TH1903002198C3 - Method for the production of a two-serotype vaccine of Streptococcus agalactia (Streptococcus agalactiae) to prevent streptococcosis. streptococcosis in tilapia farming - Google Patents

Method for the production of a two-serotype vaccine of Streptococcus agalactia (Streptococcus agalactiae) to prevent streptococcosis. streptococcosis in tilapia farming

Info

Publication number
TH1903002198C3
TH1903002198C3 TH1903002198U TH1903002198U TH1903002198C3 TH 1903002198 C3 TH1903002198 C3 TH 1903002198C3 TH 1903002198 U TH1903002198 U TH 1903002198U TH 1903002198 U TH1903002198 U TH 1903002198U TH 1903002198 C3 TH1903002198 C3 TH 1903002198C3
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
vaccine
serotype
agalactiae
streptococcus
tilapia
Prior art date
Application number
TH1903002198U
Other languages
Thai (th)
Inventor
อารีย์ชนนางสาวศศิมนัส อุณจักร์นางสาวกรทิพย์ กันนิการ์ นายนนทวิทย์
Original Assignee
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
Filing date
Publication date
Application filed by มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ filed Critical มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
Publication of TH1903002198C3 publication Critical patent/TH1903002198C3/en

Links

Abstract

กรรมวิธีการผลิตวัคซีนสองซีโรไทป์ของเชื้อสเตรปโตคอคคัสอะกาแลคเทีย (Streptococcus agaiactiae)เพื่อป้องกันโรคสเตร็ปโตค็อคโคซีส (streptococcosis) ในการเลี้ยงปลานิลเป็นการพัฒนาวัคซีนเริ่มจากการแยกเชื้อแบคทีเรียก่อโรคชนิดสเตรปโตคอคคัสอะกาแลคเทีย (S. agaiactiae) ที่เป็นสาเหตุของโรคสเตร็ปโตค็อคโคซิส (Strepcoccosis) ที่ระบาดในการเลี้ยงปลานิลและปลาทับทิมของประเทศไทยและทำการจัดกลุ่มในลักษณะของซีโรไทป์ (serotyping profile) จากยีนที่ควบคุมความรุนแรงในกลุ่มแคปซูล่าโพลีแซคคาไรด์คลัสเตอร์(Capsular Polysaccharide Cluster [cps genes]) และพบว่าในประเทศไทยมีเชื้อสเตรปโตคอคคัสอะกาแลคเทีย (Streptococcus agaiactiae) จำนวนสองซีโรไทป์ ซึ่งได้นำไปเตรียมเป็นวัคซีนรวมสองซีโรไทป์เพื่อป้องกันโรคโรคสเตร็ปโตค็อคโคซิส (streptococcosis) ที่มีประสิทธิภาพและสามารถนำไปใช้ในระดับฟาร์มเลี้ยงปลานิลของประเทศไทยอย่างมีประสิทธิภาพต่อไป ------------ หน้า 1 ของจำนวน 1 หน้า บทสรุปการประดิษฐ์ กรรมวิธีการผลิตวัคซีนสองซีโรไทป์ของเชื้อสเตรปโตคอคคัสอะกาแลคเทีย (Streptococcus agalactioe) เพื่อป้องกันโรคสเตร็ปโตค็อคโคซีส (streptococcosis) ในการเลี้ยงปลานิลเป็นการพัฒนาวัคซีนเริ่มจาก การแยกเชื้อแบคทีเรียก่อโรคชนิดสเตรปโตคอคคัสอะกาแลคเทีย (S. agalactiae) ที่เป็นสาเหตุของโรคส เตร็ปโตค็อคโคซีส (Strepcoccosis) ที่ระบาดในการเลี้ยงปลานิลและปลาทับทิมของประเทศไทยและทำ การจัดกลุ่มในลักษณะของซีโรไทป์ (serotyping profile) จากยีนที่ควบคุมความรุนแรงในกลุ่มแคปซูล่า โพลีแซคคาไรด์คลัสเตอร์(Capsular Polysaccharide Cluster [cps genes]) และพบว่าในประเทศไทยมี เชื้อสเตรปโตคอคคัสอะกาแลคเทีย (Streptococcus ogoloctioe) จำนวนสองซีโรไทป์ ซึ่งได้นำไปเตรียม เป็นวัคซีนรวมสองซีโรไทป์เพื่อป้องกันโรคโรคสเตร็ปโตค็อคโคซิส (streptococcosis) ที่มีประสิทธิภาพ และสามารถนำไปใช้ในระดับฟาร์มเลี้ยงปลานิลของประเทศไทยอย่างมีประสิทธิภาพต่อไป Method for the production of a two-serotype vaccine of Streptococcus agalactia (Streptococcus agaiactiae) to prevent streptococcosis. Streptococcosis in tilapia culture is a vaccine development that begins with the isolation of the pathogenic bacteria Streptococcus agalactiae (S. agaiactiae) that causes strep disease. coccosis Epidemic strepcoccosis in tilapia and ruby fish farming in Thailand and grouped by serotyping profile from virulence genes in the polysaccharide capsule cluster. (Capsular Polysaccharide Cluster [cps genes]) and found that in Thailand there is Streptococcus agalactia. Two serotypes of Streptococcus agaiactiae which has been prepared as a two-serotype combination vaccine for the prevention of streptococcosis (Streptococcosis) effective and can be used in tilapia farms in Thailand effectively. ------------ Page 1 of 1 Page Summary of the invention Method for the production of a two-serotype vaccine of Streptococcus agalactia (Streptococcus agalactioe) to prevent streptococcosis (streptococcosis) in tilapia culture is a vaccine development starting from Isolation of Streptococcus agalactiae (S. agalactiae) pathogenic bacteria Streptococcosis (Strepcoccosis) epidemic in tilapia and ruby fish farming in Thailand and made Serotyping profiles from virulence-regulating genes in the capsule group Polysaccharide Cluster (Capsular Polysaccharide Cluster [cps genes]) and was found in Thailand. Streptococcus agalactia Two serotypes of Streptococcus ogoloctioe prepared It is a two-serotype combination vaccine for the prevention of streptococcosis. Effective streptococcosis and can be used effectively in tilapia farms in Thailand.

Claims (1)

1. กรรมวิธีการผลิตวัคซีนสองซีโรโทป์ของเชื้อสเตรปโตคอคคัสอะกาแลคเทีย(Streptococcusagalactiae)เพื่อป้องกันโรคสเตร็ปโตค็อคโคซิส(streptococcosis) ในการเลี้ยงปลานิล ประกอบด้วยขั้นตอนดังนี้ก. ทำการแยกเชื้อแบคทีเรียเชื้อสเตรปโตคอคคัสอะกาแลคเทีย (S. agalactiae)จากแหล่งเลี้ยงปลานิล/ปลาทับทิมจากแหล่งต่าง ๆ ในประเทศไทย โดยคัดเลือกปลานิลที่ป่วยและแสดงอาการของโรคสเตร็ปโตค็อคโคซิส(streptococcoisis)และผ่าซากปลาเพื่อเก็บตัวอย่างแบคทีเรียจากสมองตับม้ามและโตส่วนหลังโดยเขี่ยเชื้อจากอวัยวะดังกล่าวลงบนอาหารเลี้ยงเชื้อชนิดเบรนฮาร์ทอินทีวซั่นเอการ์(Brain HeartInfusion (BHI) agar) โดยมีจำนวนปลาทั้งหมด 401 ตัวอย่าง จากแหล่งเลี้ยงปลานิลทั้ง 4 ภาคของประเทศไทยข. นำตัวอย่างที่ได้จากข้อ ก. มายืนยันชนิดของแบคทีเรียสเตรปโตคอคคัสอะกาแลคเทีย(S. agalactiae)จากการทดสอบด้วยเทคนิคทางด้านจุลชีววิทยา คุณสมบัติทางชีวเคมีเบื้องต้น(Biochemical test) ด้วยชุดทดสอบเอพีไอ 20 สเตร็ป(API 20 STREP) และตรวจยืนยันชนิดของเชื้อด้วยยีนเทคนิคโพลีเมอเรส เชน รีแอคชั่น(Polymerase Chain Reaction ; PCR)สิบหกเอสอาร์เอ็นเอ (16SrRNA)lพื่อศึกษาลำดับเบส (sequencing) ในการแยกชนิดต่อไป ซึ่งได้เชื้อแบคทีเรียสเตรปโตคอคคัสอะกาแลคเทีย(S. agalactiae)จำนวน 124 ตัวอย่าง หลังการจำแนกแบคทีเรียเชื้อสเตรปโตคอคคัสอะกาแลคเทีย(S. agalactiae)ได้จากปลาที่เป็นโรคแล้ว ทำการจัดแบ่งกลุ่มของเชื้อที่พบตามลักษณะของชีโรไทป์จากยีนที่ควบคุมความรุนแรงในกลุ่มแคปซูลล่าโพลีแซคคาไรด์คลัสเตอร์ (Capsular PolysaccharideCluster: cps genes) และได้ออกแบบไพร์เมอร์ที่มีความจำเพาะต่อยืนในกลุ่มแคปซูลล่าโพลี-แซคคาไรด์คลัสเตอร์(cpsgenescluster) ด้วยเทคนิคมัลติเพลคพีชีอาร์ (Multiplex PCR) ซึ่งพัฒนาโดยโครงการนี้ เพื่อการจำแนกกลุ่มของซีไรไทป์ของเชื้อแบคทีเรียชนิดเชื้อสเตรปโตคอคคัสอะกาแลคเทีย(S.agalactiae)ค. จากการวิเคราะห์จากข้อ ข. พบว่าสามารถแยกเชื้อได้ทั้งสิ้น 124 ตัวอย่างเชื้อสเตรปโตคอคคัสอะกาแลคเทีย (S. agalactiae) และสามารถจำแนกเชื้อแบคทีเรียตามยีนที่ควบคุมความรุนแรงในกลุ่มแคปซูลล่า โพลีแซคคาร์ไรด์คลัสเตอร์ (Capsular Polysaccharide Cluster (cps genes) ออกเป็น2 ซีโรไทป์ คือ ซีโรไทป์ หนึ่งเอ (serotype la) และซีโรไทป์สาม (serotype III)ง. ทำการคัดเลือกเชื้อจากทั้ง 2 ซีโรไทป์จากข้อ ค.ไปทดสอบความสามารถในการก่อโรคของเชื้อ(Pathogenicity) ต่อการเกิดโรคในปลานิล พบว่าเชื้อสเตรปโตคอคดัสอะกาแลคเทีย (S. agalactioe) ในกลุ่ม ซีโรไทป์สาม (serotype III) มีความรุนแรงสูงกว่าเชื้อในกลุ่ม ซีโรไทป์ หนึ่งเอจ. คัดเลือกเชื้อจากทั้งสองซีโรไทป์จากการศึกษาในข้อ ง. มาอย่างละหนึ่งเชื้อเพื่อทำการพัฒนาวัคซีนเชื้อสเตรปโตคอคคัสอะกาแลคเทีย (S. agalactiae) จากการคัดเลือกเชื้อแบคทีเรียที่เหมาะสม(candidate antigen) ทั้ง 2 ซีโรไทป์ด้วยการเตรียมวัคซีนตามวิธีคอนแวนชั่นแนล(conventional) คือฟอร์มาลิน-คิลวัคซีน (Formalin-killed vaccine) และทำการทดสอบประสิทธิภาพของวัคซีนโดยแบ่งวัคซีนออกเป็น 3 ชุดการทดลองคือชุดที่ 1) วัคซีนจากเชื้อสเตรปโตคอคคัสอะกาแลคเทีย (S. agalactiae) ซีโรไทป์ หนึ่งเอ (serotype Ia)ชุดที่ 2) วัคซีนจากเชื้อสเตรปโตคอคคัสอะกาแลคเทีย (S. agalactiae) ซีโรไทป์สาม(serotype III) และชุดที่ 3) วัคซีนรวมเชื้อสเตรปโตคอคคัสอะกาแลคเทีย (S. agalactiae) ทั้ง ซีโรไทป์หนึ่งเอ (serotype Ia)และ ซีโรไทป์สาม(serotype III) (คอมบายนิวัคซีนสองซีโรไทป์ (Combine vaccine 2 serotypes)ช. ทำการเลือกเชื้อแบคทีเรีย ซีโรไทป์หนึ่งเอ (serotype la) จากขอนแก่น (KKN 3/1) และเชื้อซีโรไทป์สาม (serotype III)จากอุบลราชธานี (UBN 6/2) เพื่อเป็นตัวแทนในการนำไปทดสอบประสิทธิภาพของวัคซีนชนิดฟอร์มาลิน-คิลวัคซีน (Formalin-killed vaccine)ซ. นำเชื้อสเตรปโตคอคคัสอะกาแลคเทีย(S. agalactiae)โคโลนีเดี่ยวที่แยกได้ เลี้ยงในอาหารเลี้ยงเชื้อบีเอชไอบรอท (BHI broth) ที่อุณหภูมิ 37 องศาเซลเซียสเป็นเวลา 24 ชั่วโมงฌ. จากนั้นนำเชื้อแบคทีเรียที่ได้จากข้อ ซ. ที่ได้มาปั่นตกตะกอนเซลล์แบคทีเรียปั่นล้างแบคทีเรียด้วยสารละลายโซเดียมคลอไรด์ 0.85 เปอร์เซ็นต์ ที่ผ่านการฆ่าเชื้อแล้วเติมสารละลายฟอร์มาลินที่ความเข้มข้น 1 เปอร์เซ็นต์ เพื่อเป็นการฆ่าเซลล์แบคทีเรียเก็บค้างคืนที่อุณหภูมิ 4 องศาเซลเซียสญ. ทำการตรวจสอบการตายของเซลล์แบคทีเรียโดยการนำสารละลายเชื้อดังกล่าวปริมาตร 100ไมโครลิตร เขี่ยแบบโทโทลสเปรด (total spread) บนอาหารเลี้ยงเชื้อเพลตเคาน์อาการ์ (Plate CountAgar (PCA)) บ่มที่อุณหภูมิ 37 องศาเซลเซียสเป็นเวลา 18 - 24 ชั่วโมงหากไม่พบการเจริญเติบโตของเชื้อสเตรปโตคอคคัสอะกาแลคเทีย (S. agalactiae) บนอาหารเลี้ยงเชื้อพีซีเอ (PCA) แสดงว่าวัคซีนที่ได้เหมาะสมสำหรับการนำไปใช้เป็นวัคซีนฉีดสัตว์ฎ. ก่อนนำวัคซีนไปใช้จะต้องทำการล้างตะกอนแบคทีเรียด้วยสารละลายโซเดียมคลอไรด์ 0.8เปอร์เซ็นต์ ที่ผ่านการฆ่าเชื้อแล้ว ปรับความเข้มข้นของเชื้อแบคทีเรียโดยวัดด้วยเครื่องสเปคโตโฟโตมิเตอร์(spectrophotometer) ที่ความยาวคลื่น 600 นาโนเมตร ค่าการดูดกลืนแสงเท่ากับ 0.667 ให้ได้ประมาณเซลล์แบคทีเรียเท่ากับ 10ยกกำลัง9 ซีเอฟยูต่อมล. (CFU/ml)ฏ.จากนั้นทดสอบประสิทธิภาพของวัคซีนในปลานิลนํ้าหนักประมาณ 102.3จำนวนบวกหรือจำนวนลบ3.9กรัมโดยฉีดเข้าบริเวณช่องท้องปริมาตร 0.2 มิลลิลิตร/ตัว (ฉีดวัคซีนเพียง 1 ครั้งเท่านั้น)เพื่อศึกษาผลของวัคซีน ------------ 1. กรรมวิธีการผลิตวัคซีนสองซีโรไทป์ของเชื้อสเตรปโตคอคคัสอะกาแลคเทีย(Streptococcusagalactiae)เพื่อป้องกันโรคสเตร็ปโตค็อคโคซิส(streptococcosis) ในการเลี้ยงปลานิล ประกอบด้วยขั้นตอนดังนี้ ก. ทำการแยกเชื้อแบคทีเรียเชื้อสเตรปโตคอคคัสอะกาแลคเทีย (S. agaiactiae)จากแหล่งเลี้ยงปลานิล/ปลาทับทิมจากแหล่งต่าง ๆ ในประเทศไทย โดยคัดเลือกปลานิลที่ป่วยและแสดงอาการของโรคสเตร็ปโตค็อคโคซิส (streptococcosis)และผ่าซากปลาเพื่อเก็บตัวอย่างแบคทีเรียจากสมองตับม้ามและไตส่วนหลังโดยเขี่ยเชื้อจากอวัยวะดังกล่าวลงบนอาหารเลี้ยงเชื้อชนิดเบรนฮาร์ทอินฟิวชั่นเอการ์(Brain HeartInfusion (BHI) agar) โดยมีจำนวนปลาทั้งหมด 401 ตัวอย่าง จากแหล่งเลี้ยงปลานิลทั้ง 4 ภาคของประเทศไทย ข. นำตัวอย่างที่ได้จากข้อ ก. มายืนยันชนิดของแบคทีเรียสเตรปโตคอคคัสอะกาแลคเทีย('S. agalactiae) จากการทดสอบด้วยเทคนิคทางด้านจุลชีววิทยา คุณสมบัติทางชีวเคมีเบื้องต้น(Biochemical test) ด้วยชุดทดสอบเอพีไอ 20 สเตร็ป(API 20 STREP) และตรวจยืนยันชนิดของเชื้อด้วยยืนเทคนิคโพลีเมอเรส เชน รีแอคชั่น(Polymerase Chain Reaction ; PCR)สิบหกเอสอาร์เอ็นเอ (16SrRNA)เพื่อศึกษาลำดับเบส (sequencing) ในการแยกชนิดต่อไป ซึ่งได้เชื้อแบคทีเรียสเตรปโตคอคคัสอะกาแลคเทีย(S. agalactiae)จำนวน 124 ตัวอย่าง หลังการจำแนกแบคทีเรียเชื้อสเตรปโตคอคคัสอะกาแลคเทีย(S. agolactiae)ที่ได้จากปลาที่เป็นโรคแล้ว ทำการจัดแบ่งกลุ่มของเชื้อที่พบตามลักษณะของซีโรไทป์จากยืนที่ควบคุมความรุนแรงในกลุ่มแคปซูลล่าโพลีแซคคาไรด์คลัสเตอร์ (Capsular PolysaccharideCluster: cps genes) และได้ออกแบบไพร์เมอร์ที่มีความจำเพาะต่อยืนในกลุ่มแคปซูลล่าโพลี-แซคคาไรด์คลัสเตอร์(cpsgenescluster) ด้วยเทคนิคมัลติเพลคพีซีอาร์ (Multiplex PCR) ซึ่งพัฒนาโดยโครงการนี้ เพื่อการจำแนกกลุ่มของซีไรไทป์ของเชื้อแบคทีเรียชนิดเชื้อสเตรปโตคอคคัสอะกาแลคเทีย(S.agalactiae) ค. จากการวิเคราะห์จากข้อ ข. พบว่าสามารถแยกเชื้อได้ทั้งสิ้น 124 ตัวอย่างเชื้อสเตรปโตคอคคัสอะกาแลคเทีย (S. agoloctiae) และสามารถจำแนกเชื้อแบคทีเรียตามยีนที่ควบคุมความรุนแรงในกลุ่มแคปซูลล่า โพลีแซคคาร์ไรด์คลัสเตอร์ (Capsular Polysaccharide Cluster (cps genes) ออกเป็น2 ซีโรไทป์ คือ ซีโรไทป์ หนึ่งเอ (serotype la) และซีโรไทป์สาม (serotype III) ง. ทำการคัดเลือกเชื้อจากทั้ง 2 ซีโรไทป์จากข้อ ค.ไปทดสอบความสามารถในการก่อโรคของเชื้อ(Pathogenicity) ต่อการเกิดโรคในปลานิล พบว่าเชื้อสเตรปโตคอคคัสอะกาแลคเทีย (S. agaioctiae) ในกลุ่ม ซีโรไทป์สาม (serotype III) มีความรุนแรงสูงกว่าเชื้อในกลุ่ม ซีโรไทป์ หนึ่งเอ จ. คัดเลือกเชื้อจากทั้งสองซีโรไทป์จากการศึกษาในข้อ ง. มาอย่างละหนึ่งเชื้อเพื่อทำการพัฒนาวัคซีนเชื้อสเตรปโตคอคคัสอะกาแลคเทีย (S. agalactiae) จากการคัดเลือกเชื้อแบคทีเรียที่เหมาะสม(candidate antigen) ทั้ง 2 ซีโรไทป์ด้วยการเตรียมวัคซีนตามวิธีคอนแวนชั่นแนล(conventional) คือฟอร์มาลิน-คิลวัคซีน (Formalin-killed vaccine) และทำการทดสอบประสิทธิภาพของวัคซีนโดยแบ่งวัคซีนออกเป็น 3 ชุดการทดลองคือชุดที่ 1) วัคซีนจากเชื้อสเตรปโตคอคคัสอะกาแลคเทีย (S. agalactiae) ซีโรไทป์ หนึ่งเอ (serotype la)ชุดที่ 2) วัคซีนจากเชื้อสเตรปโตคอคคัสอะกาแลคเทีย (S. agalactiae) ซีโรไทป์สาม(serotype III) และชุดที่ 3) วัคซีนรวมเชื้อสเตรปโตคอคคัสอะกาแลคเทีย (S. agalactiae) ทั้ง ซีโรไทป์หนึ่งเอ (serotype la)และ ซีโรไทป์สาม(serotype III) (คอมบายน์วัคซีนลองซีโรไทป์ (Combine vaccine 2 serotypes) ช. ทำการเลือกเชื้อแบคทีเรีย ซีโรไทป์หนึ่งเอ (serotype la) จากขอนแก่น (KKN 3/1) และเชื้อซีโรไทป์สาม (serotype III)จากอุบลราชธานี (UBN 6/2) เพื่อเป็นตัวแทนในการนำไปทดสอบประสิทธิภาพของวัคซีนชนิดฟอร์มาลิน-คิลวัคซีน (Formalin-killed vaccine) ซ. นำเชื้อสเตรปโตคอคคัสอะกาแลคเทีย(S. agalactiae)โคโลนีเดี่ยวที่แยกได้ เลี้ยงในอาหารเลี้ยงเชื้อบีเอชไอบรอท (BHI broth) ที่อุณหภูมิ 37 องศาเซลเซียสเป็นเวลา 24 ชั่วโมง ฌ. จากนั้นนำเชื้อแบคทีเรียที่ได้จากข้อ ซ. ที่ได้มาปั่นตกตะกอนเซลล์แบคทีเรียปั่นล้างแบคทีเรียด้วยสารละลายโซเดียมคลอไรด์ 0.85 เปอร์เซ็นต์ ที่ผ่านการฆ่าเชื้อแล้วเติมสารละลายฟอร์มาลินที่ความเข้มข้น 1 เปอร์เซ็นต์ เพื่อเป็นการฆ่าเซลล์แบคทีเรียเก็บค้างคืนที่อุณหภูมิ 4 องศาเซลเซียสญ. ทำการตรวจสอบการตายชองเซลล์แบคทีเรียโดยการนำสารละลายเชื้อดังกล่าวปริมาตร 100ไมโครลิตร เขี่ยแบบโทโทลสเปรด (total spread) บนอาหารเลี้ยงเชื้อเพลตเคาน์อาการ์ (Plate CountAgar (PCA)) บ่มที่อุณหภูมิ 37 องศาเซลเซียสเป็นเวลา 18 - 24 ชั่วโมงหากไม่พบการเจริญเติบโตของเชื้อสเตรปโตคอคคัสอะกาแลคเทีย (S. agaiactiae) บนอาหารเลี้ยงเชื้อพีซีเอ (PCA) แสดงว่าวัคซีนที่ได้เหมาะสมสำหรับการนำไปใช้เป็นวัคซีนฉีดสัตว์ ฎ. ก่อนนำวัคซีนไปใช้จะต้องทำการล้างตะกอนแบคทีเรียด้วยสารละลายโซเดียมคลอไรด์ 0.8เปอร์เซ็นต์ ที่ผ่านการฆ่าเชื้อแล้ว ปรับความเข้มข้นของเชื้อแบคทีเรียโดยวัดด้วยเครื่องสเปคโตโฟโตมิเตอร์(spectrophotometer) ที่ความยาวคลื่น 600 นาโนเมตร ค่าการดูดกลืนแสงเท่ากับ 0.667 ให้ได้ประมาณเซลล์แบคทีเรียเท่ากับ 10ยกกำลัง9 ซีเอฟยูต่อมล. (CFU/ml) ฏ. จากนั้นทดสอบประสิทธิภาพของวัคซีนในปลานิลนํ้าหนักประมาณ 102.3 จำนวนบวกหรือจำนวนลบ 3.9 กรัม โดยฉีดเข้าบริเวณช่องท้องปริมาตร 0.2 มิลลิลิตร/ตัว (ฉีดวัคซีนเพียง 1 ครั้งเท่านั้น)เพื่อศึกษาผลของวัคซีน ------------ ข้อถือสิทธิ 1. Production method of two serotype vaccine of Streptococcus agalactiae for the prevention of streptococcosis in raising tilapia A. Streptococcus agalactiae (S. agalactiae) bacteria were isolated from tilapia/ruby tilapia culture sites in Thailand. Sick and showing symptoms of streptococcoisis and dissection of fish to collect bacterial samples from the brain, liver, spleen and dorsal growth by raking the organisms from these organs onto B culture medium. Brain HeartInfusion (BHI) agar) with a total of 401 fish samples from the 4 regions of tilapia farming in Thailand. Let's confirm the type of bacteria Streptococcus agalactia (S. agalactiae) from microbiological testing. Preliminary biochemical properties (Biochemical test) with API 20 Strep test kit (API 20 STREP) and confirmation of the strain by Polymerase Chain Reaction gene technique; PCR)sixteen RNAs (16SrRNA)l for further sequencing studies. in which the bacteria Streptococcus agalactia (S. agalactiae) in 124 samples after identification of Streptococcus agalactiae (S. agalactiae) from diseased fish The serotypes were grouped according to the virulence regulating genes in the capsular polysaccharide cluster (cps genes). Standing specificity in the polysaccharide cluster capsule (cpsgenescluster) by multiplex PCR technique developed by this project. For the classification of serotypes of Streptococcus agalactiae (S.agalactiae) from the analysis of b. A total of 124 samples of Streptococcus agalactiae (S. agalactiae) can be isolated and can be classified according to virulence control genes in the predatory capsule group. Capsular Polysaccharide Cluster (cps genes) into 2 serotypes: serotype one (serotype la) and serotype III (serotype III). from both serotypes from To test the pathogenicity of the bacteria against disease in tilapia. It was found that Streptococcus agalactiae (S. agalactioe) in serotype III was more virulent than those in serotype oneage. Both serotypes were selected from the study in Article 1. d. One of each for the development of a Streptococcus agalactiae (S. agalactiae) vaccine from the selection of suitable bacteria (candidate antigen) for both serotypes. The preparation of the vaccine according to the conventional method is formalin-killed vaccine. (Formalin-killed vaccine) and tested the efficacy of the vaccine by dividing the vaccine into 3 experimental sets: Set 1) Streptococcus agalactiae (S. agalactiae) C vaccine serotype Ia (2nd series), vaccines from Streptococcus agalactiae (S. agalactiae), serotype III (3rd series) Streptococcus agalactiae (S. agalactiae) combined vaccine, both serotype Ia and serotype III (combini vaccine two) Serotype (Combine vaccine 2 serotypes) g. Select bacteria. Serotype 1 A (serotype la) from Khon Kaen (KKN 3/1) and serotype III (serotype III) from Ubon Ratchathani (UBN 6/2) as representatives for testing the efficacy of formalin- Kill Vaccine (Formalin-killed vaccine) C. Bring Streptococcus agalactia (S. agalactiae), isolated colonies culture in BHI broth medium at 37 °C for 24 h. The bacterial cells were centrifuged, washed with sterile 0.85% sodium chloride solution and added with 1% formalin solution to kill bacterial cells, stored overnight at 4 °C. The apoptosis of bacterial cells was examined by incubating 100 μl of the agar solution as a total spread on Plate CountAgar (PCA) medium at 37 °C. Celsius for 18 - 24 h. If growth of Streptococcus agalactiae (S. agalactiae) is not observed on PCA medium, then the vaccine is suitable. For use as a veterinary vaccine, before using the vaccine, the bacterial sediment must be washed with sodium chloride solution. 0.8percent that have been sterilized The bacterial concentration was adjusted by measuring with a spectrophotometer at a wavelength of 600 nm with an absorbance of 0.667 to obtain approximately a bacterial cell of 10 to the power of 9 CFU/ml. CFU/ml)l.Then, the efficacy of the vaccine was tested in tilapia weighing approximately 102.3 A positive or a negative number of 3.9 grams by injecting into the abdominal area, volume 0.2 ml/body (Only 1 vaccination) to study the effect of vaccine ------------ 1. Production process of two serotype vaccine of Streptococcus agalae. Streptococcusagalactiae for the prevention of streptococcosis in tilapia farming. It consists of the following steps: a. Isolation of Streptococcus agalactiae (S. agaiactiae) bacteria from tilapia/ruby tilapia farms in Thailand was selected. of streptococcosis Fish were dissected to collect bacterial samples from the brain, liver, spleen and dorsal kidney. HeartInfusion (BHI) agar) with a total of 401 fish samples from tilapia farms in four regions of Thailand. b. Let's confirm the type of bacteria Streptococcus agalactia ('S. agalactiae) from microbiological testing. Initial biochemical properties (Biochemical test) with API 20 Strep test kit (API 20 STREP) and confirmed the species by polymerase chain reaction technique (Polymerase Chain Reaction ; PCR)sixteen RNAs (16SrRNA) for further sequencing studies. in which the bacteria Streptococcus agalactia (S. agalactiae) in 124 samples after identification of Streptococcus agalactiae (S. agolactiae) obtained from diseased fish The serotypes were grouped according to the serotypes from the virulence-controlled stands in the capsular polysaccharide cluster (cps genes) and designed primers containing Standing specificity in cpsgenescluster capsules by multiplex PCR technique developed by this project. For the classification of serotypes of Streptococcus agalactiae (S.agalactiae) c from analysis b. A total of 124 samples of Streptococcus agalactia (S. agoloctiae) were isolated and virulence-regulating genes could be identified in the predator capsule group. Capsular Polysaccharide Cluster (cps genes) into 2 serotypes: serotype one (serotype la) and serotype III (serotype III). from both serotypes from To test the pathogenicity of the bacteria against disease in tilapia. It was found that Streptococcus agalactiae (S. agaioctiae) in serotype III was more virulent than those in serotype 1a. Both serotypes were selected from the study in Article 1. d. One of each for the development of a Streptococcus agalactiae (S. agalactiae) vaccine from the selection of suitable bacteria (candidate antigen) for both serotypes. The preparation of the vaccine according to the conventional method is formalin-killed vaccine. (Formalin-killed vaccine) and tested the efficacy of the vaccine by dividing the vaccine into 3 experimental sets: Set 1) Streptococcus agalactiae (S. agalactiae) C vaccine Rotype one A (serotype la, series 2), vaccines from Streptococcus agalactiae (S. agalactiae), serotype III (serotype III) and series 3) Streptococcus agalactiae (S. agalactiae) combined vaccine, both serotype one A (serotype la) and serotype III (serotype III) (combined vaccine try Serotype (Combine vaccine 2 serotypes) g. Select bacteria Serotype 1 A (serotype la) from Khon Kaen (KKN 3/1) and serotype III (serotype III) from Ubon Ratchathani (UBN 6/2) as representatives for testing the efficacy of formalin- Kill Vaccine (Formalin-killed vaccine) C. Bring Streptococcus agalactia (S. agalactiae), isolated colonies culture in BHI broth medium at 37 °C for 24 h. The bacterial cells were centrifuged, washed with sterile 0.85% sodium chloride solution and added with 1% formalin solution to kill bacterial cells, stored overnight at 4 °C. The apoptosis of bacterial cells was examined by incubating 100 μl of the aqueous solution by total spread on Plate CountAgar (PCA) agar at 37 °C. Celsius for 18 - 24 h. If growth of Streptococcus agalactiae (S. agaiactiae) is not observed on PCA medium, the vaccine is suitable. for use as an animal vaccine k. Before use of the vaccine, the bacterial sediment must be washed with sodium chloride solution. 0.8percent that have been sterilized The bacterial concentration was adjusted by measuring with a spectrophotometer at a wavelength of 600 nm with an absorbance of 0.667 to obtain approximately a bacterial cell of 10 to the power of 9 CFU/ml. CFU/ml) l.Then, the efficacy of the vaccine was tested in tilapia weighing about 102.3 positive or negative 3.9 g by intra-peritoneal injection at a volume of 0.2 ml/fish. (only 1 vaccination) to study the effect of the vaccine ------------ Claims 1. กรรมวิธีการผลิตวัคซีนสองซีโรไทป์ของเชื้อสเตรปโตคอคคัสอะกาแลคเทีย(Streptococcus agalactiae)เพื่อป้องกันโรคสเตร็ปโตค็อคโคซิส(streptococcosis) ในการเลี้ยงปลานิล ประกอบด้วย ขั้นตอนดังนี้ ก. ทำการแยกเชื้อแบคทีเรียเชื้อสเตรปโตคอคคัสอะกาแลคเทีย (S. agaloctiae)จากแหล่งเลี้ยง ปลา นิล/ปลาทับทิมจากแหล่งต่าง ๆ ในประเทศไทย โดยคัดเลือกปลานิลที่ป่วยและแสดงอาการของโรคสเตร็ป โตค็อคโคซิส (streptococcosis)และผ่าซากปลาเพื่อเก็บตัวอย่างแบคทีเรียจากสมองตับม้ามและไตส่วน หลังโดยเขี่ยเชื้อจากอวัยวะดังกล่าวลงบนอาหารเลี้ยงเชื้อชนิดเบรนฮาร์ทอินฟิวชั่นเอการ์ (Brain Heart Infusion (BHI) agar) โดยมีจำนวนปลาทั้งหมด 401 ตัวอย่าง จากแหล่งเลี้ยงปลานิลทั้ง 4 ภาคของ ประเทศไทย ข. นำตัวอย่างที่ได้จากข้อ ก. มายืนยันชนิดของแบคทีเรียสเตรปโตคอคคัสอะกาแลคเทีย (S. agaiactiaefe)จากการทดสอบด้วยเทคนิคทางด้านจุลชีววิทยา คุณสมบัติทางชีวเคมีเบื้องต้น (Biochemical test) ด้วยชุดทดสอบเอพีไอ 20 สเตร็ป(API 20 STREP) และตรวจยืนยันชนิดของเชื้อด้วย ยืนเทคนิคโพลีเมอเรส เชน รีแอคชั่น(Polymerase Chain Reaction ; PCR)สิบหกเอสอาร์เอ็นเอ (16S rRNA)เพื่อศึกษาลำดับเบส (sequencing) ในการแยกชนิดต่อไป ซึ่งได้เชื้อแบคทีเรียสเตรปโตคอคคัสอะกา แลคเทีย(S. agalactiae)จำนวน 124 ตัวอย่าง หลังการจำแนกแบคทีเรียเชื้อสเตรปโตคอคคัสอะกาแลค เทีย(S. agalactiae)ที่ได้จากปลาที่เป็นโรคแล้ว ทำการจัดแบ่งกลุ่มของเชื้อที่พบตามลักษณะของซีโรไทป์ จากยืนที่ควบคุมความรุนแรงในกลุ่มแคปซูลล่าโพลีแซคคาไรด์คลัสเตอร์ (Capsular Polysaccharide Cluster: cps genes) และได้ออกแบบไพร์เมอร์ที่มีความจำเพาะต่อยืนในกลุ่มแคปซูลล่าโพลี-แซคคา ไรด์คลัสเตอร์(cpsgenescluster) ด้วยเทคนิคมัลติเพลคพีซีอาร์ (Multiplex PCR) ซึ่งพัฒนาโดยโครงการ นี้ เพื่อการจำแนกกลุ่มของซีไรไทป์ของเชื้อแบคทีเรียชนิดเชื้อสเตรปโตคอคคัสอะกาแลคเทีย(S. agalactiae) ค. จากการวิเคราะห์จากข้อ ข. พบว่าสามารถแยกเชื้อได้ทั้งสิ้น 124 ตัวอย่างเชื้อสเตรปโต คอคคัสอะ กาแลคเทีย (S. agaioctiae) และสามารถจำแนกเชื้อแบคทีเรียตามยีนที่ควบคุมความรุนแรงในกลุ่ม แคปซูลล่า โพลีแซคคาร์ไรด์คลัสเตอร์ (Capsular Polysaccharide Cluster (cps genes) ออกเป็น 2 ซี โรไทป์ คือ ซีโรไทป์ หนึ่งเอ (serotype la) และซีโรไทป์สาม (serotype III) ง. ทำการคัดเลือกเชื้อจากทั้ง 2 ซีโรไทป์จากข้อ ค.ไปทดสอบความสามารถในการก่อโรคของเชื้อ (Pathogenicity) ต่อการเกิดโรคในปลานิล พบว่าเชื้อสเตรปโตคอคคัสอะกาแลคเทีย (S. agalactioe) ใน กลุ่ม ซีโรไทป์สาม (serotype III) มีความรุนแรงสูงกว่าเชื้อในกลุ่ม ซีโรไทป์ หนึ่งเอ จ. คัดเลือกเชื้อจากทั้งสองซีโรไทป์จากการศึกษาในข้อ ง. มาอย่างละหนึ่งเชื้อเพื่อทำการพัฒนา วัคซีนเชื้อสเตรปโตคอคคัสอะกาแลคเทีย (S. agalactioe) จากการคัดเลือกเชื้อแบคทีเรียที่เหมาะสม (candidate antigen) ทั้ง 2 ซีโรไทป์ด้วยการเตรียมวัคซีนตามวิธีคอนแวนชั่นแนล(conventional) คือ ฟอร์มาลิน-คิลวัคซีน (Formalin-killed vaccine) และทำการทดสอบประสิทธิภาพของวัคซีนโดยแบ่ง วัคซีนออกเป็น 3 ชุดการทดลองคือ ชุดที่ 1) วัคซีนจากเชื้อสเตรปโตคอคคัสอะกาแลคเทีย (S. agaioctiae) ซีโรไทป์ หนึ่งเอ (serotype la) ชุดที่ 2) วัคซีนจากเชื้อสเตรปโตคอคคัสอะกาแลคเทีย (S. agaiactiae) ซีโรไทป์สาม(serotype III) และ ชุดที่ 3) วัคซีนรวมเชื้อสเตรปโตคอคคัสอะกาแลคเทีย (S. agalactiae) ทั้ง ซีโรไทป์หนึ่งเอ (serotype la) และ ซีโรไทป์สาม(serotype III) (คอมบายน์วัคซีนสองซีโรไทป์ (Combine vaccine 2 serotypes) ช. ทำการเลือกเชื้อแบคทีเรีย ซีโรไทป์หนึ่งเอ (serotype la) จากขอนแก่น (KKN 3/1) และเชื้อซี โรไทป์สาม (serotype III)จาากอุบลราชธานี (UBN 6/2) เพื่อเป็นตัวแทนในการนำไปทดสอบประสิทธิภาพ ของวัคซีนชนิดฟอร์มาลิน-คิลวัคซีนFormalin-killed vaccine ซ. นำเชื้อสเตรปโตคอคคัสอะกาแลคเทีย(S. agaiactiae)โคโลนีเดี่ยวที่แยกได้ เลี้ยงในอาหาร เลี้ยงเชื้อบีเอชไอบรอท (BFHI broth) ที่อุณหภูมิ 37 องศาเซลเซียสเป็นเวลา 24 ชั่วโมง ฌ. จากนั้นนำเชื้อแบคทีเรียที่ได้จากข้อ ซ. ที่ได้มาปั่นตกตะกอนเซลล์แบคทีเรียปั่นล้างแบคทีเรีย ด้วยสารละลายโซเดียมคลอไรด์ 0.85 เปอร์เซ็นต์ ที่ผ่านการฆ่าเชื้อแล้วเติมสารละลายฟอร์มาลินที่ความ เข้มข้น 1 เปอร์เซ็นต์ เพื่อเป็นการฆ่าเซลล์แบคทีเรียเก็บค้างคืนที่อุณหภูมิ 4 องศาเซลเซียส ญ. ทำการตรวจสอบการตายของเซลล์แบคทีเรียโดยการนำสารละลายเชื้อดังกล่าวปริมาตร 100 ไมโครลิตร เขี่ยแบบโทโทลสเปรด (total spread) บนอาหารเลี้ยงเชื้อเพลตเคาน์อาการ์ (Plate Count Agar (PCA) บ่มที่อุณหภูมิ 37 องศาเซลเซียสเป็นเวลา 18 - 24 ชั่วโมงหากไม่พบการเจริญเติบโตของ เชื้อสเตรปโตคอคคัสอะกาแลคเทีย(S. agalactiae) บนอาหารเลี้ยงเชื้อพีซีเอ (PCA) แสดงว่าวัคซีนที่ได้ เหมาะสมสำหรับการนำไปใช้เป็นวัคซีนฉีดสัตว์ ฎ. ก่อนนำวัคซีนไปใช้จะต้องทำการล้างตะกอนแบคทีเรียด้วยสารละลายโซเดียมคลอไรด์ 0.8 เปอร์เซ็นต์ ที่ผ่านการฆ่าเชื้อแล้ว ปรับความเข้มข้นของเชื้อแบคทีเรียโดยวัดด้วยเครื่องสเปคโตโฟโตมิเตอร์ (spectrophotometer) ที่ความยาวคลื่น 600 นาโนเมตร ค่าการดูดกลืนแสงเท่ากับ 0.667 ให้ได้ประมาณ เซลล์แบคทีเรียเท่ากับ 109ซีเอฟยูต่อมล. (CFU/ml) ฏ. จากนั้นทดสอบประสิทธิภาพของวัคซีนในปลานิลน้ำหนักประมาณ 102.3+-3.9 กรัม โดยฉีด เข้าบริเวณช่องท้องปริมาตร 0.2 มิลลิลิตร/ตัว (ฉีดวัคซีนเพียง 1 ครั้งเท่านั้น)เพื่อศึกษาผลของวัคซีน1. Method for the production of a two-serotype vaccine of Streptococcus agalactia. agalactiae) to prevent streptococcosis (streptococcosis) in tilapia culture consists of the following steps: a. (S. agaloctiae) from tilapia/tap tilapia farms in Thailand. Sick tilapia showing symptoms of streptococcosis were selected and dissected for collection. Bacterial samples from the brain, liver, spleen and kidney sections. A total of 401 fish were sampled from the tilapia aquaculture region in the four regions. of Thailand b. Take the sample obtained from item a. to confirm the type of Streptococcus agalactia bacteria (S. agaiactiaefe) by microbiological testing. Preliminary biochemical properties (Biochemical test) with API 20 strep test kit (API 20 STREP) and confirm the type of bacteria. stands for Polymerase Chain Reaction Technique; 16S rRNA PCR for sequencing in further isolation. 124 samples of Streptococcus agalactiae (S. agalactiae) were obtained after identification of Streptococcus agalactiae (S. agalactiae) obtained from diseased fish Classification of germs found according to serotypes. Based on the virulent control stand in the Capsular Polysaccharide Cluster (cps genes) group and designed specific primers in the Capsular Polysaccharide Cluster (cps genes) group. The cpsgenescluster multiplex PCR technique was developed by this project for the identification of streptococcus agalac serotypes. Tia(S. agalactiae) c. From the analysis from item b, it was found that a total of 124 samples of Streptococcus agalactiae (S. agaioctiae) could be isolated. Violence in the Capsular Polysaccharide Cluster (cps genes) is divided into two serotypes: serotype la and serotype III. ) d. selection of germs from both serotypes from C. To test the ability to cause pathogens of pathogens Pathogenicity to disease in tilapia It was found that Streptococcus agalactia (S. agalactioe) in group serotype III (serotype III) was higher than those in serotype onea. One of each of the two serotypes from study D. was selected for development. Streptococcus agalactia (S. agalactioe) vaccine was selected by selection of suitable bacteria (candidate antigen) of both serotypes by means of a convination preparation method. Conventional is a formalin-killed vaccine. (Formalin-killed vaccine) and testing the efficacy of the vaccine divided The vaccines were divided into three experimental series: series 1) vaccine from Streptococcus agalactia (S. agaioctiae), serotype 1 (serotype la), series 2) vaccine. from Streptococcus agalactiae (S. agaiactiae), serotype III (serotype III) and series 3). Lactia (S. agalactiae) both serotype one (serotype la) and serotype three (serotype III) (combine vaccine two serotypes) g. selection bacteria Serotype one A (serotype la) from Khon Kaen (KKN 3/1) and serotype III (serotype III) from Ubon Ratchathani (UBN 6/2) were used as representatives for efficacy testing. of the formalin-killed vaccine Formalin-killed vaccine S. brought Streptococcus agalactia (S. agaiactiae) isolated single colony feed on food BFHI broth was cultured at 37 °C for 24 h. Then, the bacteria obtained from C. were centrifuged, the bacterial cells were centrifuged, and the bacteria were washed. The sterile 0.85% sodium chloride solution was added to the 1% formalin solution to kill bacteria and stored overnight at 4 °C. 100 μl volume, total spread on Plate Count Agar (PCA), incubated at 37 °C for 18 - 24 h if growth was not observed. grow of Streptococcus agalactia (S. agalactiae) on PCA medium, indicating that the vaccine suitable for use as a veterinary vaccine k. Before use of the vaccine, the bacterial sediment must be washed with a sterile 0.8% sodium chloride solution. The bacterial concentration was adjusted by spectrophotometer. The spectrophotometer at a wavelength of 600 nm gave an absorbance of 0.667, giving approximately a bacterial cell of 109 CFU per ml. (CFU/ml) l. The efficacy of the vaccine was then tested in tilapia weighing about 102.3+-3.9 g by intra-peritoneal injection of 0.2 ml/head. (Only 1 vaccination) to study the effect of the vaccine.
TH1903002198U 2019-08-28 Method for the production of a two-serotype vaccine of Streptococcus agalactia (Streptococcus agalactiae) to prevent streptococcosis. streptococcosis in tilapia farming TH1903002198C3 (en)

Publications (1)

Publication Number Publication Date
TH1903002198C3 true TH1903002198C3 (en) 2023-02-24

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
Tonu et al. Pathological study on colibacillosis in chickens and detection of Escherichia coli by PCR.
Marouf et al. Mycoplasma gallisepticum: a devastating organism for the poultry industry in Egypt
CN102329746B (en) Porcine streptococcus disease and haemophilus parasuis disease combined inactivated vaccine and preparation method thereof
KR101953460B1 (en) Method and apparatus for preparing inhibitable vaccine for prevention of stability bacterial disease including protected serum form of new streptococcus paraberis
CN112029696B (en) Edwardsiella piscicola derived from turbot and application thereof
CN102949714B (en) Swine Streptococcosis trivalent inactivated vaccine and preparation method thereof
Masud et al. Isolation of Escherichia coli from apparently healthy and diarrheic calves in Dinajpur area in Bangladesh and their antibiogram
Abdel-Moneam et al. Multifactorial causes of mass mortality in Oreochromis niloticus in Kafr El-Sheikh, Egypt
CN112063561B (en) Streptococcus suis type 3 vaccine strain and application thereof
CN104471054A (en) Production and application of protozoa cultures of histomonas meleagridis (h. meleagridis)
Ebnetorab et al. Isolation, biochemical and molecular detection of Bacillus subtilis and Bacillus licheniformis from the digestive system of rainbow trout (Oncorhynchus mykiss) and its inhibitory effect on Aeromonas hydrophila.
TH1903002198C3 (en) Method for the production of a two-serotype vaccine of Streptococcus agalactia (Streptococcus agalactiae) to prevent streptococcosis. streptococcosis in tilapia farming
Jazayeri et al. Attenuated Salmonella typhimurium SV4089 as a potential carrier of oral DNA vaccine in chickens
Manfrin 8. Vibrio anguillarum
Dadar et al. Isolation and phylogenic analysis of emerging new antibiotic resistant bacteria, Acinetobacter lwoffii, associated with mortality in farmed rainbow trout
Dharmaratnam et al. Aeromonas hydrophila associated with mass mortality of adult goldfish, Carassius auratus (Linnaeus 1758) in ornamental farms in India
Dyer et al. Curli production and genetic relationships among Escherichia coli from cases of bovine mastitis
El-Tawab et al. Phenotypic and genotypic characterization of antibiotic resistant strains of Flavobacterium columnare isolated from Oreochromis niloticus (Nile tilapia)
CN101962625A (en) Salmonella choleraesuis gene deletion mutant without resistant marker and vaccine thereof
Shoaib et al. SALMONELLOSIS IN POULTRY, NEW PROSPECTS OF AN OLD DISEASE: A REVIEW.
KR101749977B1 (en) Primer set for high sensitive real-time loop-mediated isothermal amplification reaction for detecting Campylobacter jejuni, and method for detecting Campylobacter jejuni using the same
Vivas et al. Modulation of the immune response to an Aeromonas hydrophila aroA live vaccine in rainbow trout: effect of culture media on the humoral immune response and complement consumption
Hosseini et al. Experimental vaccine against lactococcosis in cultured rainbowtrout (Oncorhynchus mykiss)
Khalil et al. Revealing of Aerolysin and Cytotoxic enterotoxin genes in Aeromonas hydrophila isolated from (Cyprinus carpio) fish in Mosul, Iraq
Al-Ammar et al. Phenotypic detection of some virulence factors in Salmonella typhi carrier associated with gall bladder chronic infection.