TH2101000457A - กรรมวิธีสำหรับผลิตชั้นทำให้เกิดผลเชิงแสง - Google Patents

กรรมวิธีสำหรับผลิตชั้นทำให้เกิดผลเชิงแสง

Info

Publication number
TH2101000457A
TH2101000457A TH2101000457A TH2101000457A TH2101000457A TH 2101000457 A TH2101000457 A TH 2101000457A TH 2101000457 A TH2101000457 A TH 2101000457A TH 2101000457 A TH2101000457 A TH 2101000457A TH 2101000457 A TH2101000457 A TH 2101000457A
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
magnetic
magnets
process according
temporary
flake
Prior art date
Application number
TH2101000457A
Other languages
English (en)
Inventor
แกนเนอพูร์ นีดามูลเลอร์ เอ็ดการ์ชมิด มาติเยอเดสแปลงด์ โคลด อแลง นิคเซอแรชต์
Original Assignee
ซิกพา โฮลดิ้ง เอสเอ
Filing date
Publication date
Application filed by ซิกพา โฮลดิ้ง เอสเอ filed Critical ซิกพา โฮลดิ้ง เอสเอ
Publication of TH2101000457A publication Critical patent/TH2101000457A/th

Links

Abstract

การประดิษฐ์เกี่ยวกับวงการของการปกป้องเอกสารป้องกันการปลอมแปลง เช่น ตัวอย่างเช่น ธนบัตร และเอกสารระบุตัวตนต้านการปลอมแปลง และการผลิตซ้ำแบบผิดกฏหมาย โดยเฉพาะ การประดิษฐ์นี้ให้กรรมวิธีสำหรับชั้นทำให้เกิดผลเชิงแสง (OEL) ที่แสดงลักษณะเฉพาะซ้อนในสอง ชั้นหรือมากกว่า โดยใช้ชิ้นส่วนแม่เหล็กที่ประกอบรวมด้วย i) แผ่นแม่เหล็กชั่วคราว (x31) ที่ประกอบ รวมด้วย a) ช่องว่าง (V) หนึ่งแห่งหรือมากกว่า และ b) รอยเว้า (I) หนึ่งแห่งหรือมากกว่า และ/หรือ ส่วนยื่น (P) หนึ่งแห่งหรือมากกว่า และ ii) แม่เหล็กไดโพล (x32) หนึ่งชนิดหรือมากกว่า

Claims (15)

1. 1. กรรมวิธีสำหรับผลิตชั้นทำให้เกิดผลเชิงแสง (OEL) ที่แสดงลักษณะเฉพาะซ้อนในสองชั้น หรือมากกว่าบนซับสเทรท (x20) ซึ่งกรรมวิธีดังกล่าวประกอบรวมด้วยขั้นตอนของ: a) การประยุกต์ใช้ลงบนพื้นผิวซับสเทรท (x20) ด้วยองค์ประกอบเคลือบที่ประกอบรวมด้วย i) อนุภาคสารสีแม่เหล็กหรือเป็นแม่เหล็กได้รูปเกล็ด และ ii) วัสดุยึดเพื่อที่จะก่อรูปชั้นเคลือบ (x10) บนซับสเทรท (x20) ดังกล่าว โดยองค์ประกอบเคลือบดังกล่าวอยู่ในสถานะของเหลวแรก; b) การนำชั้นเคลือบ (x10) มาสัมผัสกับสนามแม่เหล็กของชิ้นส่วนแม่เหล็ก (x30) ที่ประกอบ รวมด้วย i) แผ่นพิมพ์แม่เหล็กชั่วคราว (x31) ที่ประกอบรวมด้วยโลหะแม่เหล็กชั่วคราวหนึ่งชนิดหรือ มากกว่า, อัลลอย หรือสารประกอบที่มีสภาพให้แม่เหล็กซึมซาบได้สูง หรือเตรียมจากวัสดุเชิง ประกอบที่ประกอบรวมด้วยจากประมาณ 25 % โดยน้ำหนัก ถึงประมาณ 95 % โดยน้ำหนักของ อนุภาคแม่เหล็กชั่วคราวที่กระจายตัวในวัสดุที่ไม่ใช่แม่เหล็ก โดยเปอร์เซ็นต์น้ำหนักเทียบกับน้ำหนัก ทั้งหมดของแผ่นพิมพ์แม่เหล็ก (x31), ที่ซึ่งแผ่นพิมพ์แม่เหล็กชั่วคราว (x31) ประกอบรวมด้วยช่องว่าง (V) หนึ่งแห่งหรือมากกว่า สำหรับรับแม่เหล็กไดโพล (x32) หนึ่งชนิดหรือมากกว่า, ที่ซึ่งแผ่นพิมพ์แม่เหล็กชั่วคราว (x31) ประกอบรวมด้วยรอยเว้า (I) หนึ่งแห่งหรือมากกว่า และ/หรือส่วนยื่น (P) หนึ่งแห่งหรือมากกว่า ซึ่งแต่ละส่วนของรอยเว้า (I) หนึ่งแห่งหรือมากกว่า ดังกล่าว และ/หรือส่วนยื่น (P) หนึ่งแห่งหรือมากกว่าก่อรูปลักษณะเฉพาะรูปห่วงต่อเนื่องหนึ่งชนิด หรือมากกว่า และ/หรือลักษณะเฉพาะรูปห่วงไม่ต่อเนื่องหนึ่งชนิดหรือมากกว่า และ ที่ซึ่งช่องว่าง (V) หนึ่งแห่งหรือมากกว่าถูกล้อมรอบโดยลักษณะเฉพาะรูปห่วงต่อเนื่องหนึ่ง ชนิดหรือมากกว่า และ/หรือช่องว่าง (V) หนึ่งแห่งหรือมากกว่าถูกล้อมรอบโดยลักษณะเฉพาะรูปห่วง ไม่ต่อเนื่องหนึ่งชนิดหรือมากกว่า, ii) แม่เหล็กไดโพล (x32) หนึ่งชนิดหรือมากกว่า ซึ่งแต่ละส่วนของแม่เหล็กไดโพล (x32) หนึ่งชนิดหรือมากกว่าดังกล่าว มีแกนแม่เหล็กของมันที่จัดว่าตั้งฉากกับพื้นผิวซับสเทรท (x20) และ ทั้งหมดของแม่เหล็กไดโพล (x32) หนึ่งชนิดหรือมากกว่าดังกล่าว ที่มีทิศทางแม่เหล็กเดียวกัน ที่ซึ่ง แม่เหล็กไดโพล (x32) หนึ่งชนิดหรือมากกว่าดังกล่าว ถูกจัดวางภายในช่องว่าง (V) หนึ่งแห่งหรือ มากกว่า; และ c) การเพิ่มความแข็งให้องค์ประกอบเคลือบจนอยู่ในสถานะที่สอง เพื่อที่จะตรึงอนุภาคสารสี แม่เหล็กหรือเป็นแม่เหล็กได้รูปเกล็ดในตำแหน่งและการกำหนดทิศทางที่เลือกใช้ของอนุภาคเหล่านั้น
2. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ที่ซึ่งแผ่นพิมพ์แม่เหล็กชั่วคราว (x31) ประกอบรวมด้วยรอย เว้า (I) หนึ่งแห่งหรือมากกว่า และที่ซึ่งพื้นผิวด้านบนของแม่เหล็กไดโพล (x32) หนึ่งชนิดหรือ มากกว่าถูกกดกับพื้นผิวด้านบนของแผ่นพิมพ์แม่เหล็กชั่วคราว (x31)
3. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ที่ซึ่งแผ่นพิมพ์แม่เหล็กชั่วคราว (x31) ประกอบรวมด้วย ส่วนยื่น (P) หนึ่งแห่งหรือมากกว่า และที่ซึ่งพื้นผิวด้านบนของแม่เหล็กไดโพล (x32) หนึ่งชนิดหรือ มากกว่าถูกกดกับพื้นผิวด้านบนของแผ่นพิมพ์แม่เหล็กชั่วคราว (x31)
4. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิก่อนหน้านี้ข้อใดข้อหนึ่ง ซึ่งยังประกอบรวมด้วยขั้นตอนการนำ ชั้นเคลือบ (x10) มาสัมผัสกับสนามแม่เหล็กแบบไดนามิคของอุปกรณ์ เพื่อที่จะกำหนดทิศทาง แบบสองแกนอย่างน้อยส่วนของอนุภาคสารสีแม่เหล็กหรือเป็นแม่เหล็กได้รูปเกล็ด ซึ่งขั้นตอน ดังกล่าวเกิดขึ้นก่อนหรือในเวลาเดียวกับขั้นตอน b) และก่อนขั้นตอน c)
5. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิก่อนหน้านี้ข้อใดข้อหนึ่ง ที่ซึ่งแผ่นพิมพ์แม่เหล็กชั่วคราว (x31) ถูกเตรียมจากวัสดุเชิงประกอบที่ประกอบรวมด้วยจากประมาณ 25 % โดยน้ำหนัก ถึงประมาณ 95 % โดยน้ำหนักของอนุภาคแม่เหล็กชั่วคราวที่กระจายตัวในวัสดุที่ไม่ใช่แม่เหล็กที่เป็นพอลิเมอริค เมทริกซ์ที่ประกอบรวมด้วยหรือประกอบด้วยวัสดุเทอร์โมพลาสติกอย่างใดอย่างหนึ่งที่เลือกจาก กลุ่มที่ประกอบด้วยพอลิเอไมด์, โค-พอลิเอไมด์, พอลิพทาลิไมด์, พอลิโอเลฟิน, พอลิเอสเทอร์, พอลิเททระฟลูออโรเอธิลีน, พอลิแอคริเลท, พอลิเมธาคริเลท, พอลิอิไมด์, พอลิอีเธอริไมด์, พอลิ อีเธอร์อีเธอร์คีโทน, พอลิแอริลอีเธอร์คีโทน, พอลิเฟนิลีน ซัลไฟด์, พอลิเมอร์ผลึกเหลว, พอลิ คาร์บอเนท และของผสมของสารนั้น หรือวัสดุเทอร์โมเซททิงที่เลือกจากกลุ่มที่ประกอบด้วยอีพอกซิ เรซิน, ฟนอลิค เรซิน, พอลิอิไมด์ เรซิน, ซิลิคอน เรซิน และของผสมของสารนั้น
6. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิก่อนหน้านี้ข้อใดข้อหนึ่ง ที่ซึ่งอนุภาคแม่เหล็กชั่วคราวถูกเลือกจาก กลุ่มที่ประกอบด้วยคาร์บอนิล ไอรอน, คาร์บอนิล นิเกิล, โคบอลพ์ และสารเหล่านั้นรวมกัน
7. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิก่อนหน้านี้ข้อใดข้อหนึ่ง ที่ซึ่งอนุภาคแม่เหล็กชั่วคราวมี d50 ระหว่างประมาณ 0.5 ไมโครเมตร และประมาณ 100 ไมโครเมตร
8. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิข้อ 5 ถึง 7 ข้อใดข้อหนึ่ง ที่ซึ่งช่องว่าง (V) หนึ่งแห่งหรือมากกว่า มีความลึกระหว่างประมาณ 5 % และประมาณ 100 % เมื่อเปรียบเทียบกับความหนาของแผ่นพิมพ์ แม่เหล็กชั่วคราว (x31) และ/หรือรอยเว้า (I) หนึ่งแห่งหรือมากกว่ามีความลึกระหว่างประมาณ 5 % และประมาณ 100 %, ที่ควรใช้คือระหว่างประมาณ 5 % และ 90 % เมื่อเปรียบเทียบกับความหนาของ แผ่นพิมพ์แม่เหล็กชั่วคราว (x31) และ/หรือส่วนยื่น (P) หนึ่งแห่งหรือมากกว่ามีความสูง (H) ระหว่าง ประมาณ 5 % และประมาณ 100 % เมื่อเปรียบเทียบกับความหนาของแผ่นพิมพ์แม่เหล็กชั่วคราว (X31)
9. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิก่อนหน้านี้ข้อใดข้อหนึ่ง ที่ซึ่งเส้นผ่าศูนย์กลางของแม่เหล็กไดโพล (x32) หนึ่งชนิดหรือมากกว่าเล็กกว่าขนาดของช่องว่าง (V) หนึ่งแห่งหรือมากกว่า
10. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิก่อนหน้านี้ข้อใดข้อหนึ่ง ที่ซึ่งขั้นตอน c) ของการเพิ่มความแข็ง องค์ประกอบเคลือบถูกดำเนินการในเวลาเดียวกันบางส่วนกับขั้นตอน b)
11. กรรมวิธีตามข้อถือสิทธิก่อนหน้านี้ข้อใดข้อหนึ่ง, ที่ซึ่งอนุภาคสารสีแม่เหล็กหรือเป็น แม่เหล็กได้รูปเกล็ดคืออนุภาคสารสีแม่เหล็กหรือเป็นแม่เหล็กได้ชนิดแปรเปลี่ยนเชิงแสงได้รูปเกล็ด ที่เลือกจากกลุ่มที่ประกอบด้วยอนุภาคสารสีแทรกสอดแบบพิค์มบางชนิดแม่เหล็กรูปเกล็ด, อนุภาค สารสีผลึกเหลวคอเลสเทอริคชนิดแม่เหล็กรูปเกล็ด, อนุภาคสารสีเคลือบชนิดแทรกสอดรูปเกล็ดที่ ประกอบรวมด้วยวัสดุแม่เหล็ก และของผสมของวัสดุนั้นสองชนิดหรือมากกว่า
12. ชั้นทำให้เกิดผลเชิงแสง (OEL) ที่ผลิตโดยกรรมวิธีที่บรรยายในข้อถือสิทธิข้อ 1 ถึง 11 ข้อใดข้อหนึ่ง
13. เอกสารป้องกันการปลอมแปลง หรือส่วนประกอบหรือสิ่งของตกแต่งที่ประกอบรวมด้วย ชั้นทำให้เกิดผลเชิงแสง (OEL) หนึ่งชนิดหรือมากกว่าที่บรรยายในข้อถือสิทธิข้อ 12
14. วิธีผลิตเอกสารป้องกันการปลอมแปลง หรือส่วนประกอบหรือสิ่งของตกแต่ง ซึ่ง ประกอบรวมด้วย: a) การจัดให้มีเอกสารป้องกันการปลอมแปลง หรือส่วนประกอบหรือสิ่งของตกแต่ง และ b) การจัดให้มีชั้นทำให้เกิดผลเชิงแสงตามกรรมวิธีของข้อถือสิทธิข้อ 1 ถึง 11 ข้อใดข้อหนึ่ง เพื่อให้ชั้นนี้ถูกประกอบรวมโดยเอกสารป้องกันการปลอมแปลง หรือส่วนประกอบหรือสิ่งของ ตกแต่ง
15. การใช้แผ่นพิมพ์แม่เหล็กชั่วคราว (x31) ที่บรรยายในข้อถือสิทธิข้อ 1 ถึง 11 ข้อใดข้อหนึ่ง ร่วมกับแม่เหล็กไดโพล (x32) หนึ่งชนิดหรือมากกว่า ที่ซึ่งแต่ละส่วนของแม่เหล็กไดโพล (x32) หนึ่ง ชนิดหรือมากกว่าดังกล่าวมีแกนแม่เหล็กที่จัดว่าตั้งฉากกับพื้นผิวซับสเทรท (x20) และทั้งหมดของ แม่เหล็กไดโพล (x32) หนึ่งชนิดหรือมากกว่าดังกล่าวมีทิศทางแม่เหล็กเดียวกัน ที่ซึ่งแม่เหล็กไดโพล (x32) หนึ่งชนิดหรือมากกว่าดังกล่าวถูกจัดวางภายในช่องว่าง (V) สำหรับกำหนดทิศทางแม่เหล็กอนุภาคสารสีแม่เหล็กหรือเป็นแม่เหล็กได้รูปเกล็ดใน ชั้นเคลือบบนซับสเทรท
TH2101000457A 2019-06-18 กรรมวิธีสำหรับผลิตชั้นทำให้เกิดผลเชิงแสง TH2101000457A (th)

Publications (1)

Publication Number Publication Date
TH2101000457A true TH2101000457A (th) 2022-09-05

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
JP2019525851A5 (th)
RU2018145679A (ru) Способы получения слоев с эффектом
RU2018145609A (ru) Способы получения слоев с эффектом
CN109311050B (zh) 用于生产包括取向的非球状的磁性或可磁化颜料颗粒的光学效应层的设备和方法
KR102126705B1 (ko) 조성물
CN108698077A (zh) 用于生产包括取向的非球状的磁性或可磁化颜料颗粒的光学效应层的设备和方法
CN113631282B (zh) 用于生产包含取向的非球状磁性或可磁化颜料颗粒的光学效应层的磁性组件和方法
CN112088050A (zh) 用于生产包括取向的非球状的磁性或可磁化颜料颗粒的光学效应层的磁性组件、设备和方法
US20130309488A1 (en) Resin molded body and method of manufacturing same
US20230343513A1 (en) Production of permanent magnets using electrophoretic deposition
US20050142353A1 (en) Method of making an article including particles oriented generally along an article surface
US20130089733A1 (en) Structural panels stiffened by magnetically-assisted application of thick polymer coatings
US20210294002A1 (en) Magnetizable particles forming light controlling structures and methods of making such structures
TH2101000457A (th) กรรมวิธีสำหรับผลิตชั้นทำให้เกิดผลเชิงแสง
KR20100018492A (ko) 기판에 자성층을 형성하는 방법 및 인쇄할 수 있는 자화가능한 바니시
KR20170037569A (ko) 3d 프린팅용 조성물
WO2010006573A2 (de) Lager und motor mit einem magneten
WO2008081092A2 (fr) Dispositif et procede de mesure de la position d'une piece mobile
JPWO2020025482A5 (th)
JPWO2020025218A5 (th)
TH2001003987A (th) กรรมวิธีสำหรับผลิตชั้นทำให้เกิดผลเชิงแสง
CN109983063A (zh) 热固性组合物
RU2798824C2 (ru) Магнитные сборки и способы получения слоев с оптическим эффектом, содержащих ориентированные несферические магнитные или намагничиваемые частицы пигмента
KR101466713B1 (ko) 방탄용 자기유체 복합재의 자석 프레임 및 이의 제작 방법
JP2007029894A (ja) パターン形成方法