TH16503C3 - ชุดเซ็นเซอร์ตรวจจับไอระเหยเชิงไฟฟ้าและเชิงแสง - Google Patents

ชุดเซ็นเซอร์ตรวจจับไอระเหยเชิงไฟฟ้าและเชิงแสง

Info

Publication number
TH16503C3
TH16503C3 TH1803002343U TH1803002343U TH16503C3 TH 16503 C3 TH16503 C3 TH 16503C3 TH 1803002343 U TH1803002343 U TH 1803002343U TH 1803002343 U TH1803002343 U TH 1803002343U TH 16503 C3 TH16503 C3 TH 16503C3
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
optical
sensor
nile red
zinc oxide
vapors
Prior art date
Application number
TH1803002343U
Other languages
English (en)
Other versions
TH16503A3 (th
Inventor
ดร.พนิดา หล่อวงศ์ตระกูล ผู้ช่วยศาสตราจารย์
บุญโญปกรณ์ นายณรงค์ชัย
กลัดสมบูรณ์ นางสาวสุมนา
Filing date
Publication date
Application filed filed Critical
Publication of TH16503A3 publication Critical patent/TH16503A3/th
Publication of TH16503C3 publication Critical patent/TH16503C3/th

Links

Abstract

------25/06/2562------(OCR) หน้าที่ 1 ของจำนวน 1 หน้า บทสรุปการประดิษฐ์ การประดิษฐ์นี้ได้กล่าวถึงกระบวนการประดิษฐ์ชุดก๊าซเซ็นเซอร์ที่อาศัยการตรวจจับไอระเหยเชิงไฟฟ้าและเชิงแสง โดยชุดเซ็นเซอร์นี้เหมาะกับการนำไปประยุกต์ใช้ในการตรวจวัดไอระเหยในอุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม สิ่งประดิษฐ์ถูกพัฒนาขึ้นให้สามารถใช้ตรวจวัดไอระเหยและสามารถให้ชุดข้อมูลการตอบสนองไม่ต่ำกว่า 12 ชุดข้อมูล อันประกอบด้วยข้อมูลการตอบสนองจากก๊าซเซ็นเซอร์เชิงไฟฟ้าจำนวน 4 ชุดข้อมูล ซึ่งเป็นผลจากการตอบสนองของวัสดุเซ็นเซอร์ 4 ชนิด คือ MWCNTs/Nile red, MWCNTs/MgTPP,MWCNTs/MnTPPCl และ MWCNTs และข้อมูลการตอบสนองจากก๊าซเซ็นเซอร์เชิงแสงจำนวน 12 ชุดข้อมูลซึ่งเป็นผลจากการตอบสนองของวัสดุเซ็นเซอร์เชิงแสงที่ทำจากฟิล์มบาง 2 ชั้นของ ฟิล์มสังกะสีออกไซด์ที่ถูกเจือด้วยโลหะอะลูมิเนียม และฟิล์มบางของวัสดุผสมสีย้อมไนล์เรดและพอลิเมอร์พอลิสไตรีน-โค-มาเลอิคแอซิดพาเชียลไอโซบิวทิล/เมทิลมิกซ์เอสเทอร์ (Nile red/PSE) โดยฟิล์มบางของวัสดุเซ็นเซอร์เชิงแสงนี้ได้แสดงให้เห็นการตอบสนองต่อแสงในแต่ละช่วงความยาวคลื่นได้มีความหลากหลาย จึงสามารถให้จำนวนข้อมูลการตอบสนองจำนวนมาก ซึ่งเป็นประโยชน์อย่างมากในการเพิ่มประสิทธิภาพของการวิเคราะห์จำแนกกลิ่นด้วยวิธีทางสถิติต่างๆ จุดเด่นอีกประการของชุดก๊าซเซ็นเซอร์โดยอาศัยการตรวจจับไอระเหยเชิงไฟฟ้าและเชิงแสงคือขั้วเซ็นเซอร์อินเตอร์ดิจิเตทที่มีลักษณะโปร่งแสงทำมาจากฟิล์มบางของสังกะสีออกไซด์ที่ถูกเจือด้วยโลหะอะลูมิเนียม โดยการเจืออะลูมิเนียมไดออกไซด์ลงไปร้อยละหนึ่งโดยนํ้าหนัก และวัสดุสังกะสีออกไซด์ที่นำมาใช้ทำนั้นมีราคาไม่แพงมากนัก ------------ หน้าที่ 1 ของจำนวน 1 หน้า บทสรุปการประดิษฐ์ การประดิษฐ์นี้ได้กล่าวถึงกระบวนการประดิษฐ์ชุดก๊าซเซ็นเซอร์ที่อาศัยการตรวจจับไอระเหยเชิงไฟฟ้า และเชิงแสง โดยชุดเซ็นเซอร์นี้เหมาะกับการนำไปประยุกต์ใช้ในการตรวจวัดไอระเหยในอุตสาหกรรมอาหาร และเครื่องดื่ม สิ่งประดิษฐ์ถูกพัฒนาขึ้นให้สามารถใช้ตรวจวัดไอระเหยและสามารถให้ชุดข้อมูลการตอบสนองไม่ ตํ่ากว่า 12 ชุดข้อมูล อันประกอบด้วยข้อมูลการตอบสนองจากก๊าซเซ็นเซอร์เชิงไฟฟ้าจำนวน 4 ชุดข้อมูล ซึ่ง เป็นผลจากการตอบสนองของวัสดุเซ็นเซอร์ 4 ชนิด คือ MWCNTs/Nile red, MWCNTs/MgTPP, MWCNTs/MnTPPCl และ MWCNTs และข้อมูลการตอบสนองจากก๊าซเซ็นเซอร์เชิงแสงจำนวน 12 ชุดข้อมูล ซึ่งเป็นผลจากการตอบสนองของวัสดุเซ็นเซอร์เชิงแสงที่ทำจากฟิล์มบาง 2 ชั้นของ ฟิล์มสังกะสีออกไซด์ที่ถูกเจือ ด้วยโลหะอะลูมิเนียม และฟิล์มบางของวัสดุผสมสีย้อมไนล์เรดและพอลิเมอร์พอลิสไตรีน-โค-มาเลอิคแอซิด พาเชียลไอโซบิวทิล/เมทิลมิกซ์เอสเทอร์ (Nile red/PSE) โดยฟิล์มบางของวัสดุเซ็นเซอร์เชิงแสงนี้ได้แสดงให้ เห็นการตอบสนองต่อแสงในแต่ละช่วงความยาวคลื่นได้มีความหลากหลาย จึงสามารถให้จำนวนข้อมูลการ ตอบสนองจำนวนมาก ซึ่งเป็นประโยชน์อย่างมากในการเพิ่มประสิทธิภาพของการวิเคราะห์จำแนกกลิ่นด้วยวิธี ทางสถิติต่างๆ จุดเด่นอีกประการของชุดก๊าซเซ็นเซอร์โดยอาศัยการตรวจจับไอระเหยเชิงไฟฟ้าและเชิงแสงคือ ขั้วเซ็นเซอร์อินเตอร์ดิจิเตทที่มีลักษณะโปร่งแสงทำมาจากฟิล์มบางของสังกะสีออกไซด์ที่ถูกเจือด้วยโลหะ อะลูมิเนียม โดยการเจืออะลูมิเนียมไดออกไซด์ลงไปร้อยละหนึ่งโดยนํ้าหนัก และวัสดุสังกะสีออกไซด์ที่นำมาใช้ ทำนั้นมีราคาไม่แพงมากนัก

Claims (2)

ข้อถือสิทธฺ์ (ทั้งหมด) ซึ่งจะไม่ปรากฏบนหน้าประกาศโฆษณา :------25/06/2562------(OCR) หน้าที่ 1 ของจำนวน 1 หน้า ข้อถือสิทธิ 1. ชุดเซ็นเซอร์ตรวจจับไอระเหยเชิงไฟฟ้าและเชิงแสง (504) ประกอบด้วยโครงสร้างที่สำคัญ 2 ส่วน คือ ส่วนที่ 1 โครงสร้างของเซ็นเซอร์อาร์เรย์ตรวจจับไอระเหยเชิงไฟฟ้า ประกอบด้วย ขั้วไฟฟ้าอินเตอร์ดิจิเตท (100) จำนวน 4 ขั้ว (205) (206) (207) (208) ที่วางเรียงเชื่อมต่อกัน บนวัสดุฐานโปร่งแสง ทำจากวัสดุสังกะสีออกไซด์ที่ถูกเจือด้วยโลหะอะลูมิเนียมโดยใช้เทคนิค อาร์เอฟแมกเนตรอนสปัตเตอริง ลักษณะของขั้วไฟฟ้าอินเตอร์ดิจิเตท (100) ทั้ง 4 (205) (206) (207) (208) วางเรียงกันลักษณะเป็นวงเชื่อมกันแบบอนุกรม โดยมีชั้นวัสดุเซ็นเซอร์ เชิงไฟฟ้า (500) (501) (502) (503) เคลือบลงบนขั้วไฟฟ้าอินเตอร์ดิจิเตทแต่ละขั้ว (100) ซึ่ง มีส่วนประกอบของสีย้อม (Nile red, MgTPP และ MnTPPCl) ผสมกับวัสดุท่อนาโน คาร์บอน ชุดเซ็นเซอร์ตรวจจับไอระเหยเชิงไฟฟ้าและเชิงแสง (504) มีลักษณะพิเศษคือ ส่วนที่ 2 โครงสร้างของเซ็นเซอร์ตรวจจับไอระเหยเชิงแสง ประกอบด้วย ชั้นฟิล์มโปร่งแสง ของสังกะสีออกไซด์ที่ถูกเจือด้วยโลหะอะลูมิเนียม (303) โดยใช้เทคนิคอาร์เอฟแมกเนตรอน สปัตเตอริง ซึ่งส่วนที่ 2 นี้ อยู่บนวัสดุฐานโปร่งแสงชิ้นเดียวกับโครงสร้างของขั้วไฟฟ้า อินเตอร์ดิจิเตท (100) ดังกล่าว มีชั้นฟิล์มวัสดุเซ็นเซอร์เชิงแสงเคลือบอยู่ด้านบนชั้นฟิล์ม สังกะสีออกไซด์ที่ถูกเจือด้วยโลหะอะลูมิเนียม (303) ซึ่งเตรียมจาก วัสดุผสมของสีย้อมไนล์ เรด และพอลิเมอร์พอลิสไตรีน-โค-มาเลอิคแอซิด พาเชียลไอโซบิวทิล/เมทิลมิกซ์เอสเทอร์ (Nile red/PSE) (402) ด้วยเทคนิคการปั่นเคลือบ ตำแหน่งของชั้นฟิล์มวัสดุเซ็นเซอร์เชิงแสง นี้อยู่ในตำแหน่งตรงกลางระหว่างขั้วไฟฟ้า (205) (206) (207) (208) ดังกล่าว ------------ หน้าที่ 1 ของจำนวน 1 หน้า ข้อถือสิทธิ
1. โครงสร้างของชุดก๊าซเซ็นเซอร์ที่อาศัยการตรวจจับไอระเหยเซิงไฟฟ้าและเชิงแสง (504) ประกอบด้วย ก๊าซเซ็นเซอร์อาร์เรย์ตรวจจับไอระเหยเชิงไฟฟ้า ที่โครงสร้างประดิษฐ์โดยใช้วัสดุเซ็นเซอร์เคลือบ (500) (501) (502) (503) ลงบนขั้วไฟฟ้าอินเตอร์ดิจิเตท จำนวน 4 ขั้ว (205) (206) (207) (208) ที่วางเรียงเชื่อมต่อกัน และก๊าซเซ็นเซอร์ที่อาศัยการตรวจจับไอระเหยเชิงแสง ที่เคลือบด้วยฟิล์ม บางของวัสดุเซ็นเซอร์ 2 ชั้น (303) (402) บนแผ่นวัสดุฐานโปร่งแสงแผ่นเดียวกัน
2. กระบวนการเตรียมเซ็นเซอร์ตรวจจับไอระเหยเชิงแสง ตามข้อถือสิทธิ 1 ประกอบด้วยขั้นฟิล์ม 2 ชั้น ของ ฟิล์มโปร่งแสงของสังกะสีออกไซด์ที่ถูกเจือด้วยโลหะอะลูมิเนียม (303) เคลือบด้านบนด้วยวัสดุ ผสมของสีย้อมไนล์เรด และพอลิเมอร์พอลิสไตรีน-โค-มาเลอิคแอซิด พาเชียลไอโซบิวทิล/เมทิลมิกซ์ เอสเทอร์ (Nile red/PSE) (402) โดยอัตราส่วนของการเตรียมวัสดุผสมของสีย้อมไนล์เรด และพอลิ เมอร์พอลิสไตรีน-โค-มาเลอิคแอซิด พาเชียลไอโซบิวทิล/เมทิลมิกซ์เอสเทอร์ (Nile red/PSE) (402) มี สัดส่วนที่พอเหมาะของ ไนล์เรด 3-5 มิลลิกรัม พอลิเมอร์ PSE 35-45 มิลลิกรัม ในตัวทำละลายเอทา นอล 1 มิลลิลิตร 1.กรัม
TH1803002343U 2018-04-26 ชุดเซ็นเซอร์ตรวจจับไอระเหยเชิงไฟฟ้าและเชิงแสง TH16503C3 (th)

Publications (2)

Publication Number Publication Date
TH16503A3 TH16503A3 (th) 2020-07-17
TH16503C3 true TH16503C3 (th) 2020-07-17

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
US11959899B2 (en) Method for preparing original data of odor image
Laurence et al. Probing structural heterogeneities and fluctuations of nucleic acids and denatured proteins
Priestley et al. Effects of nanoscale confinement and interfaces on the glass transition temperatures of a series of poly (n-methacrylate) films
Wang et al. Colorimetric sensor based on self‐assembled Polydiacetylene/graphene‐stacked composite film for vapor‐phase volatile organic compounds
KR101592241B1 (ko) 나노 입자 어레이의 제조 방법, 표면 플라즈몬 공명 기반의 센서, 및 이를 이용한 분석 방법
Kietzke et al. Phase separation of binary blends in polymer nanoparticles
Péres et al. Conductive polymer gas sensor for quantitative detection of methanol in Brazilian sugar-cane spirit
KR101754355B1 (ko) 색변환 광결정 구조체 및 이를 이용한 색변환 광결정 센서
Xie et al. Gas sensor arrays based on polymer-carbon black to detect organic vapors at low concentration
US7801687B1 (en) Chemical sensors using coated or doped carbon nanotube networks
Elamine et al. Insight into the sensing mechanism of an impedance based electronic tongue for honey botanic origin discrimination
Costantini et al. On-chip detection of multiple serum antibodies against epitopes of celiac disease by an array of amorphous silicon sensors
Burl et al. Classification performance of carbon black-polymer composite vapor detector arrays as a function of array size and detector composition
He et al. based ZnS: Cu alternating current electroluminescent devices for current humidity sensors with high–linearity and flexibility
Wen et al. Fine structural tuning of fluorescent copolymer sensors for methamphetamine vapor detection
Tuan et al. Polyaniline nanowires-based electrochemical immunosensor for label free detection of Japanese encephalitis virus
Wang et al. Highly sensitive field‐effect ammonia/amine sensors with low driving voltage based on low bandgap polymers
Hideshima et al. Theoretical optimization method of buffer ionic concentration for protein detection using field effect transistors
TH16503C3 (th) ชุดเซ็นเซอร์ตรวจจับไอระเหยเชิงไฟฟ้าและเชิงแสง
TH16503A3 (th) ชุดเซ็นเซอร์ตรวจจับไอระเหยเชิงไฟฟ้าและเชิงแสง
Kim et al. Photonic multilayers for ultrasensitive millisecond colorimetric discrimination between benzene, toluene, and xylene
Ivanov et al. Chemical sensor based on the colorimetric response of porous silicon photonic crystal
Lee et al. Balancing the Initiation and Molecular Recognition Capabilities of Eosin Macroinitiators of Polymerization‐Based Signal Amplification Reactions
Borato et al. Exploiting the versatility of taste sensors based on impedance spectroscopy
Hu et al. Study on the interaction between bovine serum albumin and terbium complex containing polymer