิงเส้น ใกล้ตำแหน่งการดำเนินการที่กำหนดไว้ 5. กระบวนการในข้อถือสิทธิข้อที่ 1,ซึ่งกำหนดลักษณะเฉพาะให้มันประกอบรวมด้วย การนิยามตัวแปรที่ถูกควบคุม(S)จำนวน m ตัวแปร ที่ขึ้นกับค่าอัตราการไหล(D)และค่าความเข้มข้น(X)ในส่วนหนึ่งของวงรอบการแยกที่กล่าวแล้ว ซึ่งรวมถึงชั้นของส่วนย่อยอย่างต่อเนื้อง ที่ประกอบรวมด้วยบริเวณจำนวน n บริเวณ ที่ซึ่ง สัดส่วน(Rk)จำนวน n สัดส่วน ถูกนิยามไว้ จำนวน m จะมีค่าน้อยกวาหรือเท่ากับจำนวน n และการคำนวณหาสัดส่วน(Rk)ที่กล่าวแล้ว จำนวน m สัดส่วนหรือสัดส่วนผสมรวมที่กล่าวแล้วจำนวน m สัดส่วน ที่ประกอบรวมด้วยพารามิเตอร์จำนวน(n-m) 6. กระบวนการในข้อถือสิทธิข้อที่ 1,ซึ่งกำหนดลักษณะเฉพาะให้ตัวแปรดำเนินการ คืออัตราการไหลและคาบเวลา(T)ของการเปลี่ยนรตำแหน่งวาล์วที่ทำให้เกิดการเคลื่อนที่หรือเบดที่จะถูกจำลองขึ้น 7. กระบวนการในข้อถือสิทธิข้อที่ 1,ซึ่งกำหนดลักษณะเฉพาะในห้วงรอบการแยก ที่ประกอบรวมด้วยบริเวณหลักสี่บริเวณ ตัวแปรที่ถูกควบคุม(S)เช่น ผลผลิตของวงรอบ และความบริสุทธิ์ขององค์ประกอบหนึ่งของของผสมเป็นอย่างน้อย ถูกควบคุมพร้อม ๆ กัน จากการวัดความเข้มข้นต่าง ๆ ให้ตรงกัน 8. กระบวนการในข้อถือสิทธิข้อที่ 1,ซึ่งกำหนดลักษณะเฉพาะให้กระบวนการดังกล่าวประกอบรวมด้วยการวัดความเข้มข้นด้วยวิธีวิเคราะห์ให้ตรงกันแบบราแมน หรือด้วยวิธีวิเคราะห์แบบโครมาโทกราฟิก หรือ้ดวยวิธีวิเคราะห์แบบใกล้อินฟาเรด (NIR) 9. กระบวนการในข้อถือสิทธิข้อที่ 8,ซึ่งกำหนดลักษณะเฉพาะให้ค่าของสัดส่วนระหว่างความเข้มข้นขององค์ประกอบในของไหลดึงออก ถูกเลือกเป็นตัวแปรที่ถูกควบคุม 1 0. กระบวนการในข้อถือสิทธิข้อที่ 1,ซึ่งกำหนดลักษณะเฉพาะให้ในกรณีของระบบการแยกแบบสี่บริเวณ อย่างน้อยปริมาณหนึ่งในสี่ปริมาณต่อไปนี้ จะถูกเลือกเป็นตัวแปรที่ถูกควบคุมความบริสุทธิ์ขององค์ประกอบลำดับที่หนึ่งในของไหลซึ่งถูกสกัดออกจากวงรอบดังกล่าว ผลผลิตของระบบการแยกสำหรับองค์ประกอบ ส่วนเหลือค้างที่ด้านหลังในบริเวณที่หนึ่งของสี่บริเวณขององค์ประกอบลำดับที่หนึ่งที่กล่าวแล้ว ในลักษณะที่เปรียบเทียบกับทิศทางการไหลเวียนของของไหลหรือส่วนเหลือค่างที่ด้านหน้าในส่วนสุดท้ายของสี่บริเวณที่กล่าวแล้วขององค์ประกอบอื่นทั้งหมด ยกเว้นองค์ประกอบลำดับที่หนึ่ง ในลักษณะที่เปรีบบเทียบกับทิศทางการไหลเวียนของของไหล 1
1. กระบวนการในข้อถือสิทธิข้อที่ 1,ซึ่งกำหนดลักษณะเฉพาะให้ความรู้ด้านแบบจำลองบนพื้นฐานของไอโซเธอร์แบบไม่ใช่เชิงเส้นและควบคู่กัน มีค่าการเลือกสรรสองจุดเริ่มต้นหรือไอโซเมอร์ทั่วไปแบบแลงเมียร์ - ฟรอนดลิช ถูกนำมาใช้สำหรับการจำลองระบบการแยก 1
2. กระบวนการในข้อถือสิทธิข้อที่ 1,ซึ่งกำหนดลักษณะเฉพาะให้ค่าของสัดส่วน(Rk)ในวงรอบการแยกที่ประกอบด้วยบริเวณที่แน่นอนจำนวน p บริเวณ ที่ทราบก่อนแล้ว ค่าที่สอดคล้องกับสัดส่วนเพิ่มเติม ที่เป็นผลมาจากการนำเข้าหรือตำแหน่งการฉีดเพิ่มเติมอย่างน้อยหนึ่งตำแหน่ง ในวงรอบการแยกถูกคำนวณหาในลักษณะเป็นฟังก์ชันของค่าสัดส่วนในบริเวณติดกันที่ทราบค่าแล้วและค่าของอัตราการไหลเข้าของการฉีด ณ ตำแหน่งของการฉีดเพิ่มเติม ที่กล่าวแล้ว 1
3. กระบวนการในข้อถือสิทธิข้อที่ 1,ซึ่งกำหนดลักษณะเฉพาะให้ค่าของสัดส่วน(Rk)ในวรอบการแยก ที่ประกอบด้วยบริเวณที่แน่นอนจำนวน p บริเวณ จะเป็นที่ทราบก่อนแล้ว ค่าที่สอดคล้องกับสัดส่วนเพิ่มเติม ที่เป็นผลจากการนำเข้าที่ตำแหน่งการดึ่งออกเพิ่มเติมอย่างน้อยหนึ่งตำแหน่งในวงรอบการแยก ถูกคำนวณหาในลักษณะฟังก์ชั่นของค่าสัดส่วน ในบริเวณติดกันที่ทราบค่าและ และค่าของอัตราการไหลในการดึงออก ณ ตำแหน่งการดึงของไหลออกเพิ่มเติม ที่กล่าวแล้ว 1
4. กระบวนการในข้อถือสิทธิข้อที่ 1,ซึ่งกำหนดลักษณะเฉพาะให้การหากลไกที่เหมาะสมถูกเลือกให้ตามลำดับที่กำหนดไว้ต่อไปนั้น สำหรับหาค่าตัวแปรที่ถูกควบคุมที่จะได้รับ 1
5. กระบวนการในข้อถือสิทธิข้อที่ 1,ซึ่งแยกไฮโดรคาร์บอนชนิดอะโรมาติก ที่มีอะตอมคาร์บอน 8 อะตอม
TH9801001477A 1998-04-24 กรรมวิธีสำหรับการควบคุมกระบวนการสำหรับการแยกองค์ประกอบของของผสมในระบบการแยกแบบเบดเคลื่อนที่จำลองด้วยความถูกต้อง TH24043B (th)

Publications (2)

Publication Number Publication Date
TH38168A true TH38168A (th) 2000-04-21
TH24043B TH24043B (th) 2008-07-10

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
Klatt et al. Model-based optimization and control of chromatographic processes
Balannec et al. From batch elution to simulated countercurrent chromatography
Nolen Numerical simulation of compositional phenomena in petroleum reservoirs
Ching et al. Experimental study of a simulated counter-current adsorption system-V. Comparison of resin and zeolite absorbents for fructose-glucose separation at high concentration
US3830698A (en) Method and apparatus for controlling the temperature in a fractionation column
KR100493756B1 (ko) 모사 이동 베드 분리 시스템 내에서 혼합물의 성분 분리 공정의 정밀 제어 방법
DE19826384B4 (de) Verfahren zur Betriebsoptimierung eines Trennsystems für Komponenten einer Mischung
CN107249709A (zh) 基于压力探测的自动化层析柱切换控制
Fabries et al. Experimental measurements of phase equilibrium properties for systems containing n-heptane, benzene, N-methylpyrrolidone, and monoethanolamine. Representation by the NRTL equation
Lee Continuous separation of glucose and fructose at high concentration using two-section simulated moving bed process
Rajendran et al. Modelling binary non-linear chromatography using discrete equilibrium data
US7192526B2 (en) Method of optimizing the operation of a xylene separation unit using simulated countercurrent
TH38168A (th) กรรมวิธีสำหรับการควบคุมกระบวนการสำหรับการแยกองค์ประกอบของของผสมในระบบการแยกแบบเบดเคลื่อนที่จำลองด้วยความถูกต้อง
TH24043B (th) กรรมวิธีสำหรับการควบคุมกระบวนการสำหรับการแยกองค์ประกอบของของผสมในระบบการแยกแบบเบดเคลื่อนที่จำลองด้วยความถูกต้อง
KR100678426B1 (ko) 모의 실험에 의한 모의 이동상 분리계의 최적 안정화 조건결정 방법
Rijks et al. Characterization of hydrocarbons in complex mixtures by two-dimensional precision gas chromatography
Fütterer Adaptive Control of Simulated Moving Bed Plants Using Comsol’s Simulink Interface
Civan Finite-analytic cubature based numerical method for reservoir simulation
Steiner et al. Concentration profiles in a packed distillation column
Oh et al. Modeling and optimization of simulated moving bed chromatography with side streams
Karlsson et al. Retention in coupled capillary column supercritical fluid chromatography with lipids as model compounds
Keskinen et al. Efficient approximate method for packed column separation performance simulation
Bonmati et al. Gas chromatography: A new industrial process of separation. Application to essential oils
DE3209425C2 (th)
Balannec et al. I. EXPERIMENTAL DATA AND MODELS: WHAT ARE THE LINKS?