TH10781A3 - บัลลาสต์อิเล็กทรอนิกส์สำหรับขับหลอดฟลูออเรสเซนต์แบบสายไฟสองสาย - Google Patents

บัลลาสต์อิเล็กทรอนิกส์สำหรับขับหลอดฟลูออเรสเซนต์แบบสายไฟสองสาย

Info

Publication number
TH10781A3
TH10781A3 TH1403000970U TH1403000970U TH10781A3 TH 10781 A3 TH10781 A3 TH 10781A3 TH 1403000970 U TH1403000970 U TH 1403000970U TH 1403000970 U TH1403000970 U TH 1403000970U TH 10781 A3 TH10781 A3 TH 10781A3
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
circuit
voltage
current
resistance
power factor
Prior art date
Application number
TH1403000970U
Other languages
English (en)
Other versions
TH10781C3 (th
Inventor
ชิงชัย นายสุริยัน
Original Assignee
หม่อมหลวงศศิวิมล เกษมศรี
Filing date
Publication date
Application filed by หม่อมหลวงศศิวิมล เกษมศรี filed Critical หม่อมหลวงศศิวิมล เกษมศรี
Publication of TH10781A3 publication Critical patent/TH10781A3/th
Publication of TH10781C3 publication Critical patent/TH10781C3/th

Links

Abstract

DC60 (04/11/57) บัลลาสต์อิเล็กทรอนิกส์สำหรับขับหลอดฟลูออเรสเซนต์ตามการประดิษฐ์นี้เป็นแบบสองสาย ซึ่งประกอบด้วย - วงจรอีเอ็มไอฟิวเตอร์ (EMI Filter) - วงจรเรียงกะแสเร็กติไฟล์ (Rectifier) - วงจรเพาว์เวอร์แฟคเตอร์คอนโทรลเลอร์ (Power Factor Controller) - วงจรเพาว์เวอร์แฟคเตอร์คอเร็กชั่น (Power Factor Correction) - วงจรป้องกันการทำงานของบัลลาสต์ โปรเทคชั่น (Protection) เมื่อมีภาวะผิดปกติที่หลอด - วงจรสวิตชิ่ง อินเวอร์เตอร์ (Switching Inverter) วงจรแปลงไฟฟ้าสลับความถี่ต่ำไปเป็น ไฟฟ้าสลับ10 ความถี่สูง - วงจรเอาต์พุต (Output) เพื่อขับหลอด ซึ่งวงจรสวิตชิ่งอินเวอร์เตอร์ (Switching Inverter) วงจรป้องกันการทำงานของบัลลาสต์ โปรเทคชั่น (Protection) และวงจรเอาท์พุต (Output) เพื่อขับหลอด ตามการประดิษฐ์นี้ ประกอบด้วย หม้อแปลงแกนเฟอร์ไรต์ และทรานซิสเตอร์ ทำหน้าที่สร้างแรงดันไฟฟ้าสูงเพื่อการจุด หลอดและจำกัดกระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านหลอดในสภาวะอิ่มตัว โดยที่หม้อแปลงแกนเฟอร์ไรด์ และ ทรานซิสเตอร์ ร่วมกันทำหน้าที่ป้องกันไฟฟ้าแรงสูง ที่เกิดจากการเหนี่ยวไฟฟ้าแรงดันสูงของหม้อ แปลงแกนเฟอร์ไรต์ โดยเริ่มต้นไม่ต้องการให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านไส้หลอดให้เกิดความร้อนทำให้ สามารถต่อสายไฟไปที่หลอดไฟฟ้าเพียงสองสายเพื่อขับหลอดฟลูออเรสเซนต์ได้ หม้อแปลงแกน เฟอร์ไรต์(T1) ในวงจรเอาต์พุตของวงจรอินเวอร์เตอร์ในบัลลาสต์อิเล็กทรอนิกส์ตามการประดิษฐ์นี้ จะทำหน้าที่ 3 ประการ คือ เป็นตัวขับวงจรอินเวอร์เตอร์ เป็นบัลลาสต์ และเป็นวงจรป้องกันการ ทำงานของบัลลาสต์เมื่อมีสภาวะผิดปกติที่หลอด การทำงานทั้งสามประการนี้ อยู่ในหม้อแปลงแกน เฟอร์ไรต์ (T1) ทั้งหมดเพียงตัวเดียวโดยที่ไม่ต้องใช้หม้อแปลงแกนเฟอร์ไรต์แบบวงกลม (Toroidal Ferrite) ในวงจรอินเวอร์เตอร์ จึงเป็นการลดจำนวนอุปกรณ์ที่ใช้ในวงจรสวิตชิ่ง อินเวอร์เตอร์และเป็น การปรับปรุงพัฒนาบัลลาสต์อิเล็กทรอนิกส์ บัลลาสต์อิเล็กทรอนิกส์สำหรับขับหลอดฟลูออเรสเซนต์ตามการประดิษฐ์นี้เป็นแบบสองสาย ซึ่งประกอบด้วย -วงจรอีเอ็มไอฟิวเตอร์ (EMI Filter) -วงจรเรียงกะแสเร็กติไฟล์ (Rectifier) -วงจรเพาว์เวอร์เแฟคเตอร์คอนโทรลเลอร์ (Power Factor Controller) -วงจรเพาว์เวอร์เแฟคเตอร์คอเร็กชั่น (Power Factor Correction) -วงจรป้องกันการทำงานของบัลลาสต์ โปรเทคชั่น (Protection ) เมื่อมีภาวะผิดปกติที่หลอด -วงจรสวิตซิ่ง อินเวอร์เตอร์ (Switching Inverter) วงจรแปลงไฟฟ้าสลับความถี่ต่ำไปเป็น ไฟฟ้าสลับ 10 ความถี่สูง -วงจรเอาต์พุต (Output) เพื่อขับหลอด ซึ่งวงจรสวิตช์อินเวอร์เตอร์ (Switcing Inverter) วงจรป้องกันการทำงานของบัลลาสต์ โปรเทคชั่น (Protection) และวงจรเอาท์พุต (Output) เพื่อขับหลอด ตามการประดิษฐ์ ประกอบด้วย หม้อแปลงแกนเฟอร์ไรต์ และทรานซิสเตอร์ ทำหน้าที่สร้างแรงดันไฟฟ้าสูงเพื่อการจุด หลอดและจำกัดกระแสไฟฟ้าที่ไหลผ่านหลอดในสภาวะอิ่มตัว โดยที่หม้อแปลงแกนเฟอร์ไรด์ และ ทรานซิสเตอร์ ร่วมกันทำหน้าที่ป้องกันไฟฟ้าแรงสูง ที่เกิดจากการเหนี่ยวไฟฟ้าแรงดันสูงของหม้อ แปลงแกนเฟอร์ไรต์ โดยเริ่มต้นไม่ต้องการให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านใส้หลอดให้เกิดความร้อนทำให้ สามารถต่อสายไฟไปที่หลอดไฟฟ้าเพียงสองสายเพื่อขับหลอดฟลูออเรสเซนต์ได้ หม้อแปลงแกน เฟอร์ไรต์ (T1) ในวงจรเอาต์พุตของวงจรอินเวอร์เตอร์ในบัลลาสต์อิเล็กทรอนิกส์ตามการประดิษฐ์นี้ จะทำหน้าที่ 3 ประการคือ เป็นตัวขับวงจรอินเวอร์เตอร์ เป็นบัลลาสต์ และเป็นวงจรป้องกันการ ทำงานของบัลลาสต์เมื่อมีสภาวะผิดปกติที่หลอด การทำงานทั้งสามประการนี้ อยู่ในห้องแปลงแกน เฟอร์ไรต์ (T1) ทั้งหมดเพียงตัวเดียวที่ไม่ต้องใช้หม้อแปลงแกนเฟอร์ไรต์แบบวงกลม (Toroidal Ferrite) ในวงจรอินเวอร์เตอร์ จึงเป็นการลดจำนวนอุปกรณ์ที่ใช้ในวงจรสวิตซิ่ง อินเวอร์เตอร์และเป็น การปรับปรุงพัฒนาบัลลาต์อิเล็กทรอนิกส์

Claims (1)

1. บัลลาสต์อิเล็กทรอนิกส์สำหรับขับหลอดฟลูออเรสเซนต์แบบสองสายประกอบด้วย -วงจรเรียงกระแส เร็กติไฟล์ (Rectifier) สำหรับแปลงไฟฟ้ากระแสสลับความถี่ต่ำไปเป็น ไฟฟ้ากระแสตรงทำหน้าที่เป็นแหล่งจ่ายไฟให้กับวงจรต่าง ๆ และเป็นส่วนสำคัญของวงจรพัลลาสต์ อิเล็กทรอนิกส์ ในส่วนอินพุตเป็นตัวกำหนดค่าอัตราทนกระแสของวงจร วงจรเรียงกระแส ประกอบด้วยไดโอค Diode (D.1),(D.2),(D.3),(D.4) วงจรอีเอ็มไอฟิวเตอร์ (EMI Filter) ทำหน้าที่เป็นตัวกรองหรือกด (suppress) หรือป้องกันคลื่น รบกวนที่เป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าหรือติดมากับแหล่งจ่ายไฟก่อนที่จะเข้าสู่วงจรเรียงกระแสดังกล่าวได้ เรียบ ประกอบด้วย เทอร์มิสเตอร์ (RN1) (Thremister) คาปาซิเตอร์ (C1,C2) หม้อแปลง แกนเฟอร์ ไรต์ (TF1) และ (VR1 และ(VR2)มีหน้าที่ป้องกันความเสียหายของวงจรจากแรงดันกระชากที่สูงมาก ผิดปกติซึ่งวงจรทำงานแบบกรองความถี่ต่ำผ่าน (Low Pass filter) ทำให้ระดับสัญญาณไฟตรง ที่ได้มีความราบเรียบและลดทอนเเรงดันกระเพื่อม riple voltagel ให้น้อยที่สุด นอกจากนั้นเพื่อ ป้องกันแรงดันกระชากในส่วนของอินพุต -วงจรเพาว์เวอร์เแฟคเตอร์คอนโทรลเลอร์ (Power Factor Controller) และวงจรเพาว์เวอร์ แฟคเตอร์คอเร็กชั่น (Power Factor Correction ,PFC) สำหรับควบคุมและปรับแก้ค่าเพาเวอร์แฟค เตอร์ของบัลลาสต์ให้เข้าใกล้ 1 ทำหน้า ที่ควบคมและแก้ไขค่าเพาเวอร์แฟคเตอร์ ซึ่งจะทำให้ค่าเพาเวอร์ แฟคเตอร์สูงใกล้ 1 เพื่อทำให้วงจรมีการสูญเสียกำลังไฟฟ้าน้อยลง ประกอบด้วย ไอซี (U1) ทำหน้าที่ ปรับแก้เพาเวอร์แฟคเตอร์ประกอบด้วยความต้านทาน (R8),(R9) ตัวเก็บประจุ (C12) ขา (1) ของไอซี (U1) เป็นอินพุตของวงจรตรวจจับความผิดพลาดและควบคมข้อมูลเพาะเวอร์แฟคเตอร์ ทางด้าน เอาท์พุทโดยการควบคุมกระแสทางอินพุต ที่ขา (2) และไอซี (U1) เป็นเอาท์พุตของวงจรตรวจจับความ ผิดพลาดเปรียบเทียบระหว่างขา (1) และ ขา (2) ของไอซี (U1) ให้มีประสิทธิภาพของลูปแรงดันและทำให้ มีค่าเพาว์เวอร์แฟคเตอร์สูงสัญญาณรบกวนต่ำความต้านทาน (R1),(R2) เป็นส่วนอินพุตของวงจรคูณ ที่ต่อไปยังวงจรเรียงกระแสผ่านความต้านทาน (R1),(R2) แบ่งแรงดันและเปรียบเทียบ แรงดัน สัญญาณรูปไซย์ในลูปของกระแส และความต้านทาน (R7) ทำหน้าที่ควบคุมการไหลของกระแสที่ไหลผ่าน มอสเฟต (Q5) ส่วนความ ต้านทาน (R6) จะเป็นตัวกำหนดกระแสให้กับมอสเฟส (Q5) ตามสัญญาณ แรงดันกระแสไฟฟ้าทางอินพุต หม้อแปลง แกนเพอร์ไรต์ (TH1) ทางขดด้านออกทำหน้าที่ตรวจจับ ความเปลี่ยนแปลงสัญญาณไฟฟ้าที่เป็นลบเข้ามาก็จะทำให้มเตอร์เฟส (Q5) ทำงาน มีความต้านทาน (R5) เป็นตัวกำหนดการไหลของกระแสไอซี (U1) แหล่งจ่ายแรงดันของ ไอซี (U1) ขา 8 มีความด้านทาน (R3),(R4)ไดโอด(D5) ทำหน้าที่กำหนดกระแสให้ ไดโอด (D5) ป้องกันแรงดันไฟ ลบหรือแรงดันไฟ เกินเข้ามายังแหล่งจ่ายขณะทำงานมี คาปาซิเตอร์ (R14) กรองแรงดันแหล่งจ่ายให้เรียบขึ้น คาปาซิเตอร์ (C13) ป้องกันสัญญาณรบกวนความถี่สูงที่เข้ามายังแหล่งจ่ายมอสเฟส (Q5) และ หม้อแปลง แกนเฟอร์ไรต์ (TH1) จะทำงานเม่อ ไอซี (U1) ขา 7 สั่งให้ทำงานควบคุมการสวิตช์ปิดวงจร ด้วยความถี่ที่กำหนดไว้ สนามแม่เหล็กที่เกิดจากกระแสที่ไหลผ่าน (TH1) จะถูกเก็บสะสมไว้และเมื่อ สวิสต์เปิดวงจร กระแสที่ไหลผ่านหายไป สนามแม่เหล็กยุบตัวลง ก่อให้เกิดกระแสไหลผ่าน (TH1) ในทิศทางที่ด้านการเปลี่ยนแปลงของกระแสที่ลดลง คือ เกิดกระแสไหลผ่าน ไดโอด (D6) จะ นำกระแสเพาะเป็นภาวะที่มีแรงดันไบแอสตรง กระแสที่ไหลผ่านถูกเก็บสะสมไว้ที่ คาปาซิเตอร์ (C4),(C5)ทำหน้าที่เป็นฟิวเตอร์แรงดันจ่ายให้กับวงจรสวิตซิ่งอินเวอร์เตอร์ -วงจรป้องกันการทำงานของบัลลาต์ โปรเทคชั่น (Protection) เมื่อมีภาวะผิดปกติที่หลอดทำ หน้าที่ทำให้วงจรอินเวอร์เตอร์หยุดทำงาน เมื่อมีการทำงานผิดปกติ หรือเมื่อมีการถอดหลอดออกโดยที่ ยังไม่ได้ปลดแหล่งจ่ายออกเพื่อให้ประสิทธิภาพในการใช้งานมากขึ้น ประกอบด้วยหม้อแปลงแกน เฟอร์ไรต์ (T1) ความต้านทาน (R22),(R23),(R24),(R25),(R26),(R27), และ (R28) คาปาซิเตอร์ (C15),(C16), ไดโอด (D14) ซีเนอร์ไดโอด (DI1) และเอสซีอารื (Q6) วงจรป้องกันการทำงานของบัล ลาสต์ทำงานร่วมกับ หม้อแปลงแกนเฟอร์ไรต์ (T1) ทำให้ทรานซิสเตอร์ (Q1) และ (Q2) หยุดทำงานเมื่อ มีการทำงานผิดปกติ หรือเมื่อมีการถอดหลอดโดยที่ยังไม่ได้ปลดแหล่งจ่ายออก ในส่วนขอวงจรนี้จะ ทำงานเมื่อมีแรงดันไฟฟ้าบวกเกิดจาก หม้อแปลงกานเฟอร์ไรต์ (T1) ในขณะที่เกิดสภาวะผิดปกติ ที่หลอดผ่านความต้านทาน (R28) ไดโอด (D14) มีแรงดันตกคร่อม 7.3V ที่ซีเนอร์ไดโอด (DI) ทำให้มี กระแสไฟลมากพอที่จะทำให้ ขาเกทของเอสซีอาร์ (Q6) ทำงานโดยที่ความต้านทาน (R22),(R23),(R24) กำหนดกระแส (R25) ไบอัสแรงดันที่ขาเบสของทรานซิสเตอร์ (Q7) ดึงกระแสที่ ขาเบสของทรานซิเตอร์ (Q2) ลงกราวด์ทำให้ (Q2) หยุดทำงานเมื่อเกิดมีความผิดพลาดเกิดขึ้นใน ขณะเดียวกันเวลาของการทำงานของวงจรจะขึ้นอยู่กับค่าความต้านทานของ (R27) และคาปาซิเตอร์ -วงจรสวิตซิ่งอินเวอร์เตอร์(Inverter) (วงจรแปลงไฟฟ้าสลับความถี่ต่ำไปเป็นไฟฟ้าสลับความถี่ สูง ) ทำหน้าที่แปลงแรงดันกระแสตรงจากวงจรอีเอ็มไอฟิวเตอร์ (EMI Filter) ให้เป็นไฟฟ้ากระแสสลับ ความถี่สูงเพื่อส่งไปยังวงจรเอาต์พุต -วงจรเอาต์พุต (Output) เพื่อขับหลอดฟลูออเรสเซนต์ เป็นวงจรทำทอนไฟฟ้าเพื่อกำหนด ความถี่ ณ ความถี่หนึ่ง (เรโซแนนซ์ (Rasonant) ทำหน้าที่สร้างแรงดันไฟฟ้าสูงเพื่อการจุดหลอดใน สภาวะแรก และกำจัดกระแสที่ไหลผ่านหลอด ในสภาวะอิ่มตัว มีลักษณะเฉพาะคือ วงจรป้องกันการทำงานของบัลลาสต์โปรเทคชั่น (Protection) วงจรเอาท์พุต (Output) และวงจรสวิตซิ่งอินเวอร์เตอร์ (Switching Inverter Circuit)ใช้หม้อแปลงแกนเฟอร์ไรต์ (T1) ร่วมกันโดย หม้อแปลงแกนเฟอร์ไรต์ (T1) ทำหน้าที่เหนียวนำกระแสไฟฟ้าแรงดันสูงที่ได้ จากวงจรสวิตซิ่งอินเวอร์เตอร์ก่อนส่งไปยังหลอด ทรานซิสเตอร์ (Q3),(Q4) ของวงจรสวิตซิ่ง อินเวอร์เตอร์ ทำหน้าที่ ป้องกันไฟฟ้าแรงดันสูงที่อาจเกิดขึ้น จากหม้อแปลงแกนเฟอร์ไรต์ (T1) และ ตัวความด้านทาน (R10) ทำหน้าที่จำกัดกระแสในขณะที่ทำงานช่วงแรกของการทำงานช่วงบนผ่าน ไดโอด (D7) ของวงจรสวิตซิ่งอินเตอร์ ไดเอค (A1) และคาปาซิเตอร์ (C8) ทำหน้าที่กำหนดการ ทำงานเริ่มต้นให้กับทรานซิสต์ (Q1) ของวงจรทำงาน ทรานซิสเตอร์ (Q2) ของวงจรสวิต์ซิ่งอินเวอร์เตอร์ หยุดทำงานโดยมีไดโอด (D8),(D9),(D10) และ (D11), ทำหน้าที่กำหนดแรงดันไบอัสคงที่ให้แก่ ทรานซิสเตอร์ (Q1) และ (Q2) มีขดลวด (E1), (E2) ความต้านทาน (R15,(R16) ให้ความถี่สูงผ่านในขณะที่ (Q1),(Q2)สวิตช์ทำงาน ไดโอด (D12 (D13)ความต้านทาน (R19),(R20) ซึ่งนำกระแสได้ทั้งกระแสไฟบวกและกระแสไฟลบใน ขณะที่ทรานซิสเตอร์ ทั้ง (Q1),(Q2)ของวงจรสวิตซิ่งอินเวอร์เตอร์สลับกับการทำงาน คาปาซิเตอร์ (C6),(C7) เป็นตัสเก็บประจุเพื่อแบ่งครึ่งแรงดันและความต้านทาน (R21) วงจรเซโนเนนซ์ (วงจร กำ ทอนไฟฟ้าเพื่อกำหนดความถี่ ณ ความถี่หนึ่ง)(C11) หม้อแปลงแกนเฟอร์ไรต์ (T1) ซึ่งมีหน้าที่ สร้างแรงดันไฟฟ้าสูงเพื่อการจุดหลอดในสภาวะแรก และจำกัดกระแสไฟฟ้าไหลผ่านหลอดไฟใน สถาวะอื่มตัวโดยแหล่งจ่ายแรงดันไฟตรง แก้ไข 04/11/2557 1. บัลลาสต์อิเล็กทรอนิกส์สำหรับขับหลอดฟลูออเรสเซนต์แบบสองสายประกอบด้วย -วงจรเรียงกระแส เร็กติไฟล์ (Rectifier) สำหรับแปลงไฟฟ้ากระแสสลับความถี่ต่ำไปเป็น ไฟฟ้ากระแสตรงทำหน้าที่เป็นแหล่งจ่ายไฟให้กับวงจรต่าง ๆ และเป็นส่วนสำคัญของวงจรพัลลาสต์ อิเล็กทรอนิกส์ ในส่วนอินพุตเป็นตัวกำหนดค่าอัตราทนกระแสของวงจร วงจรเรียงกระแส ประกอบด้วยไดโอค Diode (D.1),(D.2),(D.3),(D.4) -วงจรอีเอ็มไอฟิวเตอร์ (EMI Filter) ทำหน้าที่เป็นตัวกรองหรือกด (suppress) หรือป้องกันคลื่น รบกวนที่เป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าหรือติดมากับแหล่งจ่ายไฟก่อนที่จะเข้าสู่วงจรเรียงกระแสดังกล่าวได้ เรียบ ประกอบด้วย เทอร์มิสเตอร์ (RN1) (Thremister) คาปาซิเตอร์ (C1,C2) หม้อแปลง แกนเฟอร์ ไรต์ (TF1) และ (VR1 และ(VR2)มีหน้าที่ป้องกันความเสียหายของวงจรจากแรงดันกระชากที่สูงมาก ผิดปกติซึ่งวงจรทำงานแบบกรองความถี่ต่ำผ่าน (Low Pass filter) ทำให้ระดับสัญญาณไฟตรง ที่ได้มีความราบเรียบและลดทอน riple voltagel ให้น้อยที่สุด นอกจากนั้นเพื่อป้องกันแรงดันกระชาก ในส่วนของอินพุต -วงจรเพาว์เวอร์เแฟคเตอร์คอนโทรลเลอร์ (Power Factor Controller) และวงจรเพาว์เวอร์ แฟคเตอร์คอเร็กขั่น (Power Factor Correction ,PFC) สำหรับควบคุมและปรับแก้ค่าเพาเวอร์แฟค เตอร์ของบัลลาสต์ให้เข้าใกล้ 1 ทำหน้า ที่ควบคมและแก่ไขค่าเพาเวอร์แฟคเตอร์ ซึ่งจะทำให้ค่าเพาเวอร์ แฟคเตอร์สูงใกล้ 1 เพื่อทำให้วงจรมีการสูญเสียกำลังไฟฟ้าน้อยลง ประกอบด้วย ไอซี U1ทำหน้าที่ ปรับแก้เพาเวอร์แฟคเตอร์ประกอบด้วยความต้านทาน (R8),(R9) ตัวเก็บประจุ (C12) ขา (1) ของไอซี (U1) เป็นอินพุตของวงจรตรวจจับความผิดพลาดและควบคมข้อมูลเพาะเวอร์แฟคเตอร์ ทางด้าน เอาท์พุทโดยการควบคุมกระแสทางอินพุต ที่ขา (2) ของไอซี (U1) เป็นเอาท์พุตของวงจรตรวจจับความ ผิดพลาดเปรียบเทียบระหว่างขา (1) และ ขา (2) ของไอซี (U1) ให้มีประสิทธิภาพของลูปแรงดันและทำให้ มีค่าเพาว์เวอร์แฟคเตอร์สูงสัญญาณรบกวนต่ำความต้านทาน (R1),(R2) เป็นส่วนอินพุตของวงจรคูณ ที่ต่อไปยังวงจรเรียงกระแสผ่านความต้านทาน (R1),(R2) แบ่งแรงดันและเปรียบเทียบ แรงดัน สัญญาณรูปไชย์ในลูปของกระแส และความต้านทาน (R7) ทำหน้าที่ควบคุมการไหลของกระแสที่ไหลผ่าน มอสเฟต (Q5) ส่วนความ ต้านทาน (R6) จะเป็นตัวกำหนดกระแสให้กับมอสเฟส (Q5) ตามสัญญาณ แรงดันกระแสไฟฟ้าทางอินพุต หม้อแปลง แกนเพอร์ไรต์ (TH1) ทางขดด้านออกทำหน้าที่ตรวจจับ ความเปลี่ยนแปลงสัญญาณไฟฟ้าที่เป็นลบเข้ามาก็จะทำให้มเตอร์เฟส (Q5) ทำงาน มีความต้านทาน (R5) เป็นตัวกำหนดการไหลของกระแสไอซี (U1) แหล่งจ่ายแรงดันของ ไอซี (U1) ขา 8 มีความด้านทาน (R3),(R4)ไดโอด(D5) ทำหน้าที่กำหนดกระแสให้ ไดโอด (D5) ป้องกันแรงดันไฟ ลบหรือแรงดันไฟ เกินเข้ามายังแหล่งจ่ายขณะทำงานมี คาปาซิเตอร์ (R14) กรองแรงดันแหล่งจ่ายให้เรียบขึ้น คาปาซิเตอร์ (C13) ป้องกันสัญญาณรบกวนความถี่สูงที่เข้ามายังแหล่งจ่ายมอสเฟส (Q5) และ หม้อแปลง แกนเฟอร์ไรต์ (TH1) จะทำงานเม่อ ไอซี (U1) ขา 7 สั่งให้ทำงานควบคุมการสวิตช์ปิดวงจร ด้วยความถี่ที่กำหนดไว้ สนามแม่เหล็กที่เกิดจากกระแสที่ไหลผ่าน (TH1) จะถูกเก็บสะสมไว้และเมื่อ สวิสต์เปิดวงจร กระแสที่ไหลผ่านหายไป สนามแม่เหล็กยุบตัวลง ก่อให้เกิดกระแสไหลผ่าน (TH1) ในทิศทางที่ด้านการเปลี่ยนแปลงของกระแสที่ลดลง คือ เกิดกระแสไหลผ่าน ไดโอด (D6) จะ นำกระแสเพาะเป็นภาวะที่มีแรงดันไบแอสตรง กระแสที่ไหลผ่านถูกเก็บสะสมไว้ที่ คาปาซิเตอร์ (C4),(C5)ทำหน้าที่เป็นฟิวเตอร์แรงดันจ่ายให้กับวงจรสวิตซิ่งอินเวอร์เตอร์ -วงจรป้องกันการทำงานของบัลลาต์ โปรเทคชั่น (Protection) เมื่อมีภาวะผิดปกติที่หลอดทำ หน้าที่ทำให้วงจรอินเวอร์เตอร์หยุดทำงาน เมื่อมีการทำงานผิดปกติ หรือเมื่อมีการถอดหลอดออกโดยที่ ยังไม่ได้ปลดแหล่งจ่ายออกเพื่อให้ประสิทธิภาพในการใช้งานมากขึ้น ประกอบด้วยหม้อแปลงแกน เฟอร์ไรต์ (T1) ความต้านทาน (R22),(R23),(R24),(R25),(R26),(R27), และ (R28) คาปาซิเตอร์ (C15),(C16), ไดโอด (D14) ซีเนอร์ไดโอด (DI1) และเอสซีอารื (Q6) วงจรป้องกันการทำงานของบัล ลาสต์ทำงานร่วมกับ หม้อแปลงแกนเฟอร์ไรต์ (T1) ทำให้ทรานซิสเตอร์ (Q1) และ (Q2) หยุดทำงานเมื่อ มีการทำงานผิดปกติ หรือเมื่อมีการถอดหลอดโดยที่ยังไม่ได้ปลดแหล่งจ่ายออก ในส่วนขอวงจรนี้จะ ทำงานเมื่อมีแรงดันไฟฟ้าบวกเกิดจาก หม้อแปลงกานเฟอร์ไรต์ (T1) ในขณะที่เกิดสภาวะผิดปกติ ที่หลอดผ่านความต้านทาน (R28) ไดโอด (D14) มีแรงดันตกคร่อม 7.3V ที่ซีเนอร์ไดโอด (DI) ทำให้มี กระแสไฟลมากพอที่จะทำให้ ขาเกทของเอสซีอาร์ (Q6) ทำงานโดยที่ความต้านทาน (R22),(R23),(R24) กำหนดกระแส (R25) ไบอัสแรงดันที่ขาเบสของทรานซิสเตอร์ (Q7) ดึงกระแสที่ ขาเบสของทรานซิเตอร์ (Q2) ลงกราวด์ทำให้ (Q2) หยุดทำงานเมื่อเกิดมีความผิดพลาดเกิดขึ้นใน ขณะเดียวกันเวลาของการทำงานของวงจรจะขึ้นอยู่กับค่าความต้านทานของ (R27) และคาปาซิเตอร์ -วงจรสวิตซิ่งอินเวอร์เตอร์(Inverter) (วงจรแปลงไฟฟ้าสลับความถี่ต่ำไปเป็นไฟฟ้าสลับความถี่ สูง ) ทำหน้าที่แปลงแรงดันกระแสตรงจากวงจรอีเอ็มไอฟิวเตอร์ (EMI Filter) ให้เป็นไฟฟ้ากระแสสลับ ความถี่สูงเพื่อส่งไปยังวงจรเอาต์พุต -วงจรเอาต์พุต (Output) เพื่อขับหลอดฟลูออเรสเซนต์ เป็นวงจรทำทอนไฟฟ้าเพื่อกำหนด ความถี่ ณ ความถี่หนึ่ง (เรโซแนนซ์ (Rasonant) ทำหน้าที่สร้างแรงดันไฟฟ้าสูงเพื่อการจุดหลอดใน สภาวะแรก และกำจัดกระแสที่ไหลผ่านหลอด ในสภาวะอิ่มตัว มีลักษณะเฉพาะคือ วงจรป้องกันการทำงานของบัลลาสต์โปรเทคชั่น (Protection) วงจรเอาท์พุต (Output) และวงจรสวิตซิ่งอินเวอร์เตอร์ (Switching Inverter Circuit)ใช้หม้อแปลงแกนเฟอร์ไรต์ (T1) ร่วมกันโดย หม้อแปลงแกนเฟอร์ไรต์ (T1) ทำหน้าที่เหนียวนำกระแสไฟฟ้าแรงดันสูงที่ได้ จากวงจรสวิตซิ่งอินเวอร์เตอร์ก่อนส่งไปยังหลอด ทรานซิสเตอร์ (Q3),(Q4) ของวงจรสวิตซิ่ง อินเวอร์เตอร์ ทำหน้าที่ ป้องกันไฟฟ้าแรงดันสูงที่อาจเกิดขึ้น จากหม้อแปลงแกนเฟอร์ไรต์ (T1) และ ตัวความด้านทาน (R10) ทำหน้าที่จำกัดกระแสในขณะที่ทำงานช่วงแรกของการทำงานช่วงบวกผ่าน ไดโอด (D7) ของวงจรสวิตซิ่งอินเตอร์ ไดเอค (A1) และคาปาซิเตอร์ (C8) ทำหน้าที่กำหนดการ ทำงานเริ่มต้นให้กับทรานซิสต์ (Q1) ของวงจรทำงาน ทรานซิสเตอร์ (Q2) ของวงจรสวิต์ซิ่งอินเวอร์เตอร์ หยุดทำงานโดยมีไดโอด (D8),(D9),(D10) และ (D11), ทำหน้าที่กำหนดแรงดันไบอัสคงที่ให้แก่ ทรานซิสเตอร์ (Q1) และ (Q2) มีขดลวด (E1), (E2) ความต้านทาน (R15,(R16) ให้ความถี่สูงผ่านในขณะที่ (Q1),(Q2)สวิตช์ทำงาน ไดโอด (D12 (D13)ความต้านทาน (R19),(R20) ซึ่งนำกระแสได้ทั้งกระแสไฟบวกและกระแสไฟลบใน ขณะที่ทรานซิสเตอร์ ทั้ง (Q1),(Q2)ของวงจรสวิตซิ่งอินเวอร์เตอร์สลับกับการทำงาน คาปาซิเตอร์ (C6),(C7) เป็นตัสเก็บประจุเพื่อแบ่งครึ่งแรงดันและความต้านทาน (R21) วงจรเซโนเนนซ์ (วงจร กำ ทอนไฟฟ้าเพื่อกำหนดความถี่ ณ ความถี่หนึ่ง)(C11) หม้อแปลงแกนเฟอร์ไรต์ (T1) ซึ่งมีหน้าที่ สร้างแรงดันไฟฟ้าสูงเพื่อการจุดหลอดในสภาวะแรก และจำกัดกระแสไฟฟ้าไหลผ่านหลอดไฟใน สถาวะอื่มตัวโดยแหล่งจ่ายแรงดันไฟตรง แก้ไข 10/07/2558
1. บัลลาสต์อิเล็กทรอนิกส์สำหรับขับหลอดฟลูออเรสเซนต์แบบสองสายประกอบด้วย -วงจรเรียงกระแส เร็กติไฟล์ (Rectifier) สำหรับแปลงไฟฟ้ากระแสสลับความถี่ต่ำไปเป็น ไฟฟ้ากระแสตรงทำหน้าที่เป็นแหล่งจ่ายไฟให้กับวงจรต่าง ๆ และเป็นส่วนสำคัญของวงจรบัลลาสต์ อิเล็กทรอนิกส์ ในส่วนอินพุตเป็นตัวกำหนดค่าอัตราทนกระแสของวงจร วงจรเรียงกระแส ประกอบด้วยไดโอค Diode (D.1),(D.2),(D.3),(D.4) -วงจรอีเอ็มไอฟิวเตอร์ (EMI Filter) ทำหน้าที่เป็นตัวกรองหรือกด (suppress) หรือป้องกันคลื่น รบกวนที่เป็นคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าหรือติดมากับแหล่งจ่ายไฟก่อนที่จะเข้าสู่วงจรเรียงกระแสดังกล่าวได้ เรียบ ประกอบด้วย เทอร์มิสเตอร์ (RN1) (Thremister) คาปาซิเตอร์ (C1,C2) หม้อแปลง แกนเฟอร์ ไรต์ (TF1) และ (VR1 และ(VR2)มีหน้าที่ป้องกันความเสียหายของวงจรจากแรงดันกระชากที่สูงมาก ผิดปกติซึ่งวงจรทำงานแบบกรองความถี่ต่ำผ่าน (Low Pass filter) ทำให้ระดับสัญญาณไฟตรง ที่ได้มีความราบเรียบและลดทอน riple voltagel ให้น้อยที่สุด นอกจากนั้นเพื่อป้องกันแรงดันกระชาก ในส่วนของอินพุต -วงจรเพาว์เวอร์เแฟคเตอร์คอนโทรลเลอร์ (Power Factor Controller) และวงจรเพาว์เวอร์ แฟคเตอร์คอเร็กขั่น (Power Factor Correction ,PFC) สำหรับควบคุมและปรับแก้ค่าเพาเวอร์แฟค เตอร์ของบัลลาสต์ให้เข้าใกล้ 1 ทำหน้า ที่ควบคมและแก้ไขค่าเพาเวอร์แฟคเตอร์ ซึ่งจะทำให้ค่าเพาเวอร์ แฟคเตอร์สูงใกล้ 1 เพื่อทำให้วงจรมีการสูญเสียกำลังไฟฟ้าน้อยลง ประกอบด้วย ไอซี U1ทำหน้าที่ ปรับแก้เพาเวอร์แฟคเตอร์ประกอบด้วยความต้านทาน (R8),(R9) ตัวเก็บประจุ (C12) ขา (1) ของไอซี (U1) เป็นอินพุตของวงจรตรวจจับความผิดพลาดและควบคมข้อมูลเพาะเวอร์แฟคเตอร์ ทางด้าน เอาท์พุทโดยการควบคุมกระแสทางอินพุต ที่ขา (2) ของไอซี (U1) เป็นเอาท์พุตของวงจรตรวจจับความ ผิดพลาดเปรียบเทียบระหว่างขา (1) และ ขา (2) ของไอซี (U1) ให้มีประสิทธิภาพของลูปแรงดันและทำให้ มีค่าเพาว์เวอร์แฟคเตอร์สูงสัญญาณรบกวนต่ำความต้านทาน (R1),(R2) เป็นส่วนอินพุตของวงจรคูณ ที่ต่อไปยังวงจรเรียงกระแสผ่านความต้านทาน (R1),(R2) แบ่งแรงดันและเปรียบเทียบ แรงดัน สัญญาณรูปไชย์ในลูปของกระแส และความต้านทาน (R7) ทำหน้าที่ควบคุมการไหลของกระแสที่ไหลผ่าน มอสเฟต (Q5) ส่วนความ ต้านทาน (R6) จะเป็นตัวกำหนดกระแสให้กับมอสเฟส (Q5) ตามสัญญาณ แรงดันกระแสไฟฟ้าทางอินพุต หม้อแปลง แกนเพอร์ไรต์ (TH1) ทางขดด้านออกทำหน้าที่ตรวจจับ (รูปภาพ)
TH1403000970U 2014-08-28 บัลลาสต์อิเล็กทรอนิกส์สำหรับขับหลอดฟลูออเรสเซนต์แบบสายไฟสองสาย TH10781C3 (th)

Publications (2)

Publication Number Publication Date
TH10781A3 true TH10781A3 (th) 2015-11-23
TH10781C3 TH10781C3 (th) 2015-11-23

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
WO2016047019A1 (ja) 電力変換装置
US10177702B2 (en) Conduction noise filtering circuit, inverting device, and compressor
KR102561123B1 (ko) 전도성 노이즈 필터회로, 인버터 장치 및 압축기
KR101921815B1 (ko) 적응 ac 전력 교환기
CN201986215U (zh) 大功率led隔离式驱动电源
KR20080080359A (ko) 적어도 하나의 led를 동작시키기 위한 회로 장치 및방법
KR20080034385A (ko) 2선식 스위치 장치
KR20000050367A (ko) 공기조화기의 역률개선장치
KR102374725B1 (ko) 인버터 회로 및 이를 이용한 공기조화기 및 냉장고
CN204741603U (zh) 驱动电源的恒流稳压缓冲电路
TH10781A3 (th) บัลลาสต์อิเล็กทรอนิกส์สำหรับขับหลอดฟลูออเรสเซนต์แบบสายไฟสองสาย
TH10781C3 (th) บัลลาสต์อิเล็กทรอนิกส์สำหรับขับหลอดฟลูออเรสเซนต์แบบสายไฟสองสาย
US20160198538A1 (en) Led drive circuit
CN104918360B (zh) 一种led电源的全面保护电路
TWI452792B (zh) 應用於交流電壓轉直流電壓的轉換器的突波電流抑制電路及其操作方法
KR101142089B1 (ko) Led 조명 장치용 교류-직류 변환장치 및 이를 이용하는 led 조명장치
KR100321244B1 (ko) 공기조화기의 고조파 억제장치 및 그 억제방법
TWM466426U (zh) 反激開關電源電路
CN215580946U (zh) 一种ipm模块用于逆变电源系统
KR20170009559A (ko) 과전압 보호 회로
RU197213U1 (ru) Источник питания светодиодов
CN107947551A (zh) 带实时电压电流显示功能的高频开关电源
KR101532474B1 (ko) 전기 충격 방지 기능을 갖는 절전 장치
CN209233808U (zh) Igbt驱动电路、加热电路及电器设备
JP6011590B2 (ja) 電力変換装置