TH101096A - เขื่อนกั้นลมสร้างแรงดันและปริมาณอากาศสำหรับกังหันลม - Google Patents

เขื่อนกั้นลมสร้างแรงดันและปริมาณอากาศสำหรับกังหันลม

Info

Publication number
TH101096A
TH101096A TH801006707A TH0801006707A TH101096A TH 101096 A TH101096 A TH 101096A TH 801006707 A TH801006707 A TH 801006707A TH 0801006707 A TH0801006707 A TH 0801006707A TH 101096 A TH101096 A TH 101096A
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
wind
dam
mouth
cone
air volume
Prior art date
Application number
TH801006707A
Other languages
English (en)
Other versions
TH101096B (th
Inventor
ธรรมภัทร นายอัครภูมิ
Filing date
Publication date
Application filed filed Critical
Publication of TH101096A publication Critical patent/TH101096A/th
Publication of TH101096B publication Critical patent/TH101096B/th

Links

Abstract

DC60 เขื่อนกั้นลมสร้างแรงดันและปริมาณอากาศสำหรับกังหันลม จะมีหลายขนาดตามความเหมาะสมตาม หน้างานและความต้องการในการใช้พลังงาน การออกแบบจะตั้งอยู่บนพื้นฐานสภาวะของลมและทิศทาง และผลสำรวจจึงจะได้ประสิทธิภาพสูงสุดเขื่อนกั้นลมนี้จะมีปากรับลมใหญ่ และโครงสร้างเป็นแบบกรวย โดยกังหันลมติดที่ก้นกรวย เขื่อนกั้นลมนี้ติดตั้งอย่างแข็งแรง แต่สามารถรื้อถอนย้ายสถานที่ตั้งได้เพราะ เขื่อนไม่สามารถปรับหมุนตัวเองได้แต่สามารถปรับบังคับทิศทางลมที่เปลี่ยนทิศได้ตามสมควร ด้วยปาก กรวยที่กว้างมีแนวแผ่นปรับทิศทางลมด้านในปากกรวยอีกที เขื่อนกั้นลมสร้างแรงดันและปริมาณอากาศ สำหรับกั้งหันลมนี้จะมีปากรับลมทิศทางเดียวหรือ สองทิศทางก็ได้และเพื่อให้มีประสิทธิภาพการลงทุนที่ สูง เขื่อนกั้นลมนี้สามารถใช้โครงสร้างหลังคาโรงงานหรืออาคารเป็นฐานพื้นของเขื่อนได้ด้วย หรือการ สร้างนิคมอุตสาหกรรมร่วมกับการสร้างเขื่อนกันลมนี้ได้เลย หลักการทำงานง่ายๆ ของการสร้างเขื่อน คือ สำรวจความเร็วทิศทาง ค่าเฉลี่ยทั้งปีในอดีต และทำนายอนาคตของทำเลดังกล่าวที่จะเลือกรวมต้นทุน และ การพัฒนาพื้นที่นั่นๆ เมื่อออกแบบและติดตั้งแล้วลมเฉลี่ยเข้ามาทางปากรับลม และบีบบังคับไหลไปทาง ปากกังหันลมที่ก้นกรวยกังหันลมจะได้รับแรงดันและปริมาณอากาศที่เหมาะสมให้ประสิทธิภาพการทำ งานที่สูง ที่สำคัญต้อง มีระบบเซนเซอร์ทิศทางลม ความเร็วลม แรงดันที่เกิดขึ้น ณ จุดต่างๆในเขื่อน กั้นลมเพื่อการประมวลผลและสั่งควบคุม การปรับแผ่นบังคับลมให้เหมาะสมและมีประสิทธิภาพการ ทำงานสูงสุด ซึ่งคาดว่าการสร้างเขื่อนกั้นลมนี้จะเป็นวิธีการสร้างเพิ่มประสิทธิภาพกังหันลมได้ดีที่สุด และเหมาะกับสถานที่ความเร็วลมต่าง ต่างซึ่งเป็นการสร้างพลังงานสะอาดที่ดีและไม่สร้างมลพิษแม้แต่มิด เดียว

Claims (1)

  1. : DC60 เขื่อนกั้นลมสร้างแรงดันและปริมาณอากาศสำหรับกังหันลม จะมีหลายขนาดตามความเหมาะสมตาม หน้างานและความต้องการในการใช้พลังงาน การออกแบบจะตั้งอยู่บนพื้นฐานสภาวะของลมและทิศทาง และผลสำรวจจึงจะได้ประสิทธิภาพสูงสุดเขื่อนกั้นลมนี้จะมีปากรับลมใหญ่ และโครงสร้างเป็นแบบกรวย โดยกังหันลมติดที่ก้นกรวย เขื่อนกั้นลมนี้ติดตั้งอย่างแข็งแรง แต่สามารถรื้อถอนย้ายสถานที่ตั้งได้เพราะ เขื่อนไม่สามารถปรับหมุนตัวเองได้แต่สามารถปรับบังคับทิศทางลมที่เปลี่ยนทิศได้ตามสมควร ด้วยปาก กรวยที่กว้างมีแนวแผ่นปรับทิศทางลมด้านในปากกรวยอีกที เขื่อนกั้นลมสร้างแรงดันและปริมาณอากาศ สำหรับกั้งหันลมนี้จะมีปากรับลมทิศทางเดียวหรือ สองทิศทางก็ได้และเพื่อให้มีประสิทธิภาพการลงทุนที่ สูง เขื่อนกั้นลมนี้สามารถใช้โครงสร้างหลังคาโรงงานหรืออาคารเป็นฐานพื้นของเขื่อนได้ด้วย หรือการ สร้างนิคมอุตสาหกรรมร่วมกับการสร้างเขื่อนกันลมนี้ได้เลย หลักการทำงานง่ายๆ ของการสร้างเขื่อน คือ สำรวจความเร็วทิศทาง ค่าเฉลี่ยทั้งปีในอดีต และทำนายอนาคตของทำเลดังกล่าวที่จะเลือกรวมต้นทุน และ การพัฒนาพื้นที่นั่นๆ เมื่อออกแบบและติดตั้งแล้วลมเฉลี่ยเข้ามาทางปากรับลม และบีบบังคับไหลไปทาง ปากกังหันลมที่ก้นกรวยกังหันลมจะได้รับแรงดันและปริมาณอากาศที่เหมาะสมให้ประสิทธิภาพการทำ งานที่สูง ที่สำคัญต้อง มีระบบเซนเซอร์ทิศทางลม ความเร็วลม แรงดันที่เกิดขึ้น ณ จุดต่างๆในเขื่อน กั้นลมเพื่อการประมวลผลและสั่งควบคุม การปรับแผ่นบังคับลมให้เหมาะสมและมีประสิทธิภาพการ ทำงานสูงสุด ซึ่งคาดว่าการสร้างเขื่อนกั้นลมนี้จะเป็นวิธีการสร้างเพิ่มประสิทธิภาพกังหันลมได้ดีที่สุด และเหมาะกับสถานที่ความเร็วลมต่าง ต่างซึ่งเป็นการสร้างพลังงานสะอาดที่ดีและไม่สร้างมลพิษแม้แต่มิด เดียว ข้อถือสิทธิ์ (ข้อที่หนึ่ง) ซึ่งจะปรากฏบนหน้าประกาศโฆษณา : แท็ก :
TH801006707A 2008-12-26 เขื่อนกั้นลมสร้างแรงดันและปริมาณอากาศสำหรับกังหันลม TH101096B (th)

Publications (2)

Publication Number Publication Date
TH101096A true TH101096A (th) 2010-04-23
TH101096B TH101096B (th) 2010-04-23

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
Li et al. Performance assessment of tall building-integrated wind turbines for power generation
Balduzzi et al. Feasibility analysis of a Darrieus vertical-axis wind turbine installation in the rooftop of a building
McKay et al. Wake impacts on downstream wind turbine performance and yaw alignment
Ayhan et al. A technical review of building-mounted wind power systems and a sample simulation model
Chong et al. Vertical axis wind turbine with omni-directional-guide-vane for urban high-rise buildings
Ahmed A novel small scale efficient wind turbine for power generation
Zanforlin et al. Improving the performance of wind turbines in urban environment by integrating the action of a diffuser with the aerodynamics of the rooftops
KR20180116418A (ko) 건축물과 결합된 풍력 발전기
JP2007518934A (ja) クロスフロー風力タービン
GB2476013A (en) Column structure with protected turbine
TWI658204B (zh) 流力葉片裝置
Ji et al. The aerodynamic performance study on small wind turbine with 500W class through wind tunnel experiments
Zhu et al. Investigation on aerodynamic characteristics of building augmented vertical axis wind turbine
Goudarzi et al. Wind energy conversion: the potential of a novel ducted turbine for residential and commercial applications
TH101096A (th) เขื่อนกั้นลมสร้างแรงดันและปริมาณอากาศสำหรับกังหันลม
Hansen Benchmarking of Lillgrund offshore wind farm scale wake models
Stathopoulos et al. Urban wind energy: A wind engineering and wind energy cross-roads
Filipowicz et al. Study of building integrated wind turbines operation on the example of Center of Energy AGH
RU57841U1 (ru) Устройство системы ветрозащиты и утилизации воздушных масс
Mintorogo et al. Effect of tilt angle of building-integrated wind turbine and photovoltaic facade on wind pressure and solar radiation
CN103335536B (zh) 一种直接空冷机组空冷岛防风装置
Schmid et al. Performance enhancement of rooftop turbine ventilators using wind deflectors
Mertens Wind Energy Conversion in the built environment
Rashidi et al. Performance of a Rooftop Wind Turbine System Having a Wind Deflecting Structure, Experimental Results
Islam et al. Investigation of low reynolds number airfoils for fixed-pitch straight-bladed VAWT