TH165322A - เครื่องมือที่ใช้ในการจัดการและวางแผนสำรวจหลุมเจาะแบบรวมกัน - Google Patents

เครื่องมือที่ใช้ในการจัดการและวางแผนสำรวจหลุมเจาะแบบรวมกัน

Info

Publication number
TH165322A
TH165322A TH1601001317A TH1601001317A TH165322A TH 165322 A TH165322 A TH 165322A TH 1601001317 A TH1601001317 A TH 1601001317A TH 1601001317 A TH1601001317 A TH 1601001317A TH 165322 A TH165322 A TH 165322A
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
borehole
drilling
uncertainty
survey
path
Prior art date
Application number
TH1601001317A
Other languages
English (en)
Other versions
TH66950B (th
TH165322B (th
Inventor
โจฮานเนส เดิร์คเซ่น โรนัลด์
Original Assignee
นายสัตยะพล สัจจเดชะ
นายกฤชวัชร์ ชัยนภาศักดิ์
นายสุขเปรม สัจจเดชะ
Filing date
Publication date
Application filed by นายสัตยะพล สัจจเดชะ, นายกฤชวัชร์ ชัยนภาศักดิ์, นายสุขเปรม สัจจเดชะ filed Critical นายสัตยะพล สัจจเดชะ
Publication of TH165322A publication Critical patent/TH165322A/th
Publication of TH165322B publication Critical patent/TH165322B/th
Publication of TH66950B publication Critical patent/TH66950B/th

Links

Claims (9)

ข้อถือสิทธฺ์ (ทั้งหมด) ซึ่งจะไม่ปรากฏบนหน้าประกาศโฆษณา :------25/12/2560------(OCR) หน้า 1 ของจำนวน 7 หน้า ข้อถือสิทธิ 1. วิธีการสำรวจหลุมเจาะที่ใช้คอมพิวเตอร์ ซึ่งประกอบรวมด้วย การรับเส้นทางของหลุมเจาะที่ถูกวางแผนเอาไว้จากพื้นผิวหนึ่งไปยังเป้าหมายทางธรณีวิทยา ที่อยู่ใต้ดินที่จะถูกเช้าถึงได้โดยการเจาะหลุมเจาะ การรับแผนผังสำรวจที่แสดงจำนวน, ตำแหน่ง และประเภทการสำรวจของการสำรวจที่จะถูก กระทำบนหลุมเจาะในขณะที่เจาะหลุมเจาะ การแสดงผล ในส่วนต่อประสานกับผู้ใช้งาน แบบจำลองความผิดพลาดจำนวนหนึ่งที่รวมถึง แบบหนึ่งเป็นอย่างน้อยของแบบจำลองที่ใช้อ้างอิงในสนามเพื่อการประมาณค่าในช่วง (IIFR), แบบจำลองที่ใช้อ้างอิงในสนาม (IFR), แบบจำลองการวัดในขณะที่เจาะ (MWD) หรือแบบจำลองการ ปรับแก้ระยะตกท้องช้าง การใช้แบบจำลองความผิดพลาดจำนวนหนึ่งตามประเภทของการสำรวจสำหรับการเจาะ หลุมเจาะ แบบจำลองความผิดพลาดแต่ละตัวที่กำหนดความไม่แน่นอนที่เกี่ยวช้องในการเช้าถึง เป้าหมายทางธรณีวิทยาที่อยู่ใต้ดิน โดยการเจาะหลุมเจาะไปตามเส้นทางที่ไต้รับ และ การแสดงผล ในส่วนต่อประสานกับผู้ใช้งาน เส้นทางที่ไต้รับของหลุมเจาะ และตัวแสดง ความไม่แน่นอนที่หาได้โดยการใช้แบบจำลองความผิดพลาดจำนวนหนึ่ง ตัวแสดงความไม่แน่นอนที่ แทนการผสมผสานของความไม่แน่นอนที่เกี่ยวข้องที่ถูกกำหนดไต้โดยแบบจำลองความผิดพลาด จำนวนหนึ่ง ตัวแสดงความไม่แน่นอนที่แสดงถึงความไม่แน่นอนในการเจาะหลุมเจาะบนเส้นทางที่ ได้รับ 2. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อที่ 1 ที่ซึ่งตัวแสดงความไม่แน่นอนรวมถึงวงรีจำนวนหนึ่ง แต่ละ วงที่มีพื้นที่แตกต่างกัน วงรีแต่ละวงที่เกี่ยวข้องกับความลึกที่เกี่ยวข้องของหลุมเจาะจากพื้นผิวไปยัง เป้าหมายทางธรณีวิทยาที่อยู่ใต้ดิน วิธีการซึ่งประกอบรวมเพิ่มเติมด้วยการแสดงผลวงรจำนวนหนึ่งที่ ความลึกที่เกี่ยวช้องจำนวนหนึ่งในส่วนต่อประสานกับผู้ใช้งาน 3. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อที่ 2 ที่ซึ่งประกอบรวมเพิ่มเติมด้วย การหาว่าวงรวงแรกไม่ไต้ตอบสนองความต้องการต่อค่าขีดเริ่มความไม่แน่นอนที่ความลึกที่ เกี่ยวข้อง และ การแสดงผลวงรวงแรกในส่วนต่อประสานกับผู้ใช้งาน ในลักษณะซึ่งสามารถแยกแยะ ทางการมองเห็นได้จากวงรีวงที่สองซึ่งตอบสนองความต้องการต่อค่าขีดเริ่มความไม่แน่นอนที่ความ ลึกที่เกี่ยวข้อง หน้า 2 ของจำนวน 7 หน้า 4. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อใดข้อหนึ่งก่อนหน้า ที่ซึ่งประกอบรวมเพิ่มเติมด้วย การรับการ เลือกของเครื่องมือในการสำรวจจากระหว่างเครื่องมือในการสำรวจจำนวนหนึ่ง เครื่องมือในการ สำรวจจะถูกนำไปใช้เพื่อสำรวจหลุมเจาะที่จะถูกเจาะไปตามเน้นทางที่ได้รับ 5. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อใดข้อหนึ่งก่อนหน้า ที่ซึ่งประกอบรวมเพิ่มเติมด้วย การรับ เส้นทางของหลุมเจาะ, การรับแผนผังการสำรวจ และการใช้แบบจำลองความผิดพลาดจำนวนหนึ่ง ก่อนการเจาะหลุมเจาะไปตามเน้นทางที่ได้รับ 6. วิธีการสำรวจหลุมเจาะที่ใช้คอมพิวเตอร์ ที่ประกอบรวมด้วย การรับเน้นทางของหลุมเจาะที่ถูกวางแผนเอาไว้จากพื้นผิวหนึ่งไปยังเป้าหมายทางธรณีวิทยา ที่อยู่ใต้ดินที่จะถูกเข้าถึงได้โดยการเจาะหลุมเจาะ การรับแผนผังสำรวจที่แสดงจำนวน, ตำแหน่ง และประเภทการสำรวจของการสำรวจที่จะถูก กระทำบนหลุมเจาะในขณะที่เจาะหลุมเจาะ การใช้แบบจำลองความผิดพลาดจำนวนหนึ่งตามประเภทของการสำรวจสำหรับการเจาะ หลุมเจาะ แบบจำลองความผิดพลาดแต่ละตัวที่กำหนดความไม่แน่นอนที่เกี่ยวข้องในการเข้าถึง เป้าหมายทางธรณีวิทยาที่อยู่ใต้ดินโดยการเจาะหลุมเจาะไปตามเส้นทางที่ได้รับ และ การแสดงผล ในส่วนต่อประสานกับผู้ใช้งาน เน้นทางที่ได้รับของหลุมเจาะ และตัวแสดง ความไม่แน่นอนที่หาได้โดยการใช้แบบจำลองความผิดพลาดจำนวนหนึ่ง ตัวแสดงความไม่แน่นอนที่ แทนการผสมผสานของความไม่แน่นอนที่เกี่ยวข้องที่ถูกกำหนดได้โดยแบบจำลองความผิดพลาด จำนวนหนึ่ง ซึ่งตัวแสดงความไม่แน่นอนแสดงถึงความไม่แน่นอนในการเจาะหลุมเจาะบนเส้นทางที่ ได้รับ; และ การรับพารามิเตอร์จำนวนหนึ่งซึ่งอธิบายถึงตำแหน่งและรูปร่างของหลุมเจาะ ที่ซึ่ง พารามิเตอร์จำนวนหนึ่งที่อธิบายถึงหลุมเจาะซึ่งถูกแสดงผลอยู่ในส่วนต่อประสานกับผู้ใช้งานรวมถึง ความยาวของก้านเจาะชนิดพิเศษที่ป้องกันสนามแม่เหล็ก (NMDC) ที่จะถูกวางตำแหน่งเอาไว้ในหลุม เจาะ, ตำแหน่งเซนเชอร์ใน NMDC ที่ซึ่งเครื่องมือในการสำรวจจะถูกวางตำแหน่งและสารสนเทศของ ท่อกรูที่อธิบายถึงหนึ่งตัวเป็นอย่างน้อยของขนาดของท่อกรุ, ระยะห่าง หรือทิศทางจากตำแหน่ง เซนเซอร์ 7. วิธีการสำรวจหลุมเจาะที่ใช้คอมพิวเตอร์ ที่ประกอบรวมด้วย การรับเส้นทางของหลุมเจาะที่ถูกวางแผนเอาไว้จากพื้นผิวหนึ่งไปยังเป้าหมายทางธรณีวิทยา ที่อยู่ใต้ดินที่จะถูกเข้าถึงได้โดยการเจาะหลุมเจาะ หน้า 3 ของจำนวน 7 หน้า การรับแผนผังสำรวจที่แสดงจำนวน, ตำแหน่ง และประเภทการสำรวจของการสำรวจที่จะถูก กระทำบนหลุมเจาะในขณะที่เจาะหลุมเจาะ การใช้แบบจำลองความผิดพลาดจำนวนหนึ่งตามประเภทของการสำรวจสำหรับการเจาะ หลุมเจาะ แบบจำลองความผิดพลาดแต่ละตัวที่กำหนดความไม่แน่นอนที่เกี่ยวช้องในการเข้าถึง เป้าหมายทางธรณีวิทยาที่อยู่ใต้ดิน โดยการเจาะหลุมเจาะไปตามเส้นทางที่ได้รับ และ การแสดงผล ในส่วนต่อประสานกับผู้ใช้งาน เต้นทางที่ได้รับของหลุมเจาะ และตัวแสดง ความไม่แน่นอนที่หาได้โดยการใช้แบบจำลองความผิดพลาดจำนวนหนึ่ง ตัวแสดงความไม่แน่นอนที่ แทนการผสมผสานของความไม่แน่นอนที่เกี่ยวช้องที่ถูกกำหนดได้โดยแบบจำลองความผิดพลาด จำนวนหนึ่ง ตัวแสดงความไม่แน่นอนที่แสดงถึงความไม่แน่นอนในการเจาะหลุมเจาะบนเส้นทางที่ ได้รับ การรับความแรงของสนามโน้มถ่วงและสนามแม่เหล็กของโลกที่ตำแหน่งทางภูมิศาสตร์ ที่ ซึ่งหลุมเจาะจะถูกเจาะที่เวลาในการเจาะที่หาตามแบบจำลองทางภูมิมาตรศาสตร์ที่ใช้เพื่อหาสนาม โน้มถ่วงของโลกและการเอียงแม่เหล็ก (magnetic dipping) และ การแสดงผล ในส่วนต่อประสานกับผู้ใช้งาน ตัวระบุที่ระบุแบบจำลองทางภูมิมาตรศาสตร์, ความแรงของสนามโน้มถ่วงและความแรงของสนามแม่เหล็กของโลกและค่ามุมเอียงของ สนามแม่เหล็ก 8. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อที่ 8 ที่ซึ่งประกอบรวมเพิ่มเดิมด้วย การรับการเปลี่ยนแปลงที่แทน แม่เหล็กในสนามแม่เหล็กโลก เนื่องมาจากโซลาร์ เอฟเฟกท์ในระหว่างเวลาในการเจาะ วิธีการซึ่ง ประกอบรวมเพิ่มเติมด้วยการแสดงผล ในส่วนต่อประสานกับผู้ใช้งาน แม่เหล็กในระหว่างเวลาในการ เจาะ 9. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อที่ 9 ที่ซึ่ง การแสดงผล ในส่วนต่อประสานกับผู้ใช้งาน) แม่เหล็ก ในระหว่างเวลาในการเจาะ ประกอบรวมด้วย การแสดงผลการพล็อตของแม่เหล็กตลอดเวลาซึ่งประกอบรวมด้วยเวลาในการเจาะ การเปรียบเทียบแม่เหล็กกับแม่เหล็กระดับขีดเริ่มสำหรับการเจาะหลุมเจาะ การแสดงผลแม่เหล็กซึ่งเป็นไปตามแม่เหล็กระดับขีดเริ่มในสีแรก และแม่เหล็ก ซึ่งไม่ได้ทำ ให้เกิดความพอใจกับแม่เหล็กระดับขีดเริ่มในสีที่สอง ซึ่งแตกต่างจากสีแรก 1 0. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อใดข้อหนึ่งก่อนหน้า ที่ซึ่งประกอบรวมเพิ่มเติมด้วย การแสดงผล ในส่วนต่อประสานกับผู้ใช้งาน รูปภาพของการปรับแก้ระยะตกท้องช้างสำหรับหลุมเจาะ หน้า 4 ของจำนวน 7 หน้า 1 1. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อใดข้อหนึ่งก่อนหน้า ที่ซึ่งประกอบรวมเพิ่มเติมด้วย การแสดงผล ในส่วนต่อประสานกับผู้ใช้งาน การแทรกสอดตามแนวแกนและคร่อมแกนที่แทนการรบกวนใน สนามแม่เหล็ก เนื่องมาจากองค์ประกอบที่มีค่าซึมผ่านทางแม่เหล็กตาในหลุมเจาะ 1 2. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อใดข้อหนึ่งก่อนหน้า ที่ซึ่งประกอบรวมเพิ่มเติมด้วย การรับการเปลี่ยนแปลงไปเป็นความไม่แน่นอนที่ถูกกำหนดได้โดยแบบจำลองความ ผิดพลาดแบบแรกของแบบจำลองความผิดพลาดจำนวนหนึ่ง การเปลี่ยนแปลงที่มีผลต่อการ เปลี่ยนแปลงไปเป็นความไม่แน่นอนที่ถูกกำหนดได้โดยแบบจำลองความผิดพลาดแบบที่สองของ แบบจำลองความผิดพลาดจำนวนหนึ่ง ตามที่รับการเปลี่ยนแปลงโดยอัตโนมัติและปราศจากการแทรกแซงจากผู้ใช้งาน การอัพเดทตัวแสดงความไม่แน่นอนที่หาได้โดยการใช้แบบจำลองความผิดพลาด จำนวนหนึ่ง ซึ่งรวมถึงแบบจำลองความผิดพลาดแบบแรก และแบบจำลองความผิดพลาดแบบที่สอง และ การแสดงผลตัวแสดงความไม่แน่นอนที่ถูกอัพเดทในส่วนต่อประสานกับผู้ใช้งาน 1 3. สื่อกลางที่สามารถอ่านได้ด้วยคอมพิวเตอร์ถาวรที่จัดเก็บคำสั่งที่สามารถดำเนินการได้ โดยอุปกรณ์ที่ใช้ประมวลผลข้อมูลเพื่อกระทำการดำเนินการซึ่งประกอบรวมด้วย การรับเส้นทางของหลุมเจาะที่ถูกวางแผนเอาไว้จากพื้นผิวหนึ่งไปยังเป้าหมายทางธรณีวิทยา ที่อยู่ใต้ดินที่จะถูกเข้าถึงได้โดยการเจาะหลุมเจาะ การรับแผนผังสำรวจที่แสดงจำนวน, ตำแหน่ง และประเภทการสำรวจของการสำรวจที่จะถูก กระทำบนหลุมเจาะในขณะที่เจาะหลุมเจาะ การแสดงผล ในส่วนต่อประสานกับผู้ใช้งาน แบบจำลองความผิดพลาดจำนวนหนึ่งที่รวมถึง แบบหนึ่งเป็นอย่างน้อยของแบบจำลองที่ใช้อ้างอิงในสนามเพื่อการประมาณค่าในช่วง (IIFR), แบบจำลองที่ใช้อ้างอิงในสนาม (IFR), แบบจำลองการวัดในขณะที่เจาะ (MWD) หรือแบบจำลองการ ปรับแก้ระยะตกท้องช้าง การใช้แบบจำลองความผิดพลาดจำนวนหนึ่งตามประเภทของการสำรวจสำหรับการเจาะ หลุมเจาะ แบบจำลองความผิดพลาดแต่ละตัวที่กำหนดความไม่แน่นอนที่เกี่ยวข้องในการเข้าถึง เป้าหมายทางธรณีวิทยาที่อยู่ใต้ดินโดยการเจาะหลุมเจาะไปตามเส้นทางที่ได้รับ และ การแสดงผลในส่วนต่อประสานกับผู้ใช้งาน เส้นทางที่ได้รับของหลุมเจาะ และตัวแสดง ความไม่แน่นอนที่หาได้โดยการใช้แบบจำลองความผิดพลาดจำนวนหนึ่ง ตัวแสดงความไม่แน่นอนที่ หน้า 5 ของจำนวน 7 หน้า แทนการผสมผสานของความไม่แน่นอนที่เกี่ยวข้องที่ถูกกำหนดได้โดยความผิดพลาดจำนวนหนึ่งของ ตัวแสดงความไม่แน่นอนที่แสดงถึงความไม่แน่นอนในการเจาะหลุมเจาะบนเส้นทางที่ได้รับ 1 4. สื่อกลางตามข้อถือสิทธิข้อที่ 14 ที่ซึ่งตัวแสดงความไม่แน่นอนรวมถึงวงรจำนวนหนึ่ง แต่ ละวงที่มีพื้นที่แตกต่างกัน วงรีแต่ละวงที่เกี่ยวข้องกับความลึกที่เกี่ยวข้องของหลุมเจาะจากพื้นผิวไปยัง เป้าหมายทางธรณีวิทยาที่อยู่ใต้ดิน การดำเนินการซึ่งประกอบรวมเพิ่มเติมด้วยการแสดงผลวงรีจำนวน หนึ่งที่ความลึกที่เกี่ยวข้องจำนวนหนึ่งในส่วนต่อประสานกับผู้ใช้งาน 1 5. สื่อกลางตามข้อถือสิทธิข้อที่ 15 ซึ่งการดำเนินการประกอบรวมเพิ่มเติมด้วย การหาว่าวงรวงแรกไม่ได้ทำให้เกิดความพอใจกับค่าขีดเริ่มความไม่แน่นอนที่ความลึกที่ เกี่ยวข้อง และ การแสดงผลวงรีวงแรกในส่วนต่อประสานกับผู้ใช้งานในสีซึ่งแตกต่างจากสีของวงรีวงที่สอง ซึ่งทำให้เกิดความพอใจกับค่าขีดเริ่มของความไม่แน่นอนที่ความลึกที่เกี่ยวข้อง 1 6. สื่อกลางตามข้อถือสิทธิข้อที่ 13 ถึง 15 ข้อใดข้อหนึ่ง การดำเนินการซึ่งประกอบรวม เพิ่มเติมด้วยการรับเส้นทางของหลุมเจาะ, การรับแผนผังการสำรวจ และการใช้แบบจำลองความ ผิดพลาดจำนวนหนึ่งค่อนการเจาะหลุมเจาะไปตามเส้นทางที่ได้รับ 1 7. ระบบซึ่งประกอบรวมด้วย อุปกรณ์ที่ใช้ประมวลผลข้อมูล และ สื่อกลางที่สามารถอ่านได้ด้วยคอมพิวเตอร์ที่จัดเก็บคำสั่งที่สามารถดำเนินการได้โดยอุปกรณ์ ที่ใช้ประมวลผลข้อมูลเพื่อกระทำการดำเนินการซึ่งประกอบรวมด้วย การรับเส้นทางของหลุมเจาะที่ถูกวางแผนเอาไว้จากพื้นผิวหนึ่งไปยังเป้าหมายทาง ธรณีวิทยาที่อยู่ใต้ดินที่จะถูกเข้าถึงได้โดยการเจาะหลุมเจาะ การรับแผนผังสำรวจที่แสดงจำนวน, ตำแหน่ง และประเภทการสำรวจของการ สำรวจที่จะถูกกระทำบนหลุมเจาะในขณะที่เจาะหลุมเจาะ การแสดงผล ในส่วนต่อประสานกับผู้ใช้งาน แบบจำลองความผิดพลาดจำนวนหนึ่ง ที่รวมถึงแบบหนึ่งเป็นอย่างน้อยของแบบจำลองที่ใช้อ้างอิงในสนามเพื่อการประมาณค่าในช่วง (IIFR), แบบจำลองที่ใช้อ้างอิงในสนาม (IFR), แบบจำลองการวัดในขณะที่เจาะ (MWD) หรือ แบบจำลองการปรับแก้ระยะตกท้องช้าง การใช้แบบจำลองความผิดพลาดจำนวนหนึ่งตามประเภทของการสำรวจสำหรับการ เจาะหลุมเจาะ, แบบจำลองความผิดพลาดแต่ละตัวที่กำหนดความไม่แน่นอนที่เกี่ยวข้องในการเข้าถึง เป้าหมายทางธรณีวิทยาที่อยู่ใต้ดินโดยการเจาะหลุมเจาะไปตามเส้นทางที่ได้รับ และ หน้า 6 ของจำนวน 7 หน้า การแสดงผลในส่วนต่อประสานกับผู้ใช้งาน เส้นทางที่ได้รับของหลุมเจาะและตัว แสดงความไม่แน่นอนที่หาได้โดยการใช้แบบจำลองความผิดพลาดจำนวนหนึ่ง ตัวแสดงความไม่ แน่นอนที่แทนการผสมผสานของความไม่แน่นอนที่เกี่ยวช้องที่ถูกกำหนดได้โดยความผิดพลาด จำนวนหนึ่ง ของตัวแสดงความไม่แน่นอนที่แสดงถึงความไม่แน่นอนในการเจาะหลุมเจาะบน เส้นทางที่ได้รับ 1 8. ระบบที่ประกอบรวมด้วย อุปกรณ์ที่ใช้ประมวลผลข้อมูล และ สื่อกลางที่สามารถอ่านได้ด้วยคอมพิวเตอร์ที่จัดเก็บคำสั่งที่สามารถดำเนินการได้โดยอุปกรณ์ ที่ใช้ประมวลผลข้อมูลเพื่อกระทำการดำเนินการซึ่งประกอบรวมด้วย การรับเส้นทางของหลุมเจาะที่ถูกวางแผนเอาไว้จากพื้นผิวหนึ่งไปยังเป้าหมายทาง ธรณีวิทยาที่อยู่ใต้ดินที่จะถูกเข้าถึงได้โดยการเจาะหลุมเจาะ การรับแผนผังสำรวจที่แสดงจำนวน, ตำแหน่ง และประเภทการสำรวจของการ สำรวจที่จะถูกกระทำบนหลุมเจาะในขณะที่เจาะหลุมเจาะ การใช้แบบจำลองความผิดพลาดจำนวนหนึ่งตามประเภทของการสำรวจสำหรับการ เจาะหลุมเจาะ, แบบจำลองความผิดพลาดแต่ละตัวที่กำหนดความไม่แน่นอนที่เกี่ยวข้องในการเข้าถึง เป้าหมายทางธรณีวิทยาที่อยู่ใต้ดินโดยการเจาะหลุมเจาะไปตามเส้นทางที่ได้รับ การแสดงผล ในส่วนต่อประสานกับผู้ใช้งาน เส้นทางที่ได้รับของหลุมเจาะและตัว แสดงความไม่แน่นอนที่หาได้โดยการใช้แบบจำลองความผิดพลาดจำนวนหนึ่ง ตัวแสดงความไม่ แน่นอนที่แทนการผสมผสานของความไม่แน่นอนที่เกี่ยวข้องที่ถูกกำหนดได้โดยความผิดพลาด จำนวนหนึ่ง ของตัวแสดงความไม่แน่นอนที่แสดงถึงความไม่แน่นอนในการเจาะหลุมเจาะบน เส้นทางที่ได้รับ การรับตำแหน่งทางภูมิศาสตร์ ที่ซึ่งหลุมเจาะจะถูกเจาะ, เวลาในการเจาะ และ แม่เหล็กที่แทนการเปลี่ยนแปลงในสนามแม่เหล็กโลก เนื่องมาจากโซลาร์ เอฟเฟกท์ในระหว่างเวลา ในการเจาะ การรับความแรงของสนามโน้มถ่วงและสนามแม่เหล็กของโลกที่ตำแหน่งทาง ภูมิศาสตร์ ที่เวลาในการเจาะที่หาตามแบบจำลองทางภูมิมาตรศาสตร์ที่ใช้เพื่อหาสนามโน้มถ่วงของ โลกและการเอียงแม่เหล็ก และ หน้า 7 ของจำนวน 7 หน้า การแสดงผลในส่วนต่อประสานกับผู้ใช้งาน ตัวระบุที่ระบุแบบจำลองทางภูมิมาตร ศาสตร์, ความแรงของสนามโน้มถ่วงและความแรงของสนามแม่เหล็กโลก ค่ามุมเอียงเทของ สนามแม่เหล็กและแม่เหล็กในระหว่างเวลาในการเจาะ 1 9. ระบบซึ่งประกอบรวมด้วย อุปกรณ์ที่ใช้ประมวลผลข้อมูล และ สื่อกลางที่สามารถอ่านได้ด้วยคอมพิวเตอร์ที่จัดเก็บคำสั่งที่สามารถดำเนินการได้โดยอุปกรณ์ ที่ใช้ประมวลผลข้อมูลเพื่อกระทำการดำเนินการซึ่งประกอบรวมด้วย การรับเส้นทางของหลุมเจาะที่ถูกวางแผนเอาไว้จากพื้นผิวหนึ่งไปยังเป้าหมายทาง ธรณีวิทยาที่อยู่ใต้ดินที่จะถูกเข้าถึงได้โดยการเจาะหลุมเจาะ การรับแผนผังสำรวจที่แสดงจำนวน, ตำแหน่ง และประเภทการสำรวจของการ สำรวจที่จะถูกกระทำบนหลุมเจาะในขณะที่เจาะหลุมเจาะ การใช้แบบจำลองความผิดพลาดจำนวนหนึ่งตามประเภทของการสำรวจสำหรับการ เจาะหลุมเจาะ, แบบจำลองความผิดพลาดแต่ละตัวที่กำหนดความไม่แน่นอนที่เกี่ยวข้องในการเข้าถึง เป้าหมายทางธรณีวิทยาที่อยู่ใต้ดินโดยการเจาะหลุมเจาะไปตามเส้นทางที่ได้รับ การแสดงผล ในส่วนต่อประสานกับผู้ใช้งาน เส้นทางที่ได้รับของหลุมเจาะและตัว แสดงความไม่แน่นอนที่หาได้โดยการใช้แบบจำลองความผิดพลาดจำนวนหนึ่ง ตัวแสดงความไม่ แน่นอนที่แทนการผสมผสานของความไม่แน่นอนที่เกี่ยวข้องที่ถูกกำหนดได้โดยความผิดพลาด จำนวนหนึ่ง ของตัวแสดงความไม่แน่นอนที่แสดงถึงความไม่แน่นอนในการเจาะหลุมเจาะบน เส้นทางที่ได้รับ การแสดงผล ในส่วนต่อประสานกับผู้ใช้งานพารามิเตอร์จำนวนหนึ่งที่รวมถึงความยาวของ ก้านเจาะชนิดพิเศษที่ป้องกันสนามแม่เหล็ก (NMDC) ที่จะถูกวางตำแหน่งเอาไว้ในหลุมเจาะ, ตำแหน่งเซนเชอร์ใน NMDC ที่ซึ่งเครื่องมือในการสำรวจจะถูกวางตำแหน่งและสารสนเทศของท่อกรู ที่อธิบายถึงหนึ่งอย่างเป็นอย่างน้อยของขนาดท่อกรู, ระยะห่าง หรือทิศทางจากตำแหน่งเซนเซอร์ ------------ 1. วิธีการสำรวจหลุมเจาะที่ใช้คอมพิวเตอร์ ซึ่งประกอบรวมด้วย การรับเส้นทางของหลุมเจาะที่ถูกวางแผนเอาไว้ จากพื้นผิวหนึ่งไปยังเป้าหมายทางธรณีวิทยา ที่อยู่ใต้ดินที่จะถูกเข้าถึงได้โดยการเจาะหลุมเจาะ การรับแผนผังสำรวจที่แสดงจำนวน, ตำแหน่ง และประเภทการสำรวจของการสำรวจที่จะถูก กระทำบนหลุมเจาะในขณะที่เจาะหลุมเจาะ การแสดงผล ในส่วนต่อประสานกับผู้ใช้งาน แบบจำลองความผิดพลาดจำนวนหนึ่งที่รวมถึง แบบหนึ่งเป็นอย่างน้อยของแบบจำลองที่ใช้อ้างอิงในสนามเพื่อการประมาณค่าในช่วง (IIFR), แบบจำลองที่ใช้อ้างอิงในสนาม (IFR), แบบจำลองการวัดในขณะที่เจาะ (MWD) หรือแบบจำลองการ ปรับแก้ระยะตกท้องช้อง การใช้แบบจำลองความผิดพลาดจำนวนหนึ่งตามประเภทของการสำรวจสำหรับการเจาะ หลุมเจาะ แบบจำลองความผิดพลาดแต่ละตัวที่กำหนดความไม่แน่นอนที่เกี่ยวข้องในการเข้าถึง เป้าหมายทางธรณีวิทยาที่อยู่ใต้ดิน โดยการเจาะหลุมเจาะไปตามเส้นทางที่ได้รับ และ การแสดงผล ในส่วนต่อประสานกับผู้ใช้งาน เส้นทางที่ได้รับของหลุมเจาะ และตัวแสดง ความไม่แน่อนที่หาได้โดยการใช้แบบจำลองความผิดพลาดจำนวนหนึ่ง ตัวแสดงความไม่แน่นอนที่ แทนการผสมผสานของความไม่แน่นอนที่เกี่ยวข้องที่ถูกกำหนดได้โดยแบบจำลองความผิดพลาด จำนวนหนึ่ง ตัวแสดงความไม่แน่นอนที่แสดงถึงความไม่แน่นอนในการเจาะหลุมเจาะบนเส้นทางที่ ได้รับ 2. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อที่ 1 ที่ซึ่งตัวแสดงความไม่แน่นอนรวมถึงวงรีจำนวนหนึ่ง แต่ละ วงที่มีพื้นที่แตกต่างกัน วงรีแต่ละวงที่เกี่ยวข้องกับความลึกที่เกี่ยวข้องของหลุมเจาะจากพื้นผิวไปยัง เป้าหมายทางธรณีวิทยาที่อยู่ใต้ดิน วิธีการซึ่งประกอบรวมเพิ่มเติมด้วยการแสดงผลวงรีจำนวนหนึ่งที่ ความลึกที่เกี่ยวข้องจำนวนหนึ่งในส่วนต่อประสานกับผู้ใช้ 3. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อที่ 2 ที่ซึ่งประกอบรวมเพิ่มเติมด้วย การหาว่าวงรีวงแรกไม่ได้ตอบสนองความต้องการต่อค่าขีดเริ่มความไม่แน่นอนที่ความลึกที่ เกี่ยวข้อง และ การแสดงผลวงรีวงแรกในส่วนต่อประสานกับผู้ใช้งาน ในลักษณะซึ่งสามารถแยกแยะ ทางการมองเห็นได้จากวงรีวงที่สองซึ่งตอบสนองความต้องการต่อค่าขีดเริ่มความไม่นอนที่ความ ลึกที่เกี่ยวข้อง 4. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อที่ 1 ที่ซึ่งประกอบรวมเพิ่มเติมด้วย การรับการเลือกของเครื่องมือ ในการสำรวจจากระหว่างเครื่องมือในการสำรวจจำนวนหนึ่ง เครื่องมือในการสำรวจจะถูกนำไปใช้ เพื่อสำรวจหลุมเจาะที่จะถูกเจาะไปตามเส้นทางที่ได้รับ 5. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อที่ 1 ที่ซึ่งประกอบรวมเพิ่มเติมด้วย การรับเส้นทางของหลุมเจาะ, การรับแผนผังการสำรวจ และการใช้แบบจำลองความผิดพลาดจำนวนหนึ่งก่อนการเจาะหลุมเจาะไป ตามเส้นทางที่ได้รับ 6. วิธีการสำหรับหลุมเจาะที่ใช้คอมพิวเตอร์ ที่ประกอบรวมด้วย การรับเส้นทางของหลุมเจาะที่ใช้คอมพิวเตอร์ ที่ประกอบรวมด้วย การรับเส้นทางของหลุมเจาะที่ถูกวางแผนเอาไว้ จากพื้นผิวหนึ่งไปยังเป้าหมายทางธรณีวิทยา ที่อยู่ใต้ดินที่จะถูกเข้าถึงได้โดยการเจาะหลุมเจาะ การรับแผนผังสำรวจที่แสดงจำนวน, ตำแหน่ง และประเภทการสำรวจของการสำรวจที่จะถูก กระทำบนหลุมเจาะในขณะที่เจาะหลุมเจาะ การใช้แบบจำลองความผิดพลาดจำนวนหนึ่งตามประเภทของการสำรวจสำหรับการเจาะ หลุมเจาะ แบบจำลองความผิดพลาดแต่ละตัวที่กำหนดความไม่แน่นอนที่เกี่ยวข้องในการเข้าถึง เป้าหมายทางธรณีวิทยาที่อยู่ใต้ดินโดยการเจาะหลุมเจาะไปตามเส้นทางที่ได้รับ และ การแสดงผล ในส่วนต่อประสานกับผู้ใช้งาน เส้นทางที่ได้รับของหลุมเจาะ และตัวแสดง ความไม่แน่นอนที่หาได้โดยการใช้แบบจำลองความผิดพลาดจำนวนหนึ่ง ตัวแสดงความไม่แน่นอนที่ แทนการผสมผสานของความไม่แน่นอนที่เกี่ยวข้องที่ถูกกำหนดได้โดยแบบจำลองความผิดพลาด จำนวนหนึ่ง ซึ่งตัวแสดงความไม่แน่นอนแสดงถึงความไม่แน่นอนในการเจาะหลุมเจาะบนเส้นทางที่ ได้รับ; และ การรับพารามิเตอร์จำนวนหนึ่งซึ่งอธิบายถึงตำแหน่งและรูปร่างของหลุมเจาะ ที่ซึ่ง พารามิเตอร์จำนวนหนึ่งที่อธิบายถึงหลุมเจาะซึ่งถูกแสดงผลอยู่ในส่วนต่อประสานกับผู้ใช้งานรวมถึง ความยาวของก้านเจาะชนิดพิเศษที่ป้องกันสนามแม่เหล็ก (NMDC) ที่จะถูกวางตำแหน่งเอาไว้ในหลุม เจาะ, ตำแหน่งเซนเซอร์ใน NMDC ที่ซึ่งเครื่องมือในการสำรวจจะถูกวางตำแหน่งและสารสนเทศของ ท่อกรุที่อธิบายถึงหนึ่งตัวเป็นอย่างน้อยของขนาดของท่อกรุ, ระยะห่าง หรือทิศทางจากตำแหน่ง เซนเซอร์ 7. วิธีการสำรวจหลุมเจาะที่ใช้คอมพิวเตอร์ ที่ประกอบรวมด้วย การรับเส้นทางของหลุมเจาะที่ถูกวางแผนเอาไว้ จากพื้นผิวหนึ่งไปยังเป้าหมายทางธรณีวิทยา ที่อยู่ใต้ดินที่จะถูกเข้าถึงได้โดยการเจาะหลุมเจาะ การรับแผนผังสำรวจที่แสดงจำนวน, ตำแหน่ง และประเภทการสำรวจของการสำรวจที่จะถูก กระทำบนหลุมเจาะในขณะที่เจาะหลุมเจาะ การใช้แบบจำลองความผิดพลาดจำนวนหนึ่งตามประเภทของการสำรวจสำหรับการเจาะ หลุมเจาะ แบบจำลองความผิดพลาดแต่ละตัวที่กำหนดความไม่แน่นอนที่เกี่ยวข้องในการเข้าถึง เป้าหมายทางธรณีวิทยาที่อยู่ใต้ดิน โดยการเจาะหลุมเจาะไปตามเส้นทางที่ได้รับ และ การแสดงผล ในส่วนต่อประสานกับผู้ใช้งาน เส้นทางที่ได้รับของหลุมเจาะ และตัวแสดง ความไม่แน่นอนที่หาได้โดยการใช้แบบจำลองความผิดพลาดจำนวนหนึ่ง ตัวแสดงความไม่แน่นอนที่ แทนการผสมผสานของความไม่แน่นอนที่เกี่ยวข้องที่ถูกกำหนดได้โดยแบบจำลองความผิดพลาด จำนวนหนึ่ง ตัวแสดงความไม่แน่นอนที่แสดงถึงความไม่แน่นอนในการเจาะหลุมเจาะบนเส้นทางที่ ได้รับ การรับความแรงของสนามโน้มถ่วงและสนามแม่เหล็กของโลกที่ตำแหน่งทางภูมิศาสตร์ ที่ ซึ่งหลุมเจาะจะถูกเจาะที่เวลาในการเจาะที่หาตามแบบจำลองทางภูมิศาสตร์ที่ใช้เพื่อหาสนาม โน้มถ่วงของโลกและการเอียงแม่เหล็ก (magnetic dipping) และ การแสดงผล ในส่วนต่อประสานกับผู้ใช้งาน ตัวระบุที่ระบุแบบจำลองทางภูมิศาสตร์, ความแรงของสนามโน้มถ่วงและความแรงของสนามแม่เหล็กของโลกและค่ามุมเอียงของ สนามแม่เหล็ก 8. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อที่ 8 ที่ซึ่งประกอบรวมเพิ่มเติมด้วย การรับการเปลี่ยนแปลงที่แทน แม่เหล็กในสนามแม่เหล็กโลก เนื่องมาจากโซลาร์ เอฟเฟกท์ในระหว่างเวลาในการเจาะ วิธีการซึ่ง ประกอบรวมเพิ่มเติมด้วยการแสดงผล ในส่วนต่อประสานกับผู้ใช้งาน แม่เหล็กในระหว่างเวลาในการ เจาะ 9. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อที่ 9 ที่ซึ่ง การแสดงผล ในส่วนต่อประสานกับผู้ใช้งาน) แม่เหล็ก ในระหว่างเวลาในการเจาะ ประกอบรวมด้วย การแสดงผลการพล็อตของแม่เหล็กตลอดเวลาซึ่งประกอบรวมด้วยเวลาในการเจาะ การเปรียบเทียบแม่เหล็กกับแม่เหล็กระดับขีดเริ่มสำหรับการเจาะหลุมเจาะ การแสดงผลแม่เหล็กซึ่งเป็นไปตามแม่เหล็กระดับขีดเริ่มในสีแรก และแม่เหล็ก ซึ่งไม่ได้ทำ ให้เกิดความพอใจกับแม่เหล็กระกับขีดเริ่มในสีที่สอง ซึ่งแตกต่างจากสีแรก 1 0. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อที่ 1 ที่ซึ่งประกอบรวมเพิ่มเติมด้วย การแสดงผล ในส่วนต่อ ประสานกับผู้ใช้งาน รูปภาพของการปรับแก้ระยะตกท้องช้างสำหรับหลุมเจาะ 1
1. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อที่ 1 ที่ซึ่งประกอบรวมเพิ่มเติมด้วย การแสดงผล ในส่วนต่อ ประสานกับผู้ใช้งาน การแทรกสอดตามแนวและคร่อมแกนที่แทนการรบกวนในสนามแม่เหล็ก เนื่องมาจากองค์ประกอบที่มีค่าซึมผ่านทางแม่เหล็กต่ำในหลุมเจาะ 1
2. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อที่ 1 ที่ซึ่งประกอบรวมเพิ่มเติมด้วย การรับการเปลี่ยนแปลงไปเป็นความไม่แน่นอนที่ถูกกำหนดได้โดยแบบจำลองความ ผิดพลาดแบบแรกของแบบจำลองความผิดพลาดจำนวนหนึ่ง การเปลี่ยนแปลงที่มีผลต่อการ เปลี่ยนแปลงไปเป็นความไม่แน่นอนที่ถูกกำหนดได้โดยแบบจำลองความผิดพลาดแบบที่สองของ แบบจำลองความผิดพลาดจำนวนหนึ่ง ตามที่รับการเปลี่ยนแปลงโดยอัตโนมัติและปราศจากการแทรกแซงจากผู้ใช้งาน การอัพเดตดังแสดงความไม่แน่นอนที่หาได้โดยการใช้แบบจำลองความผิดพลาด จำนวนหนึ่ง ซึ่งรวมถึงแบบจำลองความผิดพลาดแบบแรก และแบบจำลองความผิดพลาดแบบที่สอง และ การแสดงผลตัวแสดงความไม่แน่นอนที่ถูกอัพเดทในส่วนต่อประสานกับผู้ใช้งาน 1
3. สื่อกลางที่สามารถอ่านได้ด้วยคอมพิวเตอร์ถาวรที่จัดเก็บคำสั่งที่สามารถดำเนินการได้ โดยอุปกรณ์ที่ใช้ประมวลผลข้อมูลเพื่อกระทำการดำเนินการซึ่งประกอบรวมด้วย การรับเส้นทางของหลุมเจาะที่ถูกวางแผนเอาไว้จากพื้นผิวที่หนึ่งไปยังเป้าหมายทางธรณีวิทยา ที่อยู่ใต้ดินที่จะถูกเข้าถึงได้โดยการเจาะหลุมเจาะ การรับแผนผังสำรวจที่แสดงจำนวน, ตำแหน่ง และประเภทการสำรวจของการสำรวจที่จะถูก การทำบนหลุมเจาะในขณะที่เจาะหลุมเจาะ การแสดงผล ในส่วนต่อประสานกับผู้ใช้งาน แบบจำลองความผิดพลาดจำนวนหนึ่งที่รวมถึง แบบหนึ่งเป็นอย่างน้อยของแบบจำลองที่ใช้อ้างอิงในสนามเพื่อการประมาณค่าในช่วง (IIFR), แบบจำลองที่ใช้อ้างอิงในสนาม (IFR), แบบจำลองการวัดในขณะที่เจาะ (MWD) หรือแบบจำลองการ ปรับแก้ระยะตกท้องช้าง การใช้แบบจำลองความผิดพลาดจำนวนหนึ่งตามประเภทของการสำรวจสำหรับการเจาะ หลุมเจาะ แบบจำลองความผิดพลาดแต่ละตัวที่กำหนดควาไม่แน่นอนที่เกี่ยวข้องในการเข้าถึง เป้าหมายทางธรณีวิทยาที่อยู่ใต้ดินโดยการเจาะหลุมเจาะไปตามเส้นทางที่ได้รับ และ การแสดงผลในส่วนต่อประสานกับผู้ใช้งาน เส้นทางที่ได้รับของหลุมเจาะ และตัวแสดง ความไม่แน่นอนที่หาได้โดยการใช้แบบจำลองความผิดพลาดจำนวนหนึ่ง ตัวแสดงความไม่แน่นอนที่ แทนการผสมผสานของความไม่แน่นอนที่เกี่ยวข้องที่ถูกกำหนดได้โดยความผิดพลาดจำนวนหนึ่งของ ตัวแสดงความไม่แน่นอนที่แสดงถึงความไม่แน่นอนในการเจาะหลุมเจาะบนเส้นทางที่ได้รับ 1
4. สื่อกลางตามข้อถือสิทธิข้อที่ 14 ที่ซึ่งตัวแสดงความไม่แน่นอนรวมถึงวงรีจำนวนหนึ่ง แต่ ละวงที่มีพื้นที่แตกต่างกัน วงรีแต่ละวงที่เกี่ยวข้องกับความลึกที่เกี่ยวข้องของหลุมเจาะจากพื้นผิวไปยัง เป้าหมายทางธรณีวิทยาที่อยู่ใต้ดิน การดำเนินการซึ่งประกอบรวมเพิ่มเติมด้วยการแสดงผลวงรีจำนวน หนึ่งที่ความลึกที่เกี่ยวข้องจำนวนหนึ่งในส่วนต่อประสานกับผู้ใช้งาน 1
5. สื่อกลางตามข้อถือสิทธิข้อที่ 15 ซึ่งการดำเนินการประกอบรวมเพิ่มเติมด้วย การหาว่าวงรีวงแรกไม่ได้ทำให้เกิดความพอใจกับค่าขีดเริ่มความไม่แน่นอนที่ความลึกที่ เกี่ยวข้อง และ การแสดงผลวงรีวงแรกในส่วนต่อประสานกับผู้ใช้งานในสีซึ่งแตกต่างจากสีของวงรีวงที่สอง ซึ่งทำให้เกิดความพอใจกับค่าขีดเริ่มของความไม่แน่นอนที่ความลึกที่เกี่ยวข้อง 1
6. สื่อกลางตามข้อถือสิทธิข้อที่ 14 การดำเนินการซึ่งประกอบรวมเพิ่มเติมด้วยการรับ เส้นทางของหลุมเจาะ, การรับแผนผังการสำรวจ และการใช้แบบจำลองความผิดพลาดจำนวนหนึ่ง ก่อนการเจาะหลุมเจาะไปตามเส้นทางที่ได้รับ 1
7. ระบบซึ่งประกอบรวมด้วย อุปกรณ์ที่ใช้ประมวลผลข้อมูล และ สื่อกลางที่สามารถอ่านได้ด้วยคอมพิวเตอร์ที่จัดเก็บคำสั่งที่สามารถดำเนินการได้โดยอุปกรณ์ ที่ใช้ประมวลผลข้อมูลเพื่อกระทำการดำเนินการซึ่งประกอบรวมด้วย การรับเส้นทางของหลุมเจาะที่ถูกวางแผนเอาไว้จากพื้นผิวหนึ่งไปยังเป้าหมายทาง ธรณีวิทยาที่อยู่ใต้ดินที่จะถูกเข้าถึงได้โดยการเจาะหลุมเจาะ การรับแผนผังสำรวจที่แสดงจำนวน, ตำแหน่ง และประเภทการสำรวจของการ สำรวจที่จะถูกกระทำบนหลุมเจาะในขณะที่เจาะหลุมเจาะ การแสดงผล ในส่วนต่อประสานกับผู้ใช้งาน แบบจำลองความผิดพลาดจำนวนหนึ่ง ที่รวมถึงแบบหนึ่งเป็นอย่างน้อยของแบบจำลองที่ใช้อ้างอิงในสนามเพื่อการประมาณค่าในช่วง (IIFR), แบบจำลองที่ใช้อ้างอิงในสนาม (IFR), แบบจำลองการวัดในขณะที่เจาะ (MWD) หรือ แบบจำลองการปรับแก้ระยะตกท้องช้าง การใช้แบบจำลองความผิดพลาดจำนวนหนึ่งตามประเภทของการสำรวจสำหรับการ เจาะหลุมเจาะ, แบบจำลองความผิดพลาดแต่ละตัวที่กำหนดความไม่แน่นอนที่เกี่ยวข้องในการเข้าถึง เป้าหมายทางธรณีวิทยาที่อยู่ใต้ดินโดยการเจาะหลุมเจาะไปตามเส้นทางที่ได้รับ และ การแสดงผลในส่วนต่อประสานกับผู้ใช้งาน เส้นทางที่ได้รับของหลุมเจาะและตัว แสดงความไม่แน่นอนที่หาได้โดยการใช้แบบจำลองความผิดพลาดจำนวนหนึ่ง ตัวแสดงความไม่ แน่นอนที่แทนการผสมผสานของความไม่แน่นอนที่เกี่ยวข้องที่ถูกกำหนดได้โดยความผิดพลาด จำนวนหนึ่ง ของตัวแสดงความไม่แน่นอนที่แสดงถึงความไม่แน่นอนในการเจาะหลุมเจาะบน เส้นทางที่ได้รับ 1
8. ระบบที่ประกอบรวมด้วย อุปกรณ์ที่ใช้ประมวลผลข้อมูล และ สื่อกลางที่สามารถอ่านได้ด้วยคอมพิวเตอร์ที่จัดเก็บคำสั่งที่สามารถดำเนินการได้โดยอุปกรณ์ ที่ใช้ประมวลผลข้อมูลเพื่อกระทำการดำเนินการซึ่งประกอบรวมด้วย การรับเส้นทางของหลุมเจาะที่ถูกวางแผนเอาไว้จากพื้นผิวหนึ่งไปยังเป้าหมายทาง ธรณีวิทยาที่อยู่ใต้ดินที่จะถูกเข้าถึงได้โดยการเจาะหลุมเจาะ การรับแผนผังสำรวจที่แสดงจำนวน, ตำแหน่ง และประเภทการสำรวจของการ สำรวจที่จะถูกกระทำบนหลุมเจาะในขณะที่เจาะหลุมเจาะ การใช้แบบจำลองความผิดพลาดจำนวนหนึ่งตามประเภทของการสำรวจสำหรับการ เจาะหลุมเจาะ, แบบจำลองความผิดพลาดแต่ละตัวที่กำหนดความไม่แน่นอนที่เกี่ยวข้องในการเข้าถึง เป้าหมายทางธรณีวิทยาที่อยู่ใต้ดินโดยการเจาะหลุมเจาะไปตามเส้นทางที่ได้รับ การแสดงผล ในส่วนต่อประสานกับผู้ใช้งาน เส้นทางที่ได้รับของหลุมเจาะและตัว แสดงความไม่แน่นอนที่หาได้โดยการใช้แบบจำลองความผิดพลาดจำนวนหนึ่ง ตัวแสดงความไม่ แน่นอนที่แทนการผสมผสานของความไม่แน่นอนที่เกี่ยวข้องที่ถูกกำหนดได้โดยความผิดพลาด จำนวนหนึ่ง ของตัวแสดงความไม่แน่นอนที่แสดงถึงความไม่แน่นอนในการเจาะหลุมเจาะบน เส้นทางที่ได้รับ การรับตำแหน่งทางภูมิศาสตร์ ที่ซึ่งหลุมเจาะจะถูกเจาะ, เวลาในการเจาะ และ แม่เหล็กที่แทนการเปลี่ยนแปลงในสนามแม่เหล็กโลก เนื่องมาจากโซลาร์ เอฟเฟกท์ในระหว่างเวลา ในการเจาะ การรับความแรงของสนามโน้มถ่วงและสนามแม่เหล็กของโลกที่ตำแหน่งทาง ภูมิศาสตร์ ที่เวลาในการเจาะที่หาตามแบบจำลองทางภูมิศาสตร์ที่ใช้เพื่อหาสนามโน้มถ่วงของ โลกและการเอียงแม่เหล็ก และ การแสดงผลในส่วนต่อประสานกับผู้ใช้งาน ตัวระบุที่ระบุแบบจำลองทางภูมิมาตร ศาสตร์, ความแรงของสนามโน้มถ่วงและความแรงของสนามแม่เหล็กโลก ค่ามุมเอียงเทของ สนามแม่เหล็กและแม่เหล็กในระหว่างเวลาในการเจาะ 1
9. ระบบซึ่งประกอบรวมด้วย อุปกรณ์ที่ใช้ประมวลผลข้อมูล และ สื่อกลางที่สามารถอ่านได้ด้วยคอมพิวเตอร์ที่จัดเก็บคำสั่งที่สามารถดำเนินการได้โดยอุปกรณ์ ที่ใช้ประมวลผลข้อมูลเพื่อกระทำการดำเนินการซึ่งประกอบรวมด้วย การรับเส้นทางของหลุมเจาะที่ถูกวางแผนเอาไว้จากพื้นผิวหนึ่งไปยังเป้าหมายทาง ธรณีวิทยาที่อยู่ใต้ดินที่จะถูกเข้าถึงได้โดยการเจาะหลุมเจาะ การรับแผนผังสำรวจที่แสดงจำนวน, ตำแหน่ง และประเภทการสำรวจของการ สำรวจที่จะถูกกระทำบนหลุมเจาะในขณะที่เจาะหลุมเจาะ การใช้แบบจำลองความผิดพลาดจำนวนหนึ่งตามประเภทของการสำรวจสำหรับการ เจาะหลุมเจาะ, แบบจำลองความผิดพลาดแต่ละตัวที่กำหนดความไม่แน่นอนที่เกี่ยวข้องในการเข้าถึง เป้าหมายทางธรณีวิทยาที่อยู่ใต้ดิน โดยการเจาะหลุมเจาะไปตามเส้นทางที่ได้รับ การแสดงผล ในส่วนต่อประสานกับผู้ใช้งาน เส้นทางที่ได้รับของหลุมเจาะและตัว แสดงความไม่แน่นอนที่หาได้โดยการใช้แบบจำลองความผิดพลาดจำนวนหนึ่ง ตัวแสดงความไม่ แน่นอนที่แทนการผสมผสานของความไม่แน่นอนที่เกี่ยวข้องที่ถูกกำหนดได้โดยความผิดพลาด จำนวนหนึ่ง ของตัวแสดงความไม่แน่นอนที่แสดงถึงความไม่แน่นอนในการเจาะหลุมเจาะบน เส้นทางที่ได้รับ การแสดงผล ในส่วนต่อประสานกับผู้ใช้งานพารามิเตอร์จำนวนหนึ่งที่รวมถึงความยาวของ ก้านเจาะชนิดพิเศษที่ป้องกันสนามแม่เหล็ก (NMDC) ที่จะถูกวางตำแหน่งเอาไว้ในหลุมเจาะ, ตำแหน่งเซนเซอร์ใน NMDC ที่ซึ่งเครื่องมือในการสำรวจจะถูกวางตำแหน่งและสารสนเทศของท่อกรุ ที่อธิบายถึงหนึ่งอย่างเป็นอย่างน้อยของขนาดท่อกรุ, ระยะห่าง หรือทิศทางจากตำแหน่งเซนเซอร์
TH1601001317A 2013-10-08 เครื่องมือที่ใช้ในการจัดการและวางแผนสำรวจหลุมเจาะแบบรวมกัน TH66950B (th)

Publications (3)

Publication Number Publication Date
TH165322A true TH165322A (th) 2017-07-27
TH165322B TH165322B (th) 2017-07-27
TH66950B TH66950B (th) 2018-12-17

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
US7630872B2 (en) Methods for visualizing distances between wellbore and formation boundaries
CN101798918B (zh) 一种确定邻井平行段的相对空间位置的方法
US20210332690A1 (en) Method and system of combined support for a well drilling process
AU2012388240B2 (en) Methods and systems of incorporating pseudo-surface pick locations in seismic velocity models
CN103046868A (zh) 一种水平井一体化地质导向方法
CN106154322B (zh) 测井曲线校正方法和装置
EP2984506B1 (en) Logging while drilling (lwd) steering visualization tool methods and systems
AU2013402485B2 (en) Integrated well survey management and planning tool
CN106437677B (zh) 一种煤矿井下钻孔群钻孔质量评价方法及装置
JP2018004494A (ja) 地質境界面または断層面の予測方法
CN105484735A (zh) 一种实钻井眼轨迹与设计轨道符合率的评价方法
CN106285479B (zh) 一种基于三维gis技术的井眼轨迹控制方法
RU2750279C2 (ru) Способ выполнения разведки
CN106407500B (zh) 一种矢量化剖面的编制方法及装置
RU2633841C1 (ru) Визуализация траектории ствола скважины и определение мест дальнометрических замеров
AU2013402484B2 (en) Integrated well survey management and planning tool
TH165322A (th) เครื่องมือที่ใช้ในการจัดการและวางแผนสำรวจหลุมเจาะแบบรวมกัน
TH66950B (th) เครื่องมือที่ใช้ในการจัดการและวางแผนสำรวจหลุมเจาะแบบรวมกัน
CN105484732B (zh) 用于水平井钻井地质导向施工过程井深的处理方法
US20170362927A1 (en) Ranging to an electromagnetic target without timing
Yngvesson Multi-Data Approach for Subsurface Imaging: Combining Borehole and GPR-Data for Improved Analysis
CN105137485B (zh) 一种地震剖面位图中解释信息的自动拾取转化方法及装置
Madeira Twisted Elliptic Cylinder of Uncertainty: An Alternative Method to Calculate the Anti-Collision Safety Factor
Mishra et al. Maximising Production Potential by Successful Application of Deep Azimuthal Resistivity and Geo-Steering of an Appraisal Well in an Interbedded Reservoir–A Case Study from UAE
Hejda et al. Analysis of the Czech magnetic anomaly data obtained by ground-based and airborne magnetic surveys