TH16093C3 - ระบบประเมินภาวะโภชนาการ พร้อมกำหนดอาหารหรือแนะนำโภชนาการที่เหมาะสมกับสุขภาพส่วนบุคคล - Google Patents

ระบบประเมินภาวะโภชนาการ พร้อมกำหนดอาหารหรือแนะนำโภชนาการที่เหมาะสมกับสุขภาพส่วนบุคคล

Info

Publication number
TH16093C3
TH16093C3 TH1903001048U TH1903001048U TH16093C3 TH 16093 C3 TH16093 C3 TH 16093C3 TH 1903001048 U TH1903001048 U TH 1903001048U TH 1903001048 U TH1903001048 U TH 1903001048U TH 16093 C3 TH16093 C3 TH 16093C3
Authority
TH
Thailand
Prior art keywords
user
health
nutrition
results
information
Prior art date
Application number
TH1903001048U
Other languages
English (en)
Other versions
TH16093A3 (th
Inventor
เพ็ญจันทร์ นางสาวโรสมาลิน
Original Assignee
นายกิตติเทพ จริงจิตร
นายวีระเวช อรธนาลัย
Filing date
Publication date
Application filed by นายกิตติเทพ จริงจิตร, นายวีระเวช อรธนาลัย filed Critical นายกิตติเทพ จริงจิตร
Publication of TH16093A3 publication Critical patent/TH16093A3/th
Publication of TH16093C3 publication Critical patent/TH16093C3/th

Links

Abstract

หน้า 1 ของจำนวน 1 หน้า บทสรุปการประดิษฐ์ ระบบประเมินภาวะโภชนาการ พร้อมกำหนดอาหารหรือแนะนำโภชนาการที่เหมาะสมกับสุขภาพ ส่วนบุคคล เป็นโปรแกรมประยุกต์ที่ทำการรับและส่งข้อมูลปริมาณการบริโภคของผู้ใช้ เพื่อประเมินระดับของ ข้อมูลทางโภชนาการที่ควรจะได้รับในแต่ละวัน ซึ่งเชื่อมต่อกับข้อมูลที่ผ่านการคำนวณโดยนักโภชนาการ นอกจากนี้ระบบดังกล่าวยังประกอบด้วยส่วนแนะนำข้อมูลรายการอาหารที่เหมาะสมกับผู้ใช้ ซึ่งมีการเชื่อมโยง กับข้อมูลร้านอาหารต่าง ๆ ทั้งรายการอาหาร สถานที่ตั้ง รายการส่งเสริมการขาย เป็นด้น และยังมีหน่วยการ แจ้งเตือนข้อมูลต่าง ๆ ให้กับผู้ใช้อีกด้วย

Claims (9)

ข้อถือสิทธฺ์ (ทั้งหมด) ซึ่งจะไม่ปรากฏบนหน้าประกาศโฆษณา :หน้า 1 ของจำนวน 3 หน้า ข้อถือสิทธิ
1. ระบบประเมินภาวะโภชนาการ พร้อมกำหนดอาหารหรือแนะนำโภชนาการที่เหมาะสมกับ สุขภาพส่วนบุคคล เป็นระบบที่มีการรับข้อมูลจากผู้ใช้ (1) ในรูปแบบของการตอบคำถามหรือ กรอกข้อมูลของผู้ใช้ (1) ผ่านอุปกรณ์สื่อสาร (2) ซึ่งข้อมูลที่รับจากผู้ใช้ (1) ดังกล่าว จัดให้ส่ง ข้อมูลไปยังเครื่องแม่ข่าย (3) ในการจัดเก็บลงในหน่วยความจำ (23) และประมวลผลข้อมูลของ ผู้ใช้ (1) ที่ถูกบันทึกไว้ด้วยชุดคำสั่ง โดยประมวลผลในรูปแบบของการรวบรวมคำตอบของผู้ใช้ (1) ที่ผ่านการคำนวณในหน่วยประมวลผล (6) และแสดงผลผ่านหน่วยแสดงผลของอุปกรณ์ สื่อสาร (2) ให้ผู้ใช้ (1) ทราบถึงข้อมูลการวิเคราะห์ชองผู้ใช้ (1) รวมถึงการแนะนำแนวทางสำหรับ แก้ปัญหาหรือปรับปรุงคุณภาพชีวิตประจำวันให้ดีขึ้นจากที่ปรึกษาทางสุขภาพ ซึ่งรับข้อมูลจาก ผู้ใช้ (1) จัดให้ผ่านหน่วยคำถาม (4) โดยมีลักษณะเฉพาะคือ เครื่องแม่ข่าย (3) จัดให้ประกอบด้วยฐานข้อมูลมาตรฐาน, ฐานข้อมูลผู้ใช้, ฐานข้อมูลร้านค้า/ผลิตภัณฑ์ อย่างใดอย่างหนึ่งหรือมากกว่าประกอบร่วมกัน ซึ่ง เครื่องแม่ข่าย (3) จัดเชื่อมโยงข้อมูลดังกล่าวผ่านหน่วยคำถาม (4) ที่ถูกจัดให้รวบรวมเป็นคำถาม ที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลของผู้ใช้ (1) ในด้านของการบริโภค และข้อมูลสุขภาพของผู้ใช้ (1) ซึ่งจัดให้ ระบบทำการประมวลด้วยหน่วยประมวลผล (6) ร่วมกับฐานข้อมูลมาตรฐานและ/หรือฐานข้อมูล ผู้ใช้ โดยประมวลและแบ่งแยกตามประเภทของข้อมูลที่ได้รับ และสรุปผล (7) ด้วยการส่งข้อมูลที่ ได้จากการประมวลไปยังอุปกรณ์สื่อสาร (2) ให้ผู้ใช้ (1) ทราบ โดยผลสรุป (7) ดังกล่าวจัดให้แจ้งผลแก่ผู้ใช้ (1) ในสองลักษณะคือผลบริโภคอยู่ใน เกณฑ์มาตรฐาน หรือผลบริโภคที่ไม่อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน อย่างใดอย่างหนึ่ง โดยผลบริโภคอยู่ใน เกณฑ์มาตรฐานเน้นผลจากการรวบรวมข้อมูลของผู้ใช้ (1) ที่เปรียบเทียบกับข้อมูลในฐานข้อมูล มาตรฐาน หากข้อมูลของผู้ใช้ (1) ยังอยู่ในช่วงหรือไม่เกินช่วงมาตรฐานที่ตั้งค่าไว้ จัดให้ระบบ แสดงเป็นผลบริโภคอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน และในส่วนของผลบริโภคที่ไม่อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน เป็นผลจากการรวบรวมข้อมูลของผู้ใช้ (1) ที่เปรียบเทียบกับข้อมูลในฐานข้อมูลมาตรฐาน หาก ข้อมูลของผู้ใช้ (1) เกินหรือน้อยกว่าค่ามาตรฐานที่กำหนด จัดให้ระบบแสดงเป็นผลสุขภาพที่คาด การว่าผลบริโภคที่ไม่อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานหรือส่งผลต่อสุขภาพของผู้ใช้ (1) ในปัจจุบันและ อนาคต หากผู้ใช้ (1) ตรวจสุขภาพเบื้องต้นที่เป็นผลบริโภคที่ไม่อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน จัดให้ ระบบสอบถามถึงที่ปรึกษาทางสุขภาพ ในการให้คำปรึกษาแนะนำ ซึ่งหากผู้ใช้ (1) มีที่ปรึกษา (10) แล้วจัดให้ระบบทำการแจ้งผล (13) หรือหากยังไม่มีที่ปรึกษา (11) จัดให้ระบบทำการ หน้า 2 ของจำนวน 3 หน้า เชื่อมต่อกับที่ปรึกษาในฐานข้อมูล สำหรับขอคำปรึกษา (12) แนะนำที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพต่อไป และแจ้งผล (13) ให้แก่ผู้ใช้ (1)
2. ระบบประเมินภาวะโภชนาการ พร้อมกำหนดอาหารหรือแนะนำโภชนาการที่เหมาะสมกับ สุขภาพส่วนบุคคล ตามข้อถือสิทธิ 1 ที่ซึ่ง หน่วยคำถาม (4) จัดให้ประกอบด้วย ข้อมูลทั่วไป, ข้อมูลด้านสุขภาพ, ข้อมูลรายการอาหารที่รับประทานในแต่ละมื้อ, ข้อมูลปริมาณที่ต้องการ ควบคุมแต่ละรายการ, ข้อจำกัดทางศาสนาและความเชื่อ อย่างใดอย่างหนึ่งหรือมากกว่าประกอบ ร่วมกัน
3. ระบบประเมินภาวะโภชนาการ พร้อมกำหนดอาหารหรือแนะนำโภชนาการที่เหมาะสมกับ สุขภาพส่วนบุคคล ตามข้อถือสิทธิ 1 ที่ซึ่ง ที่ปรึกษาทางสุขภาพ เลือกได้จาก นักโภชนาการ นักวิเคราะห์สุขภาพ หรือผู้เชี่ยวชาญที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพ อย่างใดอย่างหนึ่งหรือประกอบ ร่วมกัน
4. ระบบประเมินภาวะโภชนาการ พร้อมกำหนดอาหารหรือแนะนำโภชนาการที่เหมาะสมกับ สุขภาพส่วนบุคคล ตามข้อถือสิทธิ 1 ที่ซึ่ง แจ้งผล (13) เป็นสรุปผลสุขภาพ, การปฏิบัติในการ เลือกบริโภคอาหาร, กิจกรรม, ข้อควรระวังในด้านสุขภาพ อย่างใดอย่างหนึ่งหรือมากกว่า ประกอบร่วมกัน
5. ระบบประเมินภาวะโภชนาการ พร้อมกำหนดอาหารหรือแนะนำโภชนาการที่เหมาะสมกับ สุขภาพส่วนบุคคล ตามข้อถือสิทธิ 1 ที่ซึ่ง หน่วยประมวลผล (6) ประกอบด้วย ฐานข้อมูลร้านค้า/ ผลิตภัณฑ์ ให้ผู้ใช้ (1) เลือกตามสถานที่ใกล้เคียงและ/หรือสถานที่อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องผ่านหน่วยจับ ตำแหน่ง (22) ของผู้ใช้ (1) ซึ่งเชื่อมต่อตำแหน่งของผู้ใช้ (1) ร่วมกับสถานที่ใกล้เคียงหรือสถานที่ ของร้านค้าในฐานข้อมูลร้านค้า/ผลิตภัณฑ์ของระบบ
6. ระบบประเมินภาวะโภชนาการ พร้อมกำหนดอาหารหรือแนะนำโภชนาการที่เหมาะสมกับ สุขภาพส่วนบุคคล ตามข้อถือสิทธิ 1 ที่ซึ่ง หน่วยประมวลผล (6) ประกอบด้วย หน่วยแจ้งเตือน (21) ที่แจ้งเตือนกรณีที่ผู้ใช้ (1) แพ้อาหารจากอาหารที่บริโภคเข้าไปได้ ด้วยการน่าข้อมูลของผู้ใช้ (1) ที่ต้องการแจ้งเตือนประมวลผลร่วมกับข้อมูลของอาหารที่แพ้และข้อมูลอาหารในฐานข้อมูล มาตรฐาน ของหน่วยประมวลผล (6) และแจ้งเตือนผ่านหน่วยแจ้งเตือน (21) ร่วมกับหน่วย แสดงผลของอุปกรณ์สื่อสาร (2)
7. ระบบประเมินภาวะโภชนาการ พร้อมกำหนดอาหารหรือแนะนำโภชนาการที่เหมาะสมกับ สุขภาพส่วนบุคคล ตามข้อถือสิทธิ 1 ที่ซึ่ง หน่วยประมวลผล (6) ประกอบด้วย หน่วยแจ้งเตือน (21) ที่แจ้งเตือนเวลาในการรับประทานยาและ/หรืออาหาร ด้วยการให้ผู้ใช้กรอกชื่ออาหารและ/ หน้า 3 ของจำนวน 3 หน้า หรือยาดังกล่าว และทำการแจ้งเตือนตามเวลาที่ต้องการ ด้วยการนำข้อมูลของผู้ใช้ (1) ที่ต้องการ แจ้งเตือนประมวลผลร่วมกับหน่วยแจ้งเตือน (21) ร่วมกับหน่วยแสดงผลของอุปกรณ์สื่อสาร (2)
8. ระบบประเมินภาวะโภชนาการ พร้อมกำหนดอาหารหรือแนะนำโภชนาการที่เหมาะสมกับ สุขภาพส่วนบุคคล ตามข้อถือสิทธิ 1 ที่ซึ่ง หน่วยประมวลผล (6) ประกอบด้วย หน่วยแจ้งเตือน (21) ที่แจ้งเตือนกรณีที่ผู้ใช้ (1) เป็นหรือคาดว่าจะเป็นโรคที่เกี่ยวข้องกับโรคที่เกิดจากภาวะ โภชนาการ ให้ควบคุมอาหารหรือลดอาหารบางชนิดที่ก่อให้เกิดโรค ด้วยการน่าข้อมูลของผู้ใช้ (1) ประมวลผลร่วมกับข้อมูลโรคที่เกิดจากภาวะโภชนาการในฐานข้อมูลมาตรฐานของหน่วย ประมวลผล (6) และผ่านหน่วยแสดงผลของอุปกรณ์สื่อสาร (2)
9. ระบบประเมินภาวะโภชนาการ พร้อมกำหนดอาหารหรือแนะนำโภชนาการที่เหมาะสมกับ สุขภาพส่วนบุคคล ตามข้อถือสิทธิ 1 ที่ซึ่ง หน่วยประมวลผล (6) ประกอบด้วย หน่วยคำนวณ (24) เป็นอัตราความต้องการเผาผลาญของร่างกายในชีวิตประจำวัน หรือจำนวนแคลอรี่ขั้นตํ่าที่ ต้องการใช้ในชีวิตแต่ละวัน ด้วยการนำค่าจากนํ้าหนัก ความสูง อายุ ความถี่ในการออกกำลังกาย ของผู้ใช้ (1) มาคำนวณและเปรียบเทียบกับข้อมูลมาตรฐานสำหรับเปรียบเทียบการคำนวณอัตรา ความต้องการเผาผลาญของร่างกายในฐานข้อมูลมาตรฐานของหน่วยประมวลผล (6) 1
0. กระบวนการประเมินภาวะโภชนาการ พร้อมกำหนดอาหารหรือแนะนำโภชนาการที่เหมาะสมกับ สุขภาพส่วนบุคคล ประกอบด้วย การตอบคำถามจากหน่วยคำถาม (4) ของผู้ใช้ (1) จัดให้ระบบทำจัดเก็บข้อมูลผ่าน หน่วยความจำ (23) และประมวลผลสรุปเป็นสรุปผล (7) ซึ่งสรุปผล (7) เป็นผลการตรวจสุขภาพ เบื้องต้น เลือกได้จาก ผลบริโภคอยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน หรือผลบริโภคที่ไม่อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน อย่างใดอย่างหนึ่ง หากผู้ใช้ (1) ไต้ตรวจสุขภาพเบื้องต้นที่เป็นผลบริโภคอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานจัดให้ระบบทำ การสรุปและแจ้งผล (13) เพื่อสรุปผลสุขภาพ แจ้งไปยังผู้ใช้ (1) หากผู้ใช้ (1) ได้ตรวจสุขภาพ เบื้องต้นที่เป็นผลบริโภคที่ไม่อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน และจัดให้ระบบมีการสอบถามถึงการมีที่ ปรึกษาทางสุขภาพในการให้คำปรึกษาแนะน่า หรือหากผู้ใช้ (1) มีที่ปรึกษา (10) แล้วจัดให้ระบบ ทำการแจ้งผล (13) เพื่อสรุปผลสุขภาพ หรือหากยังไม่มีที่ปรึกษา (12) จัดให้ระบบทำการเชื่อมต่อกับที่ปรึกษาในฐานข้อมูลมาตรฐาน ในการขอคำปรึกษา (12) แนะนำที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพต่อไป และแจ้งผล (13) เพื่อสรุปผล สุขภาพให้แก่ผู้ใช้ (1)
TH1903001048U 2019-04-30 ระบบประเมินภาวะโภชนาการ พร้อมกำหนดอาหารหรือแนะนำโภชนาการที่เหมาะสมกับสุขภาพส่วนบุคคล TH16093C3 (th)

Publications (2)

Publication Number Publication Date
TH16093A3 TH16093A3 (th) 2020-03-27
TH16093C3 true TH16093C3 (th) 2020-03-27

Family

ID=

Similar Documents

Publication Publication Date Title
Campbell et al. Stages of change and psychosocial correlates of fruit and vegetable consumption among rural African-American church members
Lee et al. Evaluation of a mobile phone-based diet game for weight control
Miller et al. Making healthy food choices using nutrition facts panels. The roles of knowledge, motivation, dietary modifications goals, and age
US20180032698A1 (en) Technology for dynamically generating health-related and customized recommendations for individuals
Glanz et al. Environmental interventions to promote healthy eating: a review of models, programs, and evidence
Van Duyn et al. Association of awareness, intrapersonal and interpersonal factors, and stage of dietary change with fruit and vegetable consumption: a national survey
Burns et al. ‘Healthy weight’at what cost?‘Bulimia’and a discourse of weight control
Rusin et al. Functionalities and input methods for recording food intake: a systematic review
CA2864741C (en) Systems and methods for user-specific modulation of nutrient intake
US10706128B2 (en) System and method for automated personalized and community-specific eating and activity planning, linked to tracking system with automated multimodal item identification and size estimation system
JP6112591B1 (ja) 創作物供給システム
US20120290327A1 (en) Medical health information system for health assessment, weight management and meal planning
JP2020504362A (ja) 最適な食事を評価及び計画するための改善された個人向けの栄養学的健康スコアを算出、表示、修正、及び使用するためのシステム及び方法
US20020099274A1 (en) Portable self-administered health care terminal and a self-administered health support system
Cioara et al. Expert system for nutrition care process of older adults
JP6705089B2 (ja) ヘルスチューニング支援システム
JP2005513678A (ja) 情報サービスを配列して栄養及び/又は薬剤を決定するための方法及び機構
US20100114595A1 (en) Method and system for providing health information
Howlett et al. Hold the salt! Effects of sodium information provision, sodium content, and hypertension on perceived cardiovascular disease risk and purchase intentions
Thomson et al. Diet quality and physical activity outcome improvements resulting from a church-based diet and supervised physical activity intervention for rural, Southern, African American adults: Delta Body and Soul III
Katerndahl et al. Complexity of ambulatory care across disciplines
Banerjee et al. Calorie counting smart phone apps: Effectiveness in nutritional awareness, lifestyle modification and weight management among young Indian adults
Calder et al. Factors influencing women’s choice of weight-loss diet
Kosteva et al. Physician variation in perceived barriers to personal health
Sosa et al. Associations between a voluntary restaurant menu designation initiative and patron purchasing behavior