TH146790A - เซลล์ผสมของยีสต์แบบการตรึงด้วยวัสดุทางการเกษตรที่เหมาะสมสำหรับกระบวนการหมักเอทานอล - Google Patents

เซลล์ผสมของยีสต์แบบการตรึงด้วยวัสดุทางการเกษตรที่เหมาะสมสำหรับกระบวนการหมักเอทานอล

Info

Publication number
TH146790A
TH146790A TH1301001581A TH1301001581A TH146790A TH 146790 A TH146790 A TH 146790A TH 1301001581 A TH1301001581 A TH 1301001581A TH 1301001581 A TH1301001581 A TH 1301001581A TH 146790 A TH146790 A TH 146790A
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
ethanol
fermentation
cell
mesophilic
thermophilic
Prior art date
Application number
TH1301001581A
Other languages
English (en)
Inventor
ดร.เหมือนเดือน พิศาลพงศ์ รองศาสตราจารย์
ลิ่มทอง ศ.ดร.สาวิตรี
Original Assignee
นายปรีดา ยังสุขสถาพร
Filing date
Publication date
Application filed by นายปรีดา ยังสุขสถาพร filed Critical นายปรีดา ยังสุขสถาพร
Publication of TH146790A publication Critical patent/TH146790A/th

Links

Abstract

DC60 (27/03/60) การประดิษฐ์นี้เป็นการพัฒนาเทคนิคการตรึงเซลล์ในกระบวนการหมักเอทานอล โดยได้พัฒนาวิธีการ ตรึงเซลล์ จากการใช้เซลล์ยีสต์สายพันธุ์เดียว เป็นการเตรียมเซลล์แบบผสม (Mixed culture) โดยใช้ยีสต์สาย พันธุ์ที่ผลิตเอทานอลได้ดีและทนอุณหภูมิสูง คือ thermophilic Kluyveromyces marxianus กับ ยีสต์สายพันธุ์ที่ ผลิตเอทานอลได้ดีและทนอุณหภูมิปานกลาง คือ mesophilic Saccharomyces cerevisiae ทำการตรึงเซลล์โดยใช้ วัสดุทางการเกษตร ดำเนินการหมักเพื่อผลิตเอทานอล ใช้วัตถุดิบเช่น น้ำอ้อย กากน้ำตาลและ น้ำตาลแดงโดยใช้ กระบวนการแบบครั้งคราวทำซ้ำและแบบต่อเนื่อง ทำให้ได้ระบบที่มีความเสถียรสูง สามารถใช้วัตถุดิบ หลากหลายที่ขอบเขตของอุณหภูมิกว้างคือตั้งแต่อุณหภูมิห้อง ถึง 45 องศา องศาเซลเซียส ช่วยเพิ่ม ประสิทธิภาพของกระบวนการผลิตเอทานอล ลดขั้นตอนการเตรียมเซลล์ในกระบวนการหมัก ลดความเสี่ยงของ ปัญหาการปนเปื้อน ช่วยลดต้นทุนในส่วนการควบคุมอุณหภูมิและการทำน้ำหล่อเย็น การประดิษฐ์นี้เป็นการพัฒนาเทคนิคการตรึงเซลล์ในกระบวนการหมักเอทานอล โดยได้พัฒนาวิธีการ ตรึงเซลล์ จากการใช้เซลล์ยีสต์สายพันธ์เดียว เป็นการเตรียมเซลล์แบบผสม (Mixed culture)โดยใช้ยีสต์สาย พันธุ์ที่ผลิตเอทานอลได้ดีและทนอุณหภูมิสูง คือ thermophilic Kluyveromyces marxianus กับ ยีสต์สายพันธุ์ที่ ผลิตเอทานอลได้ดีและทนอุณหภูมิปานกลาง คือ mesophilic Saccharomyces cerevisiae ทำการตรึงเซลล์โดยใช้ วัสดุทางการเกษตร ดำเนินการหมักเพื่อผลิตเอทานอล ใช้วัตถุดิบเช่น น้ำอ้อย กากน้ำตาลและ น้ำตาลแดงโดยใช้ กระบวนการแบบครั้งคราวทำซ้ำและแบบต่อเนื่อง ทำให้ได้ระบบที่มีความเสถียรสูง สามารถใช้วัตถุดิบ หลากหลายที่ขอบเขตของอุณหภูมิกว้างคือตั้งแต่อุณหภูมิห้อง ถึง 45 องศา องศาเซลเซียส ช่วยเพิ่ม ประสิทธิภาพของกระบวนการผลิตเอทานอล ลดขั้นตอนการเตรียมเซลล์ในกระบวนการหมัก ลดความเสี่ยงของ ปัญหาการปนเปื้อน ช่วยลดต้นทุนในส่วนการควบคุมอุณหภูมิและการทำน้ำหล่อเย็น

Claims (1)

: DC60 (27/03/60) การประดิษฐ์นี้เป็นการพัฒนาเทคนิคการตรึงเซลล์ในกระบวนการหมักเอทานอล โดยได้พัฒนาวิธีการ ตรึงเซลล์ จากการใช้เซลล์ยีสต์สายพันธุ์เดียว เป็นการเตรียมเซลล์แบบผสม (Mixed culture) โดยใช้ยีสต์สาย พันธุ์ที่ผลิตเอทานอลได้ดีและทนอุณหภูมิสูง คือ thermophilic Kluyveromyces marxianus กับ ยีสต์สายพันธุ์ที่ ผลิตเอทานอลได้ดีและทนอุณหภูมิปานกลาง คือ mesophilic Saccharomyces cerevisiae ทำการตรึงเซลล์โดยใช้ วัสดุทางการเกษตร ดำเนินการหมักเพื่อผลิตเอทานอล ใช้วัตถุดิบเช่น น้ำอ้อย กากน้ำตาลและ น้ำตาลแดงโดยใช้ กระบวนการแบบครั้งคราวทำซ้ำและแบบต่อเนื่อง ทำให้ได้ระบบที่มีความเสถียรสูง สามารถใช้วัตถุดิบ หลากหลายที่ขอบเขตของอุณหภูมิกว้างคือตั้งแต่อุณหภูมิห้อง ถึง 45 องศา องศาเซลเซียส ช่วยเพิ่ม ประสิทธิภาพของกระบวนการผลิตเอทานอล ลดขั้นตอนการเตรียมเซลล์ในกระบวนการหมัก ลดความเสี่ยงของ ปัญหาการปนเปื้อน ช่วยลดต้นทุนในส่วนการควบคุมอุณหภูมิและการทำน้ำหล่อเย็น การประดิษฐ์นี้เป็นการพัฒนาเทคนิคการตรึงเซลล์ในกระบวนการหมักเอทานอล โดยได้พัฒนาวิธีการ ตรึงเซลล์ จากการใช้เซลล์ยีสต์สายพันธ์เดียว เป็นการเตรียมเซลล์แบบผสม (Mixed culture)โดยใช้ยีสต์สาย พันธุ์ที่ผลิตเอทานอลได้ดีและทนอุณหภูมิสูง คือ thermophilic Kluyveromyces marxianus กับ ยีสต์สายพันธุ์ที่ ผลิตเอทานอลได้ดีและทนอุณหภูมิปานกลาง คือ mesophilic Saccharomyces cerevisiae ทำการตรึงเซลล์โดยใช้ วัสดุทางการเกษตร ดำเนินการหมักเพื่อผลิตเอทานอล ใช้วัตถุดิบเช่น น้ำอ้อย กากน้ำตาลและ น้ำตาลแดงโดยใช้ กระบวนการแบบครั้งคราวทำซ้ำและแบบต่อเนื่อง ทำให้ได้ระบบที่มีความเสถียรสูง สามารถใช้วัตถุดิบ หลากหลายที่ขอบเขตของอุณหภูมิกว้างคือตั้งแต่อุณหภูมิห้อง ถึง 45 องศา องศาเซลเซียส ช่วยเพิ่ม ประสิทธิภาพของกระบวนการผลิตเอทานอล ลดขั้นตอนการเตรียมเซลล์ในกระบวนการหมัก ลดความเสี่ยงของ ปัญหาการปนเปื้อน ช่วยลดต้นทุนในส่วนการควบคุมอุณหภูมิและการทำน้ำหล่อเย็นข้อถือสิทธิ์ (ข้อที่หนึ่ง) ซึ่งจะปรากฏบนหน้าประกาศโฆษณา :
1. เซลล์ผสมของยีสต์แบบการตรึงด้วยวัสดุทางการเกษตรที่เหมาะสมสำหรับกระบวนการหมัก เอทานอล มีลักษณะพิเศษคือ ตรึงจุลินทรีย์ชนิดทนความร้อนสุง หรือที่สามารถเจริญได้ในอุณหภูมิปานกลาง ขึ้นไปให้มีปริมาณเซลล์จำนวนสูงมากกว่า 1 ชนิด จากกลุ่ม คูเวอร์โรมัยซิส มาร์เซียนัส(Kluveromyces marxianus)และ แซคคาโรมัยซีส ซีรีวิเซีย(Saccharomyces cerevisiae)บนวัสดุทางการเกษตรที่จัดเตรียม จากรังไหม หรือใยบวบหรือวัสดุอื่นทำนอแท็ก :
TH1301001581A 2013-03-27 เซลล์ผสมของยีสต์แบบการตรึงด้วยวัสดุทางการเกษตรที่เหมาะสมสำหรับกระบวนการหมักเอทานอล TH146790A (th)

Publications (1)

Publication Number Publication Date
TH146790A true TH146790A (th) 2016-03-04

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
Nuanpeng et al. Ethanol production from sweet sorghum juice at high temperatures using a newly isolated thermotolerant yeast Saccharomyces cerevisiae DBKKU Y-53
Berlowska et al. Integrated bioethanol fermentation/anaerobic digestion for valorization of sugar beet pulp
Deesuth et al. Optimization of nitrogen and metal ions supplementation for very high gravity bioethanol fermentation from sweet sorghum juice using an orthogonal array design
MX2018014943A (es) Procesamiento de biomasa.
BR112012009828A8 (pt) método para a produção de uma imunoglobulina glicosilada
Liu et al. Recombinant diploid Saccharomyces cerevisiae strain development for rapid glucose and xylose co-fermentation
EA201290391A1 (ru) Способ и система для осахаривания и ферментации сырья из биомассы
MY188848A (en) Yeast propagation simultanesous with saccharification
Aouine et al. Exploring natural fermented foods as a source for new efficient thermotolerant yeasts for the production of second-generation bioethanol
TH146790A (th) เซลล์ผสมของยีสต์แบบการตรึงด้วยวัสดุทางการเกษตรที่เหมาะสมสำหรับกระบวนการหมักเอทานอล
Laopaiboon et al. Novel effective yeast strains and their performance in high gravity and very high gravity ethanol fermentations from sweet sorghum juice
RU2015114092A (ru) Способ получения полипептидов в периплазме прокариотических клеток
Buttowski et al. The use of ethanol product from food waste hydrolysate by co-culture of (Zymomonas mobilis) and (Candida shehata) under non-sterile situation
Koshiishi et al. Changes in solar reflectance of membrane waterproofing materials exposed to different atmospheric conditions
Paczkowska et al. Seasonal changes in phytoplankton community composition and primary production in the southern Baltic Sea based on monitoring, ocean glider and satellite data
Gurazi et al. Impact of Three Different Immobilization Techniques on Batch Fermentation Performance and Substrate Inhibition
RU2014133167A (ru) Способ получения химического вещества
RU2015147338A (ru) Способ производства кваса из толокна
RU2012134229A (ru) Способ получения биологического связующего
RU2010127403A (ru) Дрожжевой экстракт, содержащий гамма-glu-x или гамма-glu-x-glu, и способ его получения
RU2015147364A (ru) Способ производства кваса из толокна
TH147893A (th) วิธีผลิตของผลิตภัณฑ์เคมี
TH166427A (th) การแปรสภาพชีวมวล
MX370823B (es) Biorreactor tubular para cultivo de células microbianas, animales y vegetales.
RU2015142895A (ru) Способ производства кваса из солода