TH101487A - แหล่งจ่ายกำลังเชิงเหนี่ยวนำที่มีการควบคุมวัฏจักรหน้าที่ - Google Patents

แหล่งจ่ายกำลังเชิงเหนี่ยวนำที่มีการควบคุมวัฏจักรหน้าที่

Info

Publication number
TH101487A
TH101487A TH901000044A TH0901000044A TH101487A TH 101487 A TH101487 A TH 101487A TH 901000044 A TH901000044 A TH 901000044A TH 0901000044 A TH0901000044 A TH 0901000044A TH 101487 A TH101487 A TH 101487A
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
power supply
inductive power
signal
remote device
duty cycle
Prior art date
Application number
TH901000044A
Other languages
English (en)
Other versions
TH65756B (th
TH101487B (th
Inventor
ดับเบิลยู บาร์แมน เดวิด
เอ มอลลีมา สก๊อตต์
เค ชวานเนกเก้ โจชัว
เลพเพียน โทมัส
ไมเคิล เบิร์นส์ เคนเนท
Original Assignee
นางดารานีย์ วัจนะวุฒิวงศ์
นางสาวสนธยา สังขพงศ์
นางสาวสุคนธ์ทิพย์ จิตมงคลทอง
Filing date
Publication date
Application filed by นางดารานีย์ วัจนะวุฒิวงศ์, นางสาวสนธยา สังขพงศ์, นางสาวสุคนธ์ทิพย์ จิตมงคลทอง filed Critical นางดารานีย์ วัจนะวุฒิวงศ์
Publication of TH101487A publication Critical patent/TH101487A/th
Publication of TH101487B publication Critical patent/TH101487B/th
Publication of TH65756B publication Critical patent/TH65756B/th

Links

Abstract

------19/02/2561------(OCR) หน้า 1 ของจำนวน 1 หน้า บทสรุปการประดิษฐ์ แหล่งจ่ายกำลังเชิงเหนี่ยวนำที่คงให้เรโซแนนช์และปรับวัฎจักรหน้าที่โดยอิงกับการ ปอนกลับจากวงจรทุติยภูมิ เครื่องควบคุม, วงจรตัว1ขับและวงจรสวิตชิ่งจะร่วมมือกันเพื่อสร้าง สัญญาณกระแสสลับที่ความถี่,ในการทำงานที่ถูกเลือกและวัฎจักรหน้าที่ สัญญาณกระแสสลับจะถูก ใช้กับวงจรแทงก์เพื่อสร้างสนามเชิงเหนี่ยวนำสำหรับจ่ายกำลังทุติยภูมิ ทุติยภูมิจะสื่อสารการ ปอนกลับเกี่ยวกับกำลังที่ได้รับกลับไปยังเครื่องควบคุมปฐมภูมิ ประสิทธิภาพการถ่ายโอนกำลัง อาจจะถูกทำให้เหมาะสมที่สุดโดยคงความถี่ในการทำงานที่เรโซแนนซ์อย่างมีนัยสำคัญ และปริมาณ ของกำลังที่ถ่ายโอนอาจจะถูกควบคุมโดยการปรับวัฏจักรหน้าที่ ------------

Claims (5)

ข้อถือสิทธฺ์ (ทั้งหมด) ซึ่งจะไม่ปรากฏบนหน้าประกาศโฆษณา :------19/02/2561------(OCR) หน้า 1 ของจำนวน 7 หน้า ข้อถือสิทธิ 1. แหล่งจ่ายกำลังเชิงเหนี่ยวนำสำหรับจัดกำลังไร้สายให้กับอุปกรณ์ระยะไกล, แหล่งจ่าย กำลังเชิงเหนี่ยวนำดังกล่าวที่ประกอบรวมด้วย: วงจรปฐมภูมิสำหรับสร้างสัญญาณที่ความถี่ในการทำงาน, วงจรปฐมภูมิดังกล่าวที่สามารถ ปรับวัฏจักรหน้าที่ของสัญญาณดังกล่าวให้ยอมให้มีการแปรผันในปริมาณกำลังที่ถ่ายโอนไปยัง อุปกรณ์ระยะไกลที่ความถี่ในการทำงานดังกล่าว; วงจรแทงก์ที่เชื่อมต่อทางไฟฟ้ากับวงจรปฐมภูมิดังกล่าว, ที่ซํ่งวงจรปฐมภูมิดังกล่าวจะใช้ สัญญาณดังกล่าวกับวงจรแทงก์ดังกล่าวเพื่อถ่ายโอนปริมาณกำลังไปยังอุปกรณ์ระยะไกลดังกล่าว; แหล่งจ่ายกำลังเชิงเหนี่ยวนำดังกล่าวที่ถูกวางโครงแบบให้รับการ!เอนกลับจากอุปกรณ์ ระยะไกลดังกล่าว; วงจรปฐมภูมิดังกล่าวที่ถูกวางโครงแบบให้ควบคุมความถี่ในการทำงานดังกล่าวของสัญญาณ ดังกล่าวในการตอบสนองต่อการ!เอนกลับดังกล่าวเพื่อทำให้ประสิทธิภาพการถ่ายโอนกำลัง เหมาะสมที่สุดระหว่างแหล่งจ่ายกำลังเชิงเหนี่ยวนำดังกล่าวและอุปกรณ์ระยะไกลดังกล่าว; และ วงจรปฐมภูมิดังกล่าวที่ถูกวางโครงแบบให้ควบคุมวัฏจักรหน้าที่ดังกล่าวของสัญญาณ ดังกล่าวในการตอบสนองต่อการ!เอนกลับดังกล่าวเพื่อควบคุม!เริมาณกำลังดังกล่าวที่ถ่ายโอนไปยัง อุปกรณ์ระยะไกลดังกล่าวที่ความถี่ในการทำงานดังกล่าว 2. แหล่งจ่ายกำลังเชิงเหนี่ยวนำตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ที่ซํ่งวงจรปฐมภูมิดังกล่าวจะคงความถี่ ในการทำงานดังกล่าวของสัญญาณดังกล่าวที่เรโซแนนซ์อย่างมีนัยสำคัญ 3. แหล่งจ่ายกำลังเชิงเหนี่ยวนำตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ที่ซํ่งวงจรปฐมภูมิดังกล่าวจะปรับ ความถี่ในการทำงานดังกล่าวอย่างต่อเนื่องเพื่อคงให้เรโซแนนซ์อย่างมีนัยสำคัญและจะปรับวัฏจักร หน้าที่ดังกล่าวอย่างต่อเนื่องโดยอิงกับการเปรียบเทียบระหว่างปริมาณกำลังดังกล่าวที่ถ่ายโอนไปยัง อุปกรณ์ระยะไกลดังกล่าวและขีดเริ่มเปลี่ยน 4. แหล่งจ่ายกำลังเชิงเหนี่ยวนำตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ที่ซํ่งวงจรปฐมภูมิดังกล่าวจะควบคุม วัฎจักรหน้าที่ดังกล่าวของสัญญาณดังกล่าวตามอย่างน้อยอย่างหนื่งของโพรไฟล์การอัดประจุ แบตเตอรี่และความต้องการโดยอุปกรณ์ระยะไกลดังกล่าว 5. แหล่งจ่ายกำลังเชิงเหนี่ยวนำตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ที่ซํ่งวงจรปฐมภูมิดังกล่าวจะรวมถึง: เครื่องควบคุมปฐมภูมิ; วงจรตัว1ขับที่เชื่อมต่อทางไฟฟ้ากับเครื่องควบคุมปฐมภูมิดังกล่าว; วงจรสวิตชิ่งที่เชื่อมต่อทางไฟฟ้ากับวงจรตัวขับดังกล่าว; และ หน้า 2 ของจำนวน 7 หน้า ตัวรับรู้สำหรับรับรู้อิมพีแดนซ์สะท้อนของอุปกรณ์ระยะไกลดังกล่าว, ที่ซํ่งตัวรับรู้ดังกล่าวจะ เชื่อมต่อทางไฟฟ้ากับวงจรแทงก์ดังกล่าวและเครื่องควบคุมปฐมภูมิดังกล่าว 6. แหล่งจ่ายกำลังเชิงเหนี่ยวนำตามข้อถือสิทธิข้อ 5 ที่ซํ่งวงจรสวิตชิ่งดังกล่าวจะรวมถึง สวิตช์หนี่งคู่. ที่ซื่งสวิตช์แต่ละตัวจะถูกเปิดที่วัฎจักรหน้าที่ดังกล่าวและที่ความถี่ในการทำงานดังกล่าว, แต่ จะต่างเฟสกัน: และ ที่ซํ่ง, ในการตอบสนองต่อการ!เอนกลับดังกล่าว, เครื่องควบคุมปฐมภูมิดังกล่าวจะควบคุม ความถี่ในการทำงานดังกล่าวของสวิตช์ดังกล่าวแต่ละตัว; และ ที่ซํ่ง, ในการตอบสนองต่อการ!เอนกลับดังกล่าว, เครื่องควบคุมปฐมภูมิดังกล่าวจะควบคุม วัฎจักรหน้าที่ดังกล่าวของสวิตช์ดังกล่าวแต่ละตัว 7. แหล่งจ่ายกำลังเชิงเหนี่ยวนำตามข้อถือสิทธิข้อ 5 ที่ซํ่งเครื่องควบคุมปฐมภูมิดังกล่าวจะ ปรับความถี่ในการทำงานดังกล่าวของสัญญาณดังกล่าวเป็นฟังก์ชันของอินพุทจากตัวรับรู้ดังกล่าว 8. แหล่งจ่ายกำลังเชิงเหนี่ยวนำตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ที่ซํ่งวงจรปฐมภูมิดังกล่าวจะรวมถึง เครื่องรับไร้สายสำหรับรับการฟ้อนกลับดังกล่าวจากอุปกรณ์ระยะไกลดังกล่าว 9. ระบบแหล่งจ่ายกำลังเชิงเหนี่ยวนำที่ประกอบรวมด้วย: แหล่งจ่ายกำลังเชิงเหนี่ยวนำที่รวมถึง: วงจรปฐมภูมิสำหรับสร้างสัญญาณที่ความถี่,ในการทำงานและสำหรับปรับวัฎจักรหน้าที่ ของสัญญาณดังกล่าวให้ควบคุมปริมาณกำลังที่ถ่ายโอนที่ความถี่ในการทำงานดังกล่าว; และ วงจรแทงก์ที่เชื่อมต่อทางไฟฟ้ากับวงจรปฐมภูมิดังกล่าว, ที่ซ์งวงจรปฐมภูมิดังกล่าวจะ ใช้สัญญาณดังกล่าวกับวงจรแทงก์ดังกล่าวเพื่อถ่ายโอนปริมาณกำลังไปยังอุปกรณ์ระยะไกลดังกล่าว; แหล่งจ่ายกำลังเชิงเหนี่ยวนำดังกล่าวที่ถูกวางโครงแบบให้รับการฟ้อนกลับจากอุปกรณ์ ระยะไกลดังกล่าว; อุปกรณ์ระยะไกลที่สามารถแยกจากแหล่งจ่ายกำลังเชิงเหนี่ยวนำดังกล่าวสำหรับรับกำลังจาก แหล่งจ่ายกำลังเชิงเหนี่ยวนำดังกล่าว, อุปกรณ์ระยะไกลดังกล่าวที่รวมถึง: ทุติยภูมิที่ได้รับพลังงานโดยสนามเชิงเหนี่ยวนำดังกล่าว, โหลดที่เชื่อมต่อทางไฟฟ้ากับทุติยภูมิดังกล่าว, ตัวรับรู้ที่เชื่อมต่อทางไฟฟ้ากับทุติยภูมิดังกล่าว, เครื่องควบคุมทุติยภูมิที่เชื่อมต่อทางไฟฟ้ากับตัวรับรู้ดังกล่าว, และ อุปกรณ์สื่อสารที่เชื่อมต่อทางไฟฟ้ากับเครื่องควบคุมทุติยภูมิดังกล่าวสำหรับส่งการ ฟ้อนกลับไปยังแหล่งจ่ายกำลังเชิงเหนี่ยวนำดังกล่าว; หน้า 3 ของจำนวน 7 หน้า ที่ซํ่ง. ในการตอบสนองต่อการฟ้อนกลับดังกล่าว, วงจรปฐมภูมิดังกล่าวจะควบคุมความถี่ใน การทำงานดังกล่าวของสัญญาณดังกล่าวเพื่อทำให้ประสิทธิภาพการถ่ายโอนกำลังเหมาะสมที่สุด ระหว่างแหล่งจ่ายกำลังเชิงเหนี่ยวนำดังกล่าวและอุปกรณ์ระยะไกลดังกล่าว; และ ที่ซํ่ง. ในการตอบสนองต่อการปอนกลับดังกล่าว, วงจรปฐมภูมิดังกล่าวจะควบคุมวัฎจักร หน้าที่ดังกล่าวของสัญญาณดังกล่าวเพื่อควบคุมปริมาณกำลังดังกล่าวที่ถ่ายโอนไปยังอุปกรณ์ ระยะไกลดังกล่าวที่ความถี่ในการทำงานดังกล่าว 1 0. ระบบจ่ายกำลังเชิงเหนี่ยวนำตามข้อถือสิทธิข้อ 9 ที่ซํ่งวงจรปฐมภูมิดังกล่าวจะคงความถี่ ในการทำงานดังกล่าวของสัญญาณดังกล่าวที่เรโซแนนช์อย่างมีนัยสำคัญ 1 1. ระบบจ่ายกำลังเชิงเหนี่ยวนำตามข้อถือสิทธิข้อ 9 ที่ซํ่งวงจรปฐมภูมิดังกล่าวจะปรับ ความถี่ในการทำงานดังกล่าวอย่างต่อเนื่องเพื่อคงให้เรโซแนนซ์อย่างมีนัยสำคัญและจะปรับวัฏจักร หน้าที่ดังกล่าวอย่างต่อเนื่องโดยอิงกับการเปรียบเทียบระหว่างปริมาณกำลังดังกล่าวที่ถ่ายโอนไปยัง อุปกรณ์ระยะไกลดังกล่าวและขีดเริ่มเปลี่ยน 1 2. ระบบจ่ายกำลังเชิงเหนี่ยวนำตามข้อถือสิทธิข้อ 9 ที่ซํ่งวงจรปฐมภูมิดังกล่าวจะ ควบคุมวัฏจักรหน้าที่ดังกล่าวของสัญญาณดังกล่าวตามอย่างน้อยอย่างหนื่งของโพรไฟล์การอัดประจุ แบตเตอริ่และความต้องการที่เชื่อมต่อกับแหล่งจ่ายกำลังเชิงเหนี่ยวนำดังกล่าวโดยอุปกรณ์ระยะไกล ดังกล่าว 1 3. ระบบจ่ายกำลังเชิงเหนี่ยวนำตามข้อถือสิทธิข้อ 9 ที่ซํ่งวงจรปฐมภูมิดังกล่าวจะรวมถึง: เครื่องควบคุมปฐมภูมิ; วงจรตัวขับที่เชื่อมต่อทางไฟฟ้ากับเครื่องควบคุมใ]ฐมภูมิดังกล่าว; วงจรสวิตชิ่งที่เชื่อมต่อทางไฟฟ้ากับวงจรตัวขับดังกล่าว; และ ตัวรับรู้สำหรับรับรู้อิมพีแดนซ์สะท้อนของอุปกรณ์ระยะไกลดังกล่าว, ที่ซงตัวรับรู้ดังกล่าวจะ เชื่อมต่อทางไฟฟ้ากับวงจรแทงก์ดังกล่าวและเครื่องควบคุมปฐมภูมิดังกล่าว 1 4. ระบบจ่ายกำลังเชิงเหนี่ยวนำตามข้อถือสิทธิข้อ 13 ที่ซงวงจรสวิตชิ่งดังกล่าวจะรวมถึง สวิตช์หนื่งคู, ที่ชํ่งสวิตช์แต่ละตัวจะถูกเปิดที่วัฎจักรหน้าที่ดังกล่าวและที่ความถี่ในการทำงานดังกล่าว, แต่ จะต่างเฟสกัน: และ ที่ซํ่ง, ในการตอบสนองต่อการฟ้อนกลับดังกล่าว, เครื่องควบคุมปฐมภูมิดังกล่าวจะควบคุม ความถี่ในการทำงานดังกล่าวของสวิตช์ดังกล่าวแต่ละตัว; และ ที่ซํ่ง, ในการตอบสนองต่อการฟ้อนกลับดังกล่าว. เครื่องควบคุมปฐมภูมิดังกล่าวจะควบคุม วัฎจักรหน้าที่ดังกล่าว1ของสวิตช์ดังกล่าวแต่ละตัว หน้า 4 ของจำนวน 7 หน้า 1 5. ระบบจ่ายกำลังเชิงเหนี่ยวนำตามข้อถือสิทธิข้อ 13 ที่ซํ่งเครื่องควบคุมปฐมภูมิดังกล่าวจะ ปรับความถี่ในการทำงานดังกล่าวของสัญญาณดังกล่าวเปีนฟังก์ชันของอินพุทจากตัวรับรู้ดังกล่าว 1 6. ระบบจ่ายกำลังเชิงเหนี่ยวนำตามข้อถือสิทธิข้อ 9 ที่ซํ่งวงจรปฐมภูมิดังกล่าวจะรวมถึง เครื่องรับไร้สายและอุปกรณ์ระยะไกลดังกล่าวจะรวมถึงเครื่องส่งไร้สาย, ที่ซํ่งเครื่องรับไร้สาย ดังกล่าวจะรับการ!เอนกลับดังกล่าวจากเครื่องส่งไร้สายดังกล่าว 1 7. วิธีการถ่ายโอนกำลังจากแหล่งจ่ายกำลังเชิงเหนี่ยวนำไปยังอุปกรณ์ระยะไกล, วิธีการ ดังกล่าวที่ประกอบรวมด้วย: การปรับตั้งความถี่ในการทำงานเริ่มด้นของสัญญาณในแหล่งจ่ายกำลังเชิงเหนี่ยวนำ; การปรับตั้งวัฎจักรหน้าที่เริ่มด้นของสัญญาณเพื่อปรับตั้งระดับกำลังเริ่มด้นในแหล่งจ่ายกำลัง เชิงเหนี่ยวนำ; การใช้สัญญาณกับวงจรแทงก์สำหรับถ่ายโอนปริมาณกำลังจากแหล่งจ่ายกำลังเชิงเหนี่ยวนำ ไปยังอุปกรณ์ระยะไกล; การรับการ!เอนกลับจากอุปกรณ์ระยะไกล, ในแหล่งจ่ายกำลังเชิงเหนี่ยวนำ; การปรับความถี่ในการทำงานของสัญญาณในการตอบสนองต่อการ!เอนกลับ, เพื่อทำให้ ประสิทธิภาพการถ่ายโอนกำลังเหมาะสมที่สุดระหว่างแหล่งจ่ายกำลังเชิงเหนี่ยวนำและอุปกรณ์ ระยะไกล การปรับวัฎจักรหน้าที่ของสัญญาณในการตอบสนองต่อการ!เอนกลับ. เพื่อควบคุมปริมาณ กำลังที่ถ่ายโอนไปยังอุปกรณ์ระยะไกล 1 8. วิธีการถ่ายโอนกำลังตามข้อถือสิทธิข้อ 17ที่ซํ่งขั้นตอนของการปรับวัฎจักรหน้าที่ ดังกล่าวจะรวมถึง: การลดวัฎจักรหน้าที่ของสัญญาณในการตอบสนองต่อการกำหนดที่กำลังที่ถ่ายโอนไปยัง อุปกรณ์ระยะไกลสูงกว่าขีดเริ่มเปลี่ยน; และ การเพิ่มวัฏจักรหน้าที่ของสัญญาณในการตอบสนองต่อการกำหนดที่กำลังที่ถ่ายโอนไปยัง อุปกรณ์ระยะไกลตากว่าขีดเริ่มเปลี่ยน 1 9. วิธีการถ่ายโอนกำลังตามข้อถือสิทธิข้อ 17 ที่ซํ่งอย่างน้อยอย่างหนึ่ง1ของการปรับตั้ง ความถี่ในการทำงานเริ่มด้นดังกล่าวและการปรับความถี่ในการทำงานดังกล่าวจะรวมถึงการกวาดช่วง ความถี่, การกำหนดปริมาณกำลังที่ถ่ายโอนไปยังอุปกรณ์ระยะไกลสำหรับความถี่ในการทำงานแต่ละ ความถี่, และการเลือกความถี่ในการทำงานซํ่งปริมาณกำลังที่ถ่ายโอนไปยังอุปกรณ์ระยะไกลค่อนข้าง สูงเมื่อเปรียบเทียบกับความถี่อื่นๆ ภายในช่วงความถี่ดังกล่าว หน้า 5 ของจำนวน 7 หน้า 2 0. วิธีการถ่ายโอนกำลังตามข้อถือสิทธิข้อ 17 ที่ซํ่งอย่างน้อยอย่างหนื่ง1ของการปรับตั้ง ความถี่ในการทำงานเริ่มต้นดังกล่าวและการปรับความถี่ในการทำงานดังกล่าวจะรวมถึงการกวาดช่วง ความถี่และการเลือกความถี่ในการทำงานที่ใกล้ที่สุดกับเรโซแนนซ์ 2 1. วิธีการถ่ายโอนกำลังตามข้อถือสิทธิข้อ 17ที่ซํ่งการปรับความถี่ในการทำงานดังกล่าวจะ รวมถึงการปรับความถี่ในการทำงานอย่างต่อเนื่องเพื่อคงให้เรโซแนนซ์อย่างมีนัยสำคัญและการ ปรับวัฎจักรหน้าที่ดังกล่าวจะรวมถึงการปรับวัฏจักรหน้าที่อย่างต่อเนื่องโดยอิงกับการเปรียบเทียบ ระหว่างปริมาณกำลังที่ถ่ายโอนไปยังอุปกรณ์ระยะไกลและขีดเริ่มเปลี่ยน 2 2. วิธีการถ่ายโอนกำลังตามข้อถือสิทธิข้อ 17ที่ซํ่งการปรับวัฏจักรหน้าที่ดังกล่าวจะรวมถึง การปรับวัฎจักรหน้าที่ตามอย่างน้อยอย่างหนื่งของโพรไฟล์การอัดประจุแบตเตอริ่และความต้องการ โดยอุปกรณ์ระยะไกล 2 3. แหล่งจ่ายกำลังเชิงเหนี่ยวนำสำหรับอุปกรณ์ระยะไกลที่ประกอบรวมด้วย: วงจรแทงก์; วงจรปฐมภูมิที่เชื่อมต่อทางไฟฟัากับวงจรแทงก์ดังกล่าว, วงจรปฐมภูมิดังกล่าวที่ถูกวางโครง แบบให้ใช้สัญญาณกับวงจรแทงล์ดังกล่าว; และ เครื่องรับที่ถูกวางโครงแบบให้รับการสื่อสารจากอุปกรณ์ระยะไกล, เครื่องรับดังกล่าวจะ สื่อสารทางไฟท้เากับวงจรปฐมภูมิดังกล่าว, วงจรปฐมภูมิดังกล่าวที่ถูกวางโครงแบบให้ปรับอย่างเลือก ไต้ชื่งความถี่ในการทำงานของสัญญาณดังกล่าวเป็นฟังก์ชันของการสื่อสารดังกล่าวเพื่อทำให้ ประสิทธิภาพการถ่ายโอนกำลังเหมาะสมที่สุดจากวงจรแทงก์ดังกล่าวไปยังอุปกรณ์ระยะไกล, วงจร ปฐมภูมิดังกล่าวที่ถูกวางโครงแบบให้ปรับอย่างเลือกได้ซํ่งวัฎจักรหน้าที่ของสัญญาณดังกล่าวเป็น ฟังก์ชันของการสื่อสารดังกล่าวเพื่อควบคุมปริมาณกำลังที่ถ่ายโอนไปยังอุปกรณ์ระยะไกลที่ความถี่ใน การทำงานดังกล่าว, โดยวิธีนั้นแหล่งจ่ายกำลังเชิงเหนี่ยวนำดังกล่าวจะคงประสิทธิภาพการถ่ายโอน กำลังผ่านการปรับความถี่ในการทำงานและในขณะที่ยังคงระดับกำลังที่เหมาะสมผ่านการปรับวัฎจักร หน้าที่ 2 4. แหล่งจ่ายกำลังเชิงเหนี่ยวนำตามข้อถือสิทธิข้อ 23 ที่ซํ่งเครื่องรับดังกล่าวจะถูกกำหนด ต่อไปอีกเป็นตัวรับรู้กระแสที่ถูกเข้าคู่ทางไฟท้เากับวงจรแทงก์ดังกล่าวเพื่อจัดให้มีสัญญาณที่บ่งชี กระแสในวงจรแทงก์ดังกล่าว 2 5. แหล่งจ่ายกำลังเชิงเหนี่ยวนำตามข้อถือสิทธิข้อ 23 ที่ซํ่งเครื่องรับดังกล่าวจะถูกกำหนด ต่อไปอีกเป็นเครื่องรับการสื่อสาร 2 6. วิธีการสำหรับจ่ายกำลังแบบไร้สายไปยังอุปกรณ์ระยะไกล, ที่ประกอบรวมด้วยขั้นตอน ของ: หน้า 6 ของจำนวน 7 หน้า การวางอุปกรณ์ระยะไกลในบริเวณใกล้เคียงกับแหล่งจ่ายกำลังเชิงเหนี่ยวนำเพียงพอที่จะ ก่อให้เกิดการเข้าคู\'เชิงเหนี่ยวนำระหว่างอุปกรณ์ระยะไกลและแหล่งจ่ายกำลังเชิงเหนี่ยวนำ; การใช้สัญญาณกับวงจรแทงก์, ในแหล่งจ่ายกำลังเชิงเหนี่ยวนำ, ที่ความถี่ในการทำงานที่ แตกต่างกันจำนวนหนี่งเพื่อก่ายโอนกำลังแบบไร้สายไปยังอุปกรณ์ระยะไกล; การทำการวัดที่แยกกัน, ในอุปกรณ์ระยะไกล, ของลักษณะเฉพาะของกำลังที่ได้รับแบบไร้ สายจากแหล่งจ่ายกำลังเชิงเหนี่ยวนำสำหรับแต่ละความถี่ของความถี่ในการทำงานที่แตกต่างกัน ดังกล่าว; การกำหนดความถี่ในการทำงานเริ่มต้นโดยอิงกับการวัดที่แยกกัน; และ การใช้สัญญาณกับวงจรแทงก์, ในแหล่งจ่ายกำลังเชิงเหนี่ยวนำ, ที่ความถี่ในการทำงานเริ่มต้น การรับการสื่อสารจากอุปกรณ์ระยะไกล, ในแหล่งจ่ายกำลังเชิงเหนี่ยวนำ การปรับความถี่ในการทำงานของสัญญาณในการตอบสนองต่อการสื่อสาร, เพื่อทำให้ ประสิทธิภาพการก่ายโอนกำลังเหมาะสมที่สุดระหว่างแหล่งจ่ายกำลังเชิงเหนี่ยวนำและอุปกรณ์ ระยะไกล; และ การปรับวัฎจักรหน้าที่ของสัญญาณในการตอบสนองต่อการสื่อสาร, เพื่อควบคุมปริมาณ กำลังที่ก่ายโอนไปยังอุปกรณ์ระยะไกล 2 7. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อ 26 ที่ชื่งขั้นตอนการกำหนดดังกล่าวจะรวมถึงการเก็บ สารสนเทศที่บ่งชี้ประสิทธิภาพการถ่ายโอนกำลังที่แต่ละความถี่ของความถี่ในการทำงานที่แตกต่าง กันจำนวนหนี่ง; และ การเลือกความถี่ในการทำงานเริ่มต้นเป็นความถี่ในการทำงานที่มีประสิทธิภาพการถ่ายโอน กำลังมากที่สุด 2 8. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อ 26 ที่ซํ่งขั้นตอนการกำหนดดังกล่าวจะรวมถึงการเก็บ สารสนเทศที่บ่งชี้ความถี่ในการทำงานที่มีประสิทธิภาพการถ่ายโอนกำลังมากที่สุด; และ การเลือกความถี่ในการทำงานเริ่มต้นเป็นความถี่ในการทำงานที่มีประสิทธิภาพการถ่ายโอน กำลังมากที่สุด 2 9. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อ 26 ที่ซํ่งขั้นตอนของการใช้สัญญาณกับวงจรแทงก์จะรวมถึง การใช้สัญญาณที่ระดับกำลังที่หนี่งที่ถูกเลือกให้ตาเพียงพอที่จะไม่เสี่ยงต่อการให้กำลังแก่อุปกรณ์ ระยะไกลมากเกิน 3 0. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อ 26 ที่ซํ่งขั้นตอนของการใช้สัญญาณกับวงจรแทงก์จะรวมถึง การใช้สัญญาณที่วัฎจักรหน้าที่ที่ถูกเลือกให้ต้าเพียงพอที่จะไม่เสี่ยงต่อการให้กำลังแก่อุปกรณ์ ระยะไกลมากเกิน หน้า 7 ของจำนวน 7 หน้า 3
1. แหล่งจ่ายกำลังเชิงเหนี่ยวนำตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ที่รวมต่อไปถึงเครื่องควบคุมที่หนี่งเพื่อ ควบคุมความถี่,ในการทำงานดังกล่าวและเครื่องควบคุมที่สองเพื่อควบคุมวัฎจักรหน้าที่ดังกล่าว 3
2. แหล่งจ่ายกำลังเชิงเหนี่ยวนำตามข้อถือสิทธิข้อ 1 ที่รวมต่อไปถึงหน่วยความจำที่เก็บ สารสนเทศที่เกี่ยวกับพารามิเตอร์ในการทำงานของอุปกรณ์ระยะไกลจำนวนหนี่ง 3
3. แหล่งจ่ายกำลังเชิงเหนี่ยวนำตามข้อถือสิทธิข้อ 10 ที่ซื่งสารสนเทศดังกล่าวจะรวมถึง สำหรับแต่ละตัวของอุปกรณ์ระยะไกลต่างๆ ที่อย่างน้อยอย่างใดอย่างหนี่งของความถี่เรโซแนนซ์, ความถี่ในการทำงานสูงที่สุด, ความถี่ในการทำงานตาที่สุด, การใช้งานกระแส, วัฎจักรหน้าที่ตาที่สุด, วัฎจักรหน้าที่สูงที่สุดและโปรโตคอลการสื่อสารไร้สาย1ของอุปกรณ์ระยะไกล 3
4. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อ 26 ที่ประกอบรวมต่อไปด้วยขั้นตอนของการกำหนดวัฎจักร หน้าที่เริ่มต้นโดยอิงกับการวัดที่แยกกัน 3
5. วิธีการตามข้อถือสิทธิข้อ 26 ที่ประกอบรวมต่อไปด้วยขั้นตอนของการเลือกวัฏจักร หน้าที่เริ่มด้นที่ 20% หรือน้อยกว่าเพื่อที่ว่าจะไม่มีกำลังที่มากเกินไปถูกส่งไปยังอุปกรณ์ระยะไกล ------------
TH901000044A 2009-01-07 แหล่งจ่ายกำลังเชิงเหนี่ยวนำที่มีการควบคุมวัฏจักรหน้าที่ TH65756B (th)

Publications (3)

Publication Number Publication Date
TH101487A true TH101487A (th) 2010-05-26
TH101487B TH101487B (th) 2010-05-26
TH65756B TH65756B (th) 2018-10-22

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
TWI484715B (zh) 具工作循環控制的感應式電源供應器及其系統與方法
US10181756B2 (en) Wireless power transmitter and power transmission method thereof
USRE49955E1 (en) Wireless power transmitting apparatus and method thereof
US11063635B2 (en) Device and system for power transmission
JP2011509067A5 (th)
US20150357991A1 (en) Receiving device and wireless power transfer apparatus
AU2014315511A1 (en) Power management for inductive charging systems
US20170302086A1 (en) Inductive power transfer system
JP2022046747A5 (th)
TH101487A (th) แหล่งจ่ายกำลังเชิงเหนี่ยวนำที่มีการควบคุมวัฏจักรหน้าที่
TH65756B (th) แหล่งจ่ายกำลังเชิงเหนี่ยวนำที่มีการควบคุมวัฏจักรหน้าที่
US20140210277A1 (en) Inductive power transmission
KR20130013219A (ko) 무선 전력 송신장치, 무선 전력 수신장치 및 무선 전력 송신 방법
KR20130098963A (ko) 무선 전력 송신 장치 및 그 방법
KR101753281B1 (ko) 부하 가변형 무선충전장치
JP2022184733A5 (th)